SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
ความสาคัญของโครงงานคณิตศาสตร์
ปรีชา เนาว์เย็นผล (2554: 11 - 14) เสนอว่าโครงงานคณิตศาสตร์ มีความสาคัญต่อ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ในประเด็นต่าง ๆ พอสรุปได้ดังนี้
1. โครงงานคณิตศาสตร์ในฐานะที่เป็นวิธีการหรือกิจกรรมการเรียนรู้
2. โครงงานคณิตศาสตร์เป็นช่องทางให้นักเรียนได้ประยุกต์ใช้ความรู้
3. การจัดทาโครงงานทาให้เกิดการทบทวนเนื้อหาสาระของคณิตศาสตร์
4. โครงงานคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ใหม่อย่างต่อเนื่องและเป็น
ระบบ
5. โครงงานคณิตศาสตร์ทาให้เกิดผลิตผลของการศึกษาค้นคว้า
มีต่อ
ความสาคัญของโครงงานคณิตศาสตร์
6. โครงงานคณิตศาสตร์เป็นกิจกรรมเตรียมการและฝึกฝนนักวิจัยขั้นต้น
7. โครงงานคณิตศาสตร์เป็นกิจกรรมที่เอื้ออานวยต่อการพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ทางด้านต่าง ๆ ดังนี้
7.1 ฝึกการแก้ปัญหา
7.2 ฝึกการให้เหตุผล
7.2 ฝึกการเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์
7.3 ฝึกการสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การนาเสนอและการใช้ตัวแทน
7.4 การคิดหาหัวข้อโครงงานต้องมีความแปลกใหม่
ขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์
ชัยศักดิ์ลีลาจรัสกุล(ม.ป.ป.,หน้า8-13)ได้ให้ขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์ดังนี้
1.การคิดจะเลือกหัวเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษา
เป็นขั้นตอนลาดับแรกของการทาโครงงานดังนั้นจึงเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุดและยากที่สุดหัวเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษา
นั้นควรให้นักเรียนเป็นผู้คิดและเลือกด้วยตนเองโดยที่หัวข้อเรื่องของโครงงานควรมีความเฉพาะเจาะจงและชัดเจนมุ่งชัดว่าจะ
ศึกษาสิ่งใดหรือตัวแปรใดและควรเป็นเรื่องที่แปลกใหม่ซึ่งแสดงถึงความคิดสร้างสรรค์ด้วยหัวเรื่องนี้ส่วนใหญ่จะได้มาจาก
ความสนใจความสงสัยและความอยากรู้อยากเห็นของนักเรียนเองในเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ครูสอนในห้องเรียนหรือ
นอกห้องเรียนหรือจากสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวการอภิปรายร่วมกับครูและเพื่อน ๆการอ่านหนังสือหรือเอกสารต่างๆการไปศึกษา
นอกสถานที่การฟังการบรรยายทางวิชาการในโอกาสต่างๆรวมทั้งรายการวิทยุและโทรทัศน์การไปชมงานแสดงโครงงาน
ต่างๆหรืออาจได้แนวคิดจากงานอดิเรกของนักเรียนข้อควรคานึงเกี่ยวกับการคัดเลือกหัวเรื่องที่จะทาโครงงานคือเหมาะกับ
ระดับความรู้ของนักเรียนเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียนวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้งบประมาณเพียงพอระยะเวลาที่
ใช้ทาโครงงานมีอาจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิรับเป็นที่ปรึกษาความปลอดภัยและมีแหล่งความรู้หรือเอกสารเพียงพอที่จะค้นคว้า
มีต่อ
ขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์
2.การวางแผนในการทาโครงงาน
ขั้นตอนนี้เป็นการวางแผนในการทาโครงงานรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงานซึ่งต้องมีการวางแผนหรือวางรูปโครงงานไว้
ล่วงหน้าเพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบไม่สับสนแล้วนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอความเห็นชอบ
ก่อนดาเนินการขั้นต่อไปเค้าโครงของโครงงานโดยทั่วๆไปจะเขียนขึ้นเพื่อแสดงแนวคิดแผนงานและขั้นตอนของการทา
โครงงานซึ่งประกอบด้วย
2.1ชื่อโครงงานควรเป็นข้อความที่กะทัดรัดชัดเจนสื่อความหมายตรงและมีความเฉพาะเจาะจงว่าจะศึกษาอะไร
2.2ชื่อผู้ทาโครงงาน
2.3ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
2.4ที่มาและความสาคัญของโครงงานอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานเรื่องนี้มีความสาคัญอย่างไรมีหลักการหรือ
ทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้องเรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องทานองนี้ไว้บ้างแล้วถ้ามีได้ผลเป็นอย่างไรเรื่องที่ทา
ได้ขยายเพิ่มเติมปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไรหรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล
มีต่อ
ขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์
2.5จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้าควรมีความเฉพาะเจาะจงและเป็นสิ่งที่สามารถวัดได้เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะ
ทาได้ชัดเจนขึ้น
2.6สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า(ถ้ามี)สมมติฐานเป็นคาตอบหรือคาอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้การ
เขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลคือมีทฤษฎีหรือหลักการทางคณิตศาสตร์รองรับและที่สาคัญคือเป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการ
ดาเนินทดสอบได้นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย
2.7วิธีดาเนินงานประกอบด้วย
2.7.1วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ระบุว่าวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้มีอะไรบ้างมาจากไหนอะไรบ้างที่ต้องจัดซื้ออะไรบ้างที่ต้อง
จัดทาเองบ้างที่ต้องขอยืม
2.7.2แนวการศึกษาค้นคว้าอธิบายว่าจะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไรจะสร้างหรือประดิษฐ์อะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูล
อะไรบ้างเก็บข้อมูลอย่างไรและเมื่อใดบ้าง
2.8แผนปฏิบัติงานอธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาเริ่มต้นและเวลาเสร็จของการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน
2.9ผลที่คาดว่าจะได้รับ
2.10เอกสารอ้างอิง มีต่อ
ขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์
3.การลงมือทาโครงงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานผ่านความเห็นชอบของที่ปรึกษาโครงงานแล้วนักเรียนเริ่มลงมือทาโครงงานโดยปฏิบัติตามแผน
ดาเนินงานซึ่งประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลการสร้างหรือประดิษฐ์ การปฏิบัติการทดลองการค้นคว้าเอกสารต่างๆซึ่งสุดแล้วแต่
ว่าจะเป็นโครงงานประเภทใดอาจเป็นการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมจากแผนงานที่วางไว้ในตอนแรกบ้างก็ได้เมื่อดาเนินการทา
โครงงานครบถ้วนตามขั้นตอนได้ข้อมูลแล้วควรมีการตรวจสอบผลการทดลองด้วยการทดลองซ้าเพื่อให้ได้ผลที่แน่นอน ถ้าเป็น
สิ่งประดิษฐ์ควรคานึงถึงความคงทนแข็งแรงและขนาดที่เหมาะสมหลังจากนั้นทาการวิเคราะห์ข้อมูลแปลผลและสรุปผลการศึกษาค้นคว้า
พร้อมทั้งอภิปรายผลการศึกษาค้นคว้าไม่ว่าผลนั้นจะตรงตามความคาดหมายหรือตามสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่ก็ตาม
มีต่อ
ขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์
4.การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานโครงงานคณิตศาสตร์เป็นการเสนอผลของการศึกษาค้นคว้าเป็นเอกสารเพื่ออธิบายให้ผู้อื่นทราบแนวคิดหรือปัญหาที่ศึกษา
วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆที่รวบรวมได้ผลของการศึกษาตลอดจนประโยชน์และข้อเสนอแนะต่างๆที่ได้จากโครงงาน
การเขียนรายงานควรใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่ายชัดเจนสั้นๆและตรงไปตรงมาโดยให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆดังต่อไปนี้
4.1ชื่อโครงงาน
4.2ชื่อผู้ทาโครงงาน
4.3ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
4.4บทคัดย่ออธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงานวัตถุประสงค์วิธีดาเนินการและผลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปต่างๆอย่างย่อ
ประมาณ300–350คา
4.5ที่มาและความสาคัญของโครงงานอธิบายความสาคัญของโครงงานเหตุผลที่เลือกทาโครงงานนี้ และหลักการหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ
โครงงานเรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นเคยศึกษาไว้บ้างแล้วถ้ามีได้ผลเป็นอย่างไรเรื่องที่ทานี้ได้ขยายเพิ่มเติมหรือปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นได้
ทาไว้อย่างไรบ้างหรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล
ขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์
4.6จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
4.7สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี)
4.8วิธีดาเนินการอาจแยกเป็น2หัวข้อย่อยคือวัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการอธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด
4.9ผลการศึกษาค้นคว้านาเสนอข้อมูลหรือผลการทดลองต่างๆที่สังเกตรวบรวมได้รวมทั้งเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่วิเคราะห์ได้ด้วย
4.10สรุปและข้อเสนอแนะอธิบายผลสรุปที่ได้จากการทาโครงงาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุน หรือ
คัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนาผลการทดลองไปใช้ประโยชน์อุปสรรคของการทาโครงงานหรือ
ข้อสังเกตที่สาคัญหรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทาโครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไข หากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้า
ในเรื่องทานองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย
4.11คาขอบคุณส่วนใหญ่โครงงานคณิตศาสตร์มักจะเป็นกิจกรรมที่ได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่ายจึงควรได้กล่าวขอบคุณบุคลากร
หรือหน่วยงานต่างๆที่มีส่วนช่วยให้โครงงานนี้สาเร็จด้วย
4.12เอกสารอ้างอิงหนังสือหรือเอกสารต่างๆที่ผู้ทาโครงงานใช้ค้นคว้าหรืออ่านเพื่อศึกษาหาข้อมูลรายละเอียดต่างๆที่นามาใช้ประโยชน์
ในการทาโครงงานนี้
มีต่อ
ขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์
5.การแสดงผลงาน
การแสดงผลงานเป็นงานขั้นสุดท้ายและสาคัญอีกประการหนึ่งของการทาโครงงานเป็นการเสนอผลงานที่ได้ศึกษาค้นคว้าสาเร็จลงด้วยความคิด
ความพยายามของผู้ทาโครงงานให้คนอื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานการวางแผนออกแบบเพื่อจัดแสดงผลงานนั้นมีความสาคัญเท่าๆกับการทา
โครงงานนั่นเองผลงานที่ทาขึ้นจะดียอดเยี่ยมเพียงใด แต่ถ้าจัดแสดงผลงานได้ไม่ดีก็เท่ากับไม่ได้แสดงความดีเยี่ยมของผลงาน ดังนั้นการ
วางแผนดังกล่าวต้องอาศัยเวลาและคานึงถึงปัจจัยหลายประการที่สาคัญที่สุดประการหนึ่งคือผู้ชมหรือผู้ฟังการแสดงผลงานนั้นอาจทาได้ใน
รูปแบบต่างๆกันเช่นการแสดงในรูปนิทรรศการซึ่งมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูดหรือในรูปแบบของการจัดแสดงโดยไม่มีการ
อธิบายประกอบหรือในรูปของการรายงานแบบปากเปล่าไม่ว่าการแสดงผลจะอยู่ในรูปแบบใดควรจัดให้ครอบคลุมประเด็นสาคัญดังต่อไปนี้
5.1ชื่อโครงงานชื่อผู้ทาโครงงานชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
5.2คาอธิบายย่อๆถึงเหตุจูงใจในการทาโครงงานและความสาคัญของโครงงาน
5.3วิธีดาเนินการโดยเลือกเฉพาะขั้นตอนที่เด่นและสาคัญ
5.4การสาธิตหรือแสดงผลที่ได้จากการทดลอง
มีต่อ
ขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์
5.5ผลการสังเกตหรือข้อมูลเด่นๆที่ได้จากการทาโครงงานในการจัดนิทรรศการแสดงโครงงานนั้น ควรได้คานึงถึงสิ่งต่างๆต่อไปนี้
5.5.1ความปลอดภัยของการจัดแสดง
5.5.2ความเหมาะสมกับเนื้อที่ที่จัดแสดง
5.5.3คาอธิบายที่เขียนแสดงควรเน้นเฉพาะประเด็นสาคัญและสิ่งที่น่าสนใจเท่านั้นโดยใช้ข้อความที่กะทัดรัดชัดเจนและเข้าใจง่าย
5.5.4ดึงดูดความสนใจของผู้เข้าชมโดยใช้รูปแบบการแสดงที่น่าสนใจใช้สีที่สดใสเน้นจุดสาคัญ
5.5.5ใช้ตารางและรูปภาพประกอบโดยจัดวางอย่างเหมาะสม
มีต่อ
ขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์
6.สิ่งที่แสดงทุกอย่างต้องถูกต้องไม่มีการสะกดผิดหรืออธิบายหลักการที่ผิด
7.ในกรณีที่เป็นสิ่งประดิษฐ์สิ่งนั้นควรอยู่ในสภาพที่ทางานได้อย่างสมบูรณ์ในการแสดงผลงานผู้นาผลงานมาแสดงจะต้อง
อธิบายหรือรายงานปากเปล่าหรือตอบคาถามต่างๆต่อผู้ชมหรือกรรมการตัดสินโครงงานการอธิบายตอบคาถาม หรือรายงาน
ปากเปล่านั้นควรได้คานึงถึงสิ่งต่างๆต่อไปนี้
7.1ต้องทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายเป็นอย่างดี
7.2คานึงถึงความเหมาะสมของภาษาที่ใช้กับระดับผู้ฟังควรให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย
7.3ควรรายงานอย่างตรงไปตรงมาไม่อ้อมค้อม
7.4พยายามหลีกเลี่ยงการอ่านรายงาน แต่อาจจดหัวข้อสาคัญๆไว้เพื่อช่วยในการรายงานเป็นไปตามขั้นตอน
7.5อย่าท่องจารายงานเพราะทาให้ดูไม่เป็นธรรมชาติ
7.6ขณะที่รายงานควรมองตรงไปยังผู้ฟัง
7.7เตรียมตัวตอบคาถามที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ
มีต่อ
ขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์
7.8ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมาไม่จาเป็นต้องกล่าวถึงสิ่งที่ไม่ได้ถาม
7.9หากติดขัดในการอธิบายควรยอมรับโดยดีอย่ากลบเกลื่อนหรือหาทางเลี่ยงเป็นอย่างอื่น
7.10ควรรายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
7.11หากเป็นไปได้ควรใช้สื่อประเภทโสตทัศนูปกรณ์ประกอบการรายงานด้วยเช่นแผ่นใสสไลด์คอมพิวเตอร์เป็นต้น
การแสดงผลงานการทาโครงงานคณิตศาสตร์อาจจัดทาได้ในหลายระดับเช่นการจัดเสนอผลงานภายในชั้นเรียน การจัด
นิทรรศการภายในโรงเรียนการจัดนิทรรศการในงานประจาปีของโรงเรียนการส่งผลงานเข้าร่วมประกวดในงานแสดงหรือประกวด
ในระดับต่างๆ
มีต่อ
ขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์
จากขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์ดังกล่าวพอจะสรุปได้ดังนี้ขั้นตอนแรกเป็นการคิดเลือกหัวเรื่องปัญหาที่จะศึกษา
โดยคานึงถึงระดับความรู้ของนักเรียนวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้งบประมาณระยะเวลาในการทาอาจารย์ที่ปรึกษาความ
ปลอดภัยแหล่งความรู้และเอกสารว่ามีเพียงพอที่จะค้นคว้าหรือไม่ขั้นตอนที่สองเป็นการวางแผนโครงงาน โดยส่วนใหญ่จะจัดทา
ออกมาในรูปแบบของเค้าโครงงานซึ่งมีส่วนประกอบดังนี้ชื่อโครงงานผู้ทาครูที่ปรึกษาที่มาและความสาคัญจุดมุ่งหมายของ
การศึกษาสมมติฐาน(ถ้ามี)วิธีดาเนินงานแผนปฏิบัติงานผลที่คาดว่าจะได้รับและเอกสารอ้างอิงขั้นตอนที่สามเป็นการลงมือทา
โครงงานตามแผนที่วางๆไว้ขั้นตอนที่สี่เป็นการเขียนรายงานโดยมีส่วนประกอบดังนี้ชื่อโครงงานผู้ทาที่ปรึกษาบทคัดย่อ
ที่มาและความสาคัญของโครงงานจุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้าสมมติฐานวิธีดาเนินการผลการศึกษาค้นคว้าสรุปและ
ข้อเสนอแนะคาขอบคุณและเอกสารอ้างอิงขั้นตอนสุดท้ายเป็นการแสดงผลงาน โดยการแสดงผลงานไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบใด
ควรจัดให้ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ชื่อโครงงานผู้ทาโครงงานที่ปรึกษาคาอธิบายย่อๆถึงเหตุจูงใจในการทาโครงงานและ
ความสาคัญของโครงงานวิธีดาเนินการโดยเลือกเฉพาะขั้นตอนที่เด่นและสาคัญ การสาธิตหรือแสดงผลที่ได้จากการทดลองและ
ผลการสังเกตหรือข้อมูลเด่น ๆที่ได้จากการทาโครงงานประโยชน์ของโครงงานคณิตศาสตร์
สรุป
มีต่อ

More Related Content

What's hot

เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556Cher Phabet
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...natthasarttier
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...Ham Had
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตรภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตรNong Earthiiz
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑suwanna champasak
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611Tanawan Janrasa
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...Ployza Com-ed
 
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...Boontrakarn Silarak
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานSasithorn Horprasong
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนSasitorn Seajew
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานATip123mark
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับโครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับSuchada Maksiri
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Peetikun P'a
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)Khon Kaen University
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Mark'k Stk
 

What's hot (16)

เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตรภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับโครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to 4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์

ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์Atthaphon45614
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8Pumbaa Stk
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8Nuttinee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Suchada Maksiri
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์heartherher
 
1369802778 project base learning
1369802778 project base learning1369802778 project base learning
1369802778 project base learningKruthai Kidsdee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Fernimagine
 
โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้Supichaya Tamaneewan
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมsensitive_area
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมApisit Chaiya
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์Thanatchaporn Yawichai
 

Similar to 4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์ (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
1369802778 project base learning
1369802778 project base learning1369802778 project base learning
1369802778 project base learning
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Am
AmAm
Am
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

More from Somporn Amornwech

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงานSomporn Amornwech
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพSomporn Amornwech
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูลSomporn Amornwech
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสามSomporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม Somporn Amornwech
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 

More from Somporn Amornwech (20)

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล
 
1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์