SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล (2542: 7-8) และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(2546: 152 - 153) ได้แบ่งประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ เป็น 4 ประเภทดังนี้คือ
1. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภททดลอง (Experimental Research Project) โครงงานประเภทนี้
เป็นการศึกษาหาคาตอบของปัญหาใดปัญหาหนึ่งโดยการออกแบบการทดลองและดาเนินการทดลอง เพื่อหา
คาตอบของปัญหาที่ ต้องการทราบ หรือเพื่อตรวจสอบสมมติ ฐานที่ตั้ง ไว้ ขั้นตอนของการทาโครงงาน
ประเภทนี้ประกอบด้วย การกาหนดปัญหา การตั้งสมติฐาน การออกแบบการทดลอง ซึ่งต้องมีการควบคุมตัว
แปรต่าง ๆ ที่อาจส่งผลต่อตัวแปรที่ตองการศึกษา แล้วดาเนินการทดลองโดยจัดกระทากับตัวแปรอิสระ เพื่อดู
ผลที่เกิดขึ้นกับตัวแปรตาม การแปลผลและสรุปผลการทดลอง
2. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสารวจ (Survey Research Project) โครงงานประเภทนี้ เป็น
กิจกรรมการศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความรู้ที่มี
อยู่หรือเป็นอยู่ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยใช้วิธีการสารวจและรวบรวมข้อมูลเหล่านั้นมาจัดกระทา เช่น
จาแนกเป็นหมวดหมู่ แล้วนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
มีต่อ
ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3. โครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์ (Development Research Project)
โครงงานประเภทนี้อาจเป็นการพัฒนาหรือประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ใช้งานได้ตาม
วัตถุประสงค์ โดยการประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการทางคณิตศาสตร์ อาจเป็นการประดิษฐ์สิ่งใหม่ที่ยังไม่เคยมีมา
ก่อนหรือปรับปรุงอุปกรณ์หรือสิ่งประดิษฐ์ที่มีอยู่แล้วให้ใช้งานได้ดีกว่าเดิม รวมทั้งอาจเป็นการเสนอหรือปรับสร้าง
แบบจาลองทางความคิดเพื่อแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง
4. โครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎีหรือการอธิบาย (Theoretied Research Project)
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ผู้ทาจะต้องเสนอแนวคิดใหม่ ๆ ในการอธิบายเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีเหตุผล
มีหลักการทางคณิตศาสตร์หรือทฤษฎีสนับสนุน อาจเสนอในรูปคาอธิบาย สูตร หรือสมการโดยมีขอมูลหรือ
ทฤษฎี อื่นสนับสนุน การทาโครงงานประเภทนี้ ผู้จดทาจะต้องมีพื้นความรู้ทางคณิตศาสตร์ เป็นอย่างดี และ
ต้องศึกษาค้นคว้า เรื่องราวที่ เกี่ยวข้องอย่างมากจึง สามารถสร้างคาอธิบายหรือทฤษฎีได้
ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (2543, หน้า 59-60) ยังได้จัดประเภทของ
โครงงานคณิตศาสตร์ ออกเป็น 4 ลักษณะใหญ่ ดังนี้
1. ลักษณะเชิงประวัติศาสตร์ เป็นโครงงานในรูปแบบเอกสาร โครงงานลักษณะนี้จะเกี่ยวกับการศึกษาประวัติ
ต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
2. ลักษณะตามสาระหลัก (ด้านความรู้) จานวน พีชคณิต เรขาคณิต การวัด สถิติและความน่าจะเป็น
โครงงานลักษณะนี้จะใช้เนื้อหามาพิจารณาโดยตรง
3. ลักษณะประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง เป็นโครงงานในลักษณะที่เชื่อมโยงความรู้ แนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ทาง
คณิตศาสตร์ไปใช้
4. ลักษณะอื่น ๆ โครงงานลักษณะนี้เป็นการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ผสมผสานเข้ากับศาสตร์อื่น ๆ
ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
สุวร กาญจนมยูร (2545, หน้า 6) แบ่งโครงงานคณิตศาสตร์ตามความรู้ออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. โครงงานที่ทาให้เกิดองค์ความรู้ตามเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ เป็นงานที่เกิดจากกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคน
หรือแต่ละกลุ่ม ซึ่งได้ศึกษา ค้นคว้า วิจัย หาความรู้ เข้าใจในสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่นักเรียนสนใจหรือมีข้อสงสัยหรือมีปัญหา
และต้องการหาคาตอบโดยการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง ตามความรู้ความสามารถและความสนใจในข้อสงสัย หรือปัญหา
ที่ตนอยากรู้อยากเข้าใจ ได้คาตอบที่ถูกต้องและชัดเจน ภายใต้การแนะนาดูแลของครูหรือผู้เชี่ยวชาญที่เป็นที่ปรึกษา ให้
ความช่วยเหลืออานวยความสะดวกและตรวจสอบความถูกต้องขององค์ความรู้ที่นักเรียนแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มค้นพบ สิ่ง
ที่นักเรียนค้นพบอาจจะเป็น ข้อเท็จจริง (Facts) ความคิดรวบยอด (Concepts) สมบัติต่างๆ (Properties)
หลักการ (Principles) กฎ (Laws) วิธีการพิสูจน์ (Methods of Proof) กลวิธีคิด (Strategies) ทฤษฎี
(Theories)
2. โครงงานที่นาความรู้ หลักการทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ของสาขาวิชาการอื่นหรือใช้เป็น
เทคนิคในการแก้ปัญหาจากประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ พอสรุปได้ว่า การแบ่งประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
ขึ้นอยู่กับการแบ่งตามลักษณะ เช่น อาจแบ่งเป็น ประเภทสารวจรวบรวมข้อมูลประเภททดลอง ประเภทพัฒนาหรือ
ประดิษฐ์ และประเภทสร้างทฤษฎีหรือสร้างคาอธิบายหรืออาจแบ่งเป็นโครงงานที่ทาให้เกิดองค์ความรู้ตามเนื้อหาวิชา
คณิตศาสตร์ และหลักการทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ เป็นต้น
ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์จำแนกเป็น 4 ประเภทดังนี้
1. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสารวจรวบรวมข้อมูล เป็นการศึกษาหาความรู้ทางคณิตศาสตร์
ด้วยการสารวจตรวจสอบและเก็บรวบรวมข้อมูล การทาโครงงานประเภทนี้มีขั้นตอนที่
ประกอบด้วย การสืบค้นข้อมูล การสารวจตรวจสอบ การรวบรวมข้อมูล การนาข้อมูลมาจัด
กระทาในรูปแบบที่เหมาะสม การวิเคราะห์ข้อมูล และนาเสนอข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ
2. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภททดลอง เป็นการศึกษาคาตอบของปัญหาโดยการตรวจสอบ
ข้อความคาดการณ์หรือสมมติฐานที่ตั้งไว้ ด้วยการทาการทดลองหรือลงมือปฏิบัติจริง ขั้นตอน
การทาโครงงานประเภทนี่ประกอบด้วย การกาหนดและทาความเข้าใจปัญหา สร้างข้อความ
คาดการณ์หรือตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง ทาการทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูลและ
ตรวจสอบผลที่ได้จากข้อความคาดการณ์หรือสมมติฐานที่ตั้งไว้ แปลผลและสรุปผลการทดลอง
สรุป
มีต่อ
ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทพัฒนาหรือประดิษฐ์ เป็นการสร้างพัฒนาหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน
ที่กาหนดเป็นเป้าหมายไว้แล้ว ด้วยการประยุกต์ใช้ความรู้หรือมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ ผลงาน
ที่ได้อาจเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ หรือปรับปรุง สิ่งประดิษฐ์ที่มีอยู่แล้ว ตลอดจนการสร้าง
แบบจาลองเพื่อใช้อธิบายเนื้อหาสาระหรือมโนทัศน์ต่าง ๆ ด้วย
4. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสร้างทฤษฎีหรือสร้างคาอธิบาย เป็นการเสนอแนวคิดหรือ
วิธีการใหม่โดยมีทฤษฎีทางคณิตศาสตร์สนับสนุน หรือการนาเสนอแนวคิดเดิมในรูปแบบใหม่
หรือใช้ทฤษฎีอื่น ๆ ที่แตกต่างจากเดิมในการอธิบายหรือพิสูจน์แนวคิดหรือวิธีการที่นาเสนอการ
ทาโครงงานคณิตศาสตร์บางเรื่อง อาจเป็นการผสมผสานโครงงานประเภทต่าง ๆไว้ด้วยกันก็ได้
จึงไม่สามารถจัดเป็นประเภทหนึ่งประเภทใดได้อย่าง

More Related Content

Similar to 3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์

โครงงานคอม ใบที่ 6
โครงงานคอม ใบที่  6โครงงานคอม ใบที่  6
โครงงานคอม ใบที่ 6StampPamika
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์GolFy Faint Smile
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1Inception Tnz
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Inception Tnz
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Inception Tnz
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
Presentation 3 type and Methodology of Computer project.
Presentation 3 type and Methodology of Computer project. Presentation 3 type and Methodology of Computer project.
Presentation 3 type and Methodology of Computer project. Swnee_eic
 

Similar to 3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ (20)

ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
โครงงานคอม ใบที่ 6
โครงงานคอม ใบที่  6โครงงานคอม ใบที่  6
โครงงานคอม ใบที่ 6
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
Ertg
ErtgErtg
Ertg
 
Ertg
ErtgErtg
Ertg
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Unit03
Unit03Unit03
Unit03
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
Presentation 3 type and Methodology of Computer project.
Presentation 3 type and Methodology of Computer project. Presentation 3 type and Methodology of Computer project.
Presentation 3 type and Methodology of Computer project.
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
maisooree
maisooreemaisooree
maisooree
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ พัฒนา
บทคัดย่อ  พัฒนาบทคัดย่อ  พัฒนา
บทคัดย่อ พัฒนา
 

More from Somporn Amornwech

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงานSomporn Amornwech
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพSomporn Amornwech
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูลSomporn Amornwech
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสามSomporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม Somporn Amornwech
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 

More from Somporn Amornwech (20)

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล
 
1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์

  • 1. ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล (2542: 7-8) และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546: 152 - 153) ได้แบ่งประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ เป็น 4 ประเภทดังนี้คือ 1. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภททดลอง (Experimental Research Project) โครงงานประเภทนี้ เป็นการศึกษาหาคาตอบของปัญหาใดปัญหาหนึ่งโดยการออกแบบการทดลองและดาเนินการทดลอง เพื่อหา คาตอบของปัญหาที่ ต้องการทราบ หรือเพื่อตรวจสอบสมมติ ฐานที่ตั้ง ไว้ ขั้นตอนของการทาโครงงาน ประเภทนี้ประกอบด้วย การกาหนดปัญหา การตั้งสมติฐาน การออกแบบการทดลอง ซึ่งต้องมีการควบคุมตัว แปรต่าง ๆ ที่อาจส่งผลต่อตัวแปรที่ตองการศึกษา แล้วดาเนินการทดลองโดยจัดกระทากับตัวแปรอิสระ เพื่อดู ผลที่เกิดขึ้นกับตัวแปรตาม การแปลผลและสรุปผลการทดลอง 2. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสารวจ (Survey Research Project) โครงงานประเภทนี้ เป็น กิจกรรมการศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความรู้ที่มี อยู่หรือเป็นอยู่ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยใช้วิธีการสารวจและรวบรวมข้อมูลเหล่านั้นมาจัดกระทา เช่น จาแนกเป็นหมวดหมู่ แล้วนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม มีต่อ
  • 2. ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ 3. โครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์ (Development Research Project) โครงงานประเภทนี้อาจเป็นการพัฒนาหรือประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ใช้งานได้ตาม วัตถุประสงค์ โดยการประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการทางคณิตศาสตร์ อาจเป็นการประดิษฐ์สิ่งใหม่ที่ยังไม่เคยมีมา ก่อนหรือปรับปรุงอุปกรณ์หรือสิ่งประดิษฐ์ที่มีอยู่แล้วให้ใช้งานได้ดีกว่าเดิม รวมทั้งอาจเป็นการเสนอหรือปรับสร้าง แบบจาลองทางความคิดเพื่อแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง 4. โครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎีหรือการอธิบาย (Theoretied Research Project) โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ผู้ทาจะต้องเสนอแนวคิดใหม่ ๆ ในการอธิบายเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีเหตุผล มีหลักการทางคณิตศาสตร์หรือทฤษฎีสนับสนุน อาจเสนอในรูปคาอธิบาย สูตร หรือสมการโดยมีขอมูลหรือ ทฤษฎี อื่นสนับสนุน การทาโครงงานประเภทนี้ ผู้จดทาจะต้องมีพื้นความรู้ทางคณิตศาสตร์ เป็นอย่างดี และ ต้องศึกษาค้นคว้า เรื่องราวที่ เกี่ยวข้องอย่างมากจึง สามารถสร้างคาอธิบายหรือทฤษฎีได้
  • 3. ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (2543, หน้า 59-60) ยังได้จัดประเภทของ โครงงานคณิตศาสตร์ ออกเป็น 4 ลักษณะใหญ่ ดังนี้ 1. ลักษณะเชิงประวัติศาสตร์ เป็นโครงงานในรูปแบบเอกสาร โครงงานลักษณะนี้จะเกี่ยวกับการศึกษาประวัติ ต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ 2. ลักษณะตามสาระหลัก (ด้านความรู้) จานวน พีชคณิต เรขาคณิต การวัด สถิติและความน่าจะเป็น โครงงานลักษณะนี้จะใช้เนื้อหามาพิจารณาโดยตรง 3. ลักษณะประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง เป็นโครงงานในลักษณะที่เชื่อมโยงความรู้ แนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ไปใช้ 4. ลักษณะอื่น ๆ โครงงานลักษณะนี้เป็นการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ผสมผสานเข้ากับศาสตร์อื่น ๆ
  • 4. ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ สุวร กาญจนมยูร (2545, หน้า 6) แบ่งโครงงานคณิตศาสตร์ตามความรู้ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. โครงงานที่ทาให้เกิดองค์ความรู้ตามเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ เป็นงานที่เกิดจากกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคน หรือแต่ละกลุ่ม ซึ่งได้ศึกษา ค้นคว้า วิจัย หาความรู้ เข้าใจในสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่นักเรียนสนใจหรือมีข้อสงสัยหรือมีปัญหา และต้องการหาคาตอบโดยการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง ตามความรู้ความสามารถและความสนใจในข้อสงสัย หรือปัญหา ที่ตนอยากรู้อยากเข้าใจ ได้คาตอบที่ถูกต้องและชัดเจน ภายใต้การแนะนาดูแลของครูหรือผู้เชี่ยวชาญที่เป็นที่ปรึกษา ให้ ความช่วยเหลืออานวยความสะดวกและตรวจสอบความถูกต้องขององค์ความรู้ที่นักเรียนแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มค้นพบ สิ่ง ที่นักเรียนค้นพบอาจจะเป็น ข้อเท็จจริง (Facts) ความคิดรวบยอด (Concepts) สมบัติต่างๆ (Properties) หลักการ (Principles) กฎ (Laws) วิธีการพิสูจน์ (Methods of Proof) กลวิธีคิด (Strategies) ทฤษฎี (Theories) 2. โครงงานที่นาความรู้ หลักการทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ของสาขาวิชาการอื่นหรือใช้เป็น เทคนิคในการแก้ปัญหาจากประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ พอสรุปได้ว่า การแบ่งประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ ขึ้นอยู่กับการแบ่งตามลักษณะ เช่น อาจแบ่งเป็น ประเภทสารวจรวบรวมข้อมูลประเภททดลอง ประเภทพัฒนาหรือ ประดิษฐ์ และประเภทสร้างทฤษฎีหรือสร้างคาอธิบายหรืออาจแบ่งเป็นโครงงานที่ทาให้เกิดองค์ความรู้ตามเนื้อหาวิชา คณิตศาสตร์ และหลักการทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ เป็นต้น
  • 5. ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ โครงงานคณิตศาสตร์จำแนกเป็น 4 ประเภทดังนี้ 1. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสารวจรวบรวมข้อมูล เป็นการศึกษาหาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ด้วยการสารวจตรวจสอบและเก็บรวบรวมข้อมูล การทาโครงงานประเภทนี้มีขั้นตอนที่ ประกอบด้วย การสืบค้นข้อมูล การสารวจตรวจสอบ การรวบรวมข้อมูล การนาข้อมูลมาจัด กระทาในรูปแบบที่เหมาะสม การวิเคราะห์ข้อมูล และนาเสนอข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ 2. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภททดลอง เป็นการศึกษาคาตอบของปัญหาโดยการตรวจสอบ ข้อความคาดการณ์หรือสมมติฐานที่ตั้งไว้ ด้วยการทาการทดลองหรือลงมือปฏิบัติจริง ขั้นตอน การทาโครงงานประเภทนี่ประกอบด้วย การกาหนดและทาความเข้าใจปัญหา สร้างข้อความ คาดการณ์หรือตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง ทาการทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูลและ ตรวจสอบผลที่ได้จากข้อความคาดการณ์หรือสมมติฐานที่ตั้งไว้ แปลผลและสรุปผลการทดลอง สรุป มีต่อ
  • 6. ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ 3. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทพัฒนาหรือประดิษฐ์ เป็นการสร้างพัฒนาหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน ที่กาหนดเป็นเป้าหมายไว้แล้ว ด้วยการประยุกต์ใช้ความรู้หรือมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ ผลงาน ที่ได้อาจเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ หรือปรับปรุง สิ่งประดิษฐ์ที่มีอยู่แล้ว ตลอดจนการสร้าง แบบจาลองเพื่อใช้อธิบายเนื้อหาสาระหรือมโนทัศน์ต่าง ๆ ด้วย 4. โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสร้างทฤษฎีหรือสร้างคาอธิบาย เป็นการเสนอแนวคิดหรือ วิธีการใหม่โดยมีทฤษฎีทางคณิตศาสตร์สนับสนุน หรือการนาเสนอแนวคิดเดิมในรูปแบบใหม่ หรือใช้ทฤษฎีอื่น ๆ ที่แตกต่างจากเดิมในการอธิบายหรือพิสูจน์แนวคิดหรือวิธีการที่นาเสนอการ ทาโครงงานคณิตศาสตร์บางเรื่อง อาจเป็นการผสมผสานโครงงานประเภทต่าง ๆไว้ด้วยกันก็ได้ จึงไม่สามารถจัดเป็นประเภทหนึ่งประเภทใดได้อย่าง