SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์
สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2543, หน้า 68)
ได้กล่าวถึง การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ ควรพิจารณาดังนี้
1. ความสาคัญของการจัดทาโครงงาน ควรพิจารณาว่าเป็นงานเดี่ยวหรืองานกลุ่ม ริเริ่มเอง
หรือครูแนะแนวทาง การมีกระบวนการกลุ่ม การพัฒนาตนเอง การพัฒนางาน ความคิด
สร้างสรรค์ความสอดคล้องกับเนื้อหาคณิตศาสตร์ การนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง
2. เนื้อหาของโครงงาน ควรพิจารณาว่าตรงประเด็นปัญหาหรือไม่ ความถูกต้องของ
เนื้อหาความเหมาะสมในการใช้แนวคิดทางคณิตศาสตร์ และการนาข้อมูลมาใช้มีการสรุป
อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตลอดจนมีการขยายงาน
มีต่อ
การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์
3. การนาเสนอโครงงาน ควรพิจารณาว่าตรงประเด็นปัญหาหรือไม่ ความถูกต้องของ
เนื้อหา ความเหมาะสมในการใช้แนวคิดทางคณิตศาสตร์ และการนาข้อมูลมาใช้มีการสรุป
อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตลอดจนมีการขยายงาน
4. การนาเสนอโครงงาน ควรจะพิจารณาว่า สื่อความหมายให้เข้าใจหรือไม่ วิธีการนาเสนอ
ชัดเจนเพียงใด การนาเสนอมีความต่อเนื่องและสอดคล้องกัน การบรรยายประกอบการ
สาธิตมีความชัดเจนมีการจัดนิทรรศการ
การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546, หน้า 157) ได้กล่าวถึงการ
ประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ไว้ว่า การประเมินผลการทาโครงงานคณิตศาสตร์มีสาระจาเป็นต้องประเมิน
ประกอบด้วยการประเมินด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และแหล่งการเรียนรู้
โดยอาจกาหนดรายการประเมินและพฤติกรรมหรือการแสดงออกในแต่ละรายการประเมินไว้ดังนี้
1. ความรู้ มีพฤติกรรม/ การแสดงออก ดังนี้
1.1 มีความเข้าใจ หลักการ มโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์
1.2 เลือกใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม
1.3 มีความรู้เกิดขึ้นใหม่หรือสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
มีต่อ
การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์
2. ทักษะกระบวนการ มีพฤติกรรม/ การแสดงออก ดังนี้
2.1 การแก้ปัญหา
2.1.1 กาหนดปัญหาและสร้างข้อความคาดการณ์ที่สอดคล้องกับปัญหา
2.1.2 ใช้ยุทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหาจนสาเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 การให้เหตุผล
2.2.1 มีการอ้างอิงและเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างสมเหตุสมผล
2.2.2 มีการอธิบายถึงเหตุผลในการใช้วิธีการดาเนินการได้อย่างชัดเจน
2.3 การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ
2.3.1 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ถูกต้องและเหมาะสม
2.3.2 นาเสนอผลงานอย่างมีลาดับขั้นตอนและเป็นระบบที่ชัดเจนเข้าใจง่ายมี
รายละเอียดของข้อมูลที่ถูกต้องและสมบูรณ์
มีต่อ
การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์
2.3.3 มีการใช้เทคโนโลยีช่วยในการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม
2.3.4 รูปแบบการนาเสนอดึงดูดความสนใจ
2.4 การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
2.4.1 นาความรู้ หลักการ และวิธีการทางคณิตศาสตร์มาใช้เชื่อมโยงสาระ
คณิตศาสตร์กับสาระอื่น ๆ ตลอดจนนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างสอดคล้องเหมาะสม
2.5 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2.5.1 นาแนวคิดและวิธีการแปลกใหม่มาปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
2.5.2 มีความแปลกใหม่ในการออกแบบรายการประเมิน พฤติกรรม/การแสดงออก
มีต่อ
การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์
3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีพฤติกรรม/ การแสดงออก ดังนี้
3.1 ทางานอย่างเป็นระบบ
3.1.1 มีการวางแผนการดาเนินงานอย่างเป็นระบบเรียงลาดับความสาคัญอย่างเหมาะสม
3.1.2 ปฏิบัติงานครบทุกขั้นตอน
3.2 มีระเบียบวินัย
3.2.1 ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงที่กาหนดไว้
3.2.2 ผลงานมีความสะอาดเรียบร้อย
3.3 มีความรอบคอบ
3.3.1 ปฏิบัติงานทุกขั้นตอนด้วยความรอบคอบ
3.4 มีความรับผิดชอบ
3.4.1 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายและปฏิบัติเป็นนิสัย
3.4.2 ส่งงานก่อนหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย มีต่อ
การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์
3.5 มีวิจารณญาณ
3.5.1 ปฏิบัติงานครบทุกขั้นตอนที่จาเป็น โดยสามารถตัดขั้นตอนที่ไม่จาเป็นออก
3.5.2 เลือกใช้วิธีดาเนินงานได้อย่างเหมาะสม
3.6 มีความเชื่อมั่นในตนเอง
3.6.1 มีหลักฐานแสดงถึงความเชื่อมั่นในตนเองขณะดาเนินงานและนาเสนอผลงาน
3.7 ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
3.7.1 มีหลักฐานแสดงถึงความชื่นชมในคณิตศาสตร์
3.7.2 มีความกระตือรือร้นที่จะแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
3.7.3 มีความสนใจในการค้นคว้าหาความรู้ทางคณิตศาสตร์
มีต่อ
การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์
4. แหล่งการเรียนรู้ มีพฤติกรรม/ การแสดงออก ดังนี้
4.1 ความเหมาะสม
4.1.1 เลือกใช้แหล่งการเรียนรู้อย่างเหมาะสม
4.2 ความพอเพียง
4.2.1 มีการใช้แหล่งการเรียนรู้ที่พอเพียง
4.3 ความน่าเชื่อถือ
4.3.1 เลือกใช้แหล่งการเรียนรู้ที่มีความน่าเชื่อถือ
การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์
จากการประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ พอจะสรุปได้ว่าการประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ควร
พิจารณาถึงความสาคัญของการจัดทาโครงงาน เนื้อหาของโครงงาน การนาเสนอโครงงานว่าตรงประเด็น
ปัญหาหรือไม่ ความถูกต้อง เหมาะสมในการใช้แนวคิดทางคณิตศาสตร์ สรุปได้ถูกต้องมีการขยาย
งาน มีการสื่อความหมายที่ชัดเจนต่อเนื่องและสอดคล้องกัน รวมถึง การจัดนิทรรศการโดยการประเมิน
สามารถแยกออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการด้านการแก้ปัญหา การให้
เหตุผล การสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และนาเสนอการเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง
คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ในด้านการ
ทางานอย่างเป็นระบบ มีระเบียบวินัย มีความรอบคอบมีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความ
เชื่อมั่นในตนเอง ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ และสุดท้ายแหล่งการเรียนรู้
พิจารณาถึงความเหมาะสม ความพอเพียงและความน่าเชื่อถือ
สรุป
ประโยชน์ของโครงงานคณิตศาสตร์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546, หน้า 156) ได้กล่าวถึง
ประโยชน์ของการทาโครงงานคณิตศาสตร์ไว้ว่า
1. ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการสังเกต การสารวจตรวจสอบ การสร้าง ข้อความคาดการณ์การลง
ข้อสรุป การสื่อสาร และการสื่อความหมาย และการเชื่อมโยงความรู้
2. ผู้เรียนได้ฝึกการทางานอย่างเป็นระบบมีขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน
3. ผู้เรียนได้เลือกทางานที่ตนเองสนใจและมั่นใจ ทาให้เกิดความกระตือรือร้นต่อการเรียนรู้
4. ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาสาระที่ทาโครงงานเป็นอย่างดี ซึ่งเป็นการขยายแนวคิด และใน
บางกรณีอาจขยายไปสู่การคิดในรูปทั่วไป (General Form)
5. ผู้เรียนได้เรียนรู้การประเมินตนเอง และรับการประเมินจากผู้เกี่ยวข้อง ทาให้มี
ความสามารถในการประเมินศักยภาพของตนเอง มีต่อ
ประโยชน์ของโครงงานคณิตศาสตร์
นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงข้อจากัดในการทาโครงงานคณิตศาสตร์ไว้ ดังนี้
1. การประเมินผลอาจมีความคลาดเคลื่อนจากความบกพร่องของเครื่องมือวัดผลประเมินผล
และความลาเอียงของผู้ประเมิน
2. ผู้ประเมินจะต้องเป็นผู้มีความรู้ในเรื่องที่จะประเมินเป็นอย่างดีและต้องมีเวลาเพียงพอใน
การตรวจสอบ
ประโยชน์ของโครงงานคณิตศาสตร์
จากประโยชน์ของโครงงานคณิตศาสตร์ พอสรุปได้ว่า ทาให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ ฝึก
การทางานอย่างเป็นระบบมีขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน ได้เรียนรู้เนื้อหาสาระที่ทาโครงงาน
เป็นอย่างดีและได้เรียนรู้การประเมินตนเองรวมทั้งได้รับการประเมินจากผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้ง
สามารถประเมินศักยภาพของตนเองได้
สรุป

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
ใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมkanjana2536
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมchanaruk
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานJitiya Purksametanan
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2Jutarat Bussadee
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์guestf4034a
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละApirak Potpipit
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5Khunnawang Khunnawang
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 

What's hot (20)

โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset5088 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
ใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรม
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 

Similar to 5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์

2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
9789740335603
97897403356039789740335603
9789740335603CUPress
 
วิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรวิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรYuttana Sojantuek
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางPhunthawit
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical groupTiwawan
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์พิทักษ์ ทวี
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
สรุปเศรษฐศาสตร์กลยุทธิ์ 17 เมษายน 2553
สรุปเศรษฐศาสตร์กลยุทธิ์ 17 เมษายน 2553สรุปเศรษฐศาสตร์กลยุทธิ์ 17 เมษายน 2553
สรุปเศรษฐศาสตร์กลยุทธิ์ 17 เมษายน 2553aombpat
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...Ham Had
 

Similar to 5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์ (20)

2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
9789740335603
97897403356039789740335603
9789740335603
 
Kaarkhidtaang
KaarkhidtaangKaarkhidtaang
Kaarkhidtaang
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
วิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรวิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตร
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
สรุปเศรษฐศาสตร์กลยุทธิ์ 17 เมษายน 2553
สรุปเศรษฐศาสตร์กลยุทธิ์ 17 เมษายน 2553สรุปเศรษฐศาสตร์กลยุทธิ์ 17 เมษายน 2553
สรุปเศรษฐศาสตร์กลยุทธิ์ 17 เมษายน 2553
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
 

More from Somporn Amornwech

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงานSomporn Amornwech
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพSomporn Amornwech
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูลSomporn Amornwech
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสามSomporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม Somporn Amornwech
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 

More from Somporn Amornwech (20)

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล
 
1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์

  • 1. การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2543, หน้า 68) ได้กล่าวถึง การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ ควรพิจารณาดังนี้ 1. ความสาคัญของการจัดทาโครงงาน ควรพิจารณาว่าเป็นงานเดี่ยวหรืองานกลุ่ม ริเริ่มเอง หรือครูแนะแนวทาง การมีกระบวนการกลุ่ม การพัฒนาตนเอง การพัฒนางาน ความคิด สร้างสรรค์ความสอดคล้องกับเนื้อหาคณิตศาสตร์ การนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง 2. เนื้อหาของโครงงาน ควรพิจารณาว่าตรงประเด็นปัญหาหรือไม่ ความถูกต้องของ เนื้อหาความเหมาะสมในการใช้แนวคิดทางคณิตศาสตร์ และการนาข้อมูลมาใช้มีการสรุป อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตลอดจนมีการขยายงาน มีต่อ
  • 2. การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ 3. การนาเสนอโครงงาน ควรพิจารณาว่าตรงประเด็นปัญหาหรือไม่ ความถูกต้องของ เนื้อหา ความเหมาะสมในการใช้แนวคิดทางคณิตศาสตร์ และการนาข้อมูลมาใช้มีการสรุป อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตลอดจนมีการขยายงาน 4. การนาเสนอโครงงาน ควรจะพิจารณาว่า สื่อความหมายให้เข้าใจหรือไม่ วิธีการนาเสนอ ชัดเจนเพียงใด การนาเสนอมีความต่อเนื่องและสอดคล้องกัน การบรรยายประกอบการ สาธิตมีความชัดเจนมีการจัดนิทรรศการ
  • 3. การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546, หน้า 157) ได้กล่าวถึงการ ประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ไว้ว่า การประเมินผลการทาโครงงานคณิตศาสตร์มีสาระจาเป็นต้องประเมิน ประกอบด้วยการประเมินด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และแหล่งการเรียนรู้ โดยอาจกาหนดรายการประเมินและพฤติกรรมหรือการแสดงออกในแต่ละรายการประเมินไว้ดังนี้ 1. ความรู้ มีพฤติกรรม/ การแสดงออก ดังนี้ 1.1 มีความเข้าใจ หลักการ มโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ 1.2 เลือกใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม 1.3 มีความรู้เกิดขึ้นใหม่หรือสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง มีต่อ
  • 4. การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ 2. ทักษะกระบวนการ มีพฤติกรรม/ การแสดงออก ดังนี้ 2.1 การแก้ปัญหา 2.1.1 กาหนดปัญหาและสร้างข้อความคาดการณ์ที่สอดคล้องกับปัญหา 2.1.2 ใช้ยุทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหาจนสาเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 การให้เหตุผล 2.2.1 มีการอ้างอิงและเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างสมเหตุสมผล 2.2.2 มีการอธิบายถึงเหตุผลในการใช้วิธีการดาเนินการได้อย่างชัดเจน 2.3 การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ 2.3.1 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ถูกต้องและเหมาะสม 2.3.2 นาเสนอผลงานอย่างมีลาดับขั้นตอนและเป็นระบบที่ชัดเจนเข้าใจง่ายมี รายละเอียดของข้อมูลที่ถูกต้องและสมบูรณ์ มีต่อ
  • 5. การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ 2.3.3 มีการใช้เทคโนโลยีช่วยในการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม 2.3.4 รูปแบบการนาเสนอดึงดูดความสนใจ 2.4 การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ 2.4.1 นาความรู้ หลักการ และวิธีการทางคณิตศาสตร์มาใช้เชื่อมโยงสาระ คณิตศาสตร์กับสาระอื่น ๆ ตลอดจนนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างสอดคล้องเหมาะสม 2.5 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2.5.1 นาแนวคิดและวิธีการแปลกใหม่มาปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง 2.5.2 มีความแปลกใหม่ในการออกแบบรายการประเมิน พฤติกรรม/การแสดงออก มีต่อ
  • 6. การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ 3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีพฤติกรรม/ การแสดงออก ดังนี้ 3.1 ทางานอย่างเป็นระบบ 3.1.1 มีการวางแผนการดาเนินงานอย่างเป็นระบบเรียงลาดับความสาคัญอย่างเหมาะสม 3.1.2 ปฏิบัติงานครบทุกขั้นตอน 3.2 มีระเบียบวินัย 3.2.1 ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงที่กาหนดไว้ 3.2.2 ผลงานมีความสะอาดเรียบร้อย 3.3 มีความรอบคอบ 3.3.1 ปฏิบัติงานทุกขั้นตอนด้วยความรอบคอบ 3.4 มีความรับผิดชอบ 3.4.1 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายและปฏิบัติเป็นนิสัย 3.4.2 ส่งงานก่อนหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย มีต่อ
  • 7. การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ 3.5 มีวิจารณญาณ 3.5.1 ปฏิบัติงานครบทุกขั้นตอนที่จาเป็น โดยสามารถตัดขั้นตอนที่ไม่จาเป็นออก 3.5.2 เลือกใช้วิธีดาเนินงานได้อย่างเหมาะสม 3.6 มีความเชื่อมั่นในตนเอง 3.6.1 มีหลักฐานแสดงถึงความเชื่อมั่นในตนเองขณะดาเนินงานและนาเสนอผลงาน 3.7 ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ 3.7.1 มีหลักฐานแสดงถึงความชื่นชมในคณิตศาสตร์ 3.7.2 มีความกระตือรือร้นที่จะแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 3.7.3 มีความสนใจในการค้นคว้าหาความรู้ทางคณิตศาสตร์ มีต่อ
  • 8. การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ 4. แหล่งการเรียนรู้ มีพฤติกรรม/ การแสดงออก ดังนี้ 4.1 ความเหมาะสม 4.1.1 เลือกใช้แหล่งการเรียนรู้อย่างเหมาะสม 4.2 ความพอเพียง 4.2.1 มีการใช้แหล่งการเรียนรู้ที่พอเพียง 4.3 ความน่าเชื่อถือ 4.3.1 เลือกใช้แหล่งการเรียนรู้ที่มีความน่าเชื่อถือ
  • 9. การประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ จากการประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ พอจะสรุปได้ว่าการประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ควร พิจารณาถึงความสาคัญของการจัดทาโครงงาน เนื้อหาของโครงงาน การนาเสนอโครงงานว่าตรงประเด็น ปัญหาหรือไม่ ความถูกต้อง เหมาะสมในการใช้แนวคิดทางคณิตศาสตร์ สรุปได้ถูกต้องมีการขยาย งาน มีการสื่อความหมายที่ชัดเจนต่อเนื่องและสอดคล้องกัน รวมถึง การจัดนิทรรศการโดยการประเมิน สามารถแยกออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการด้านการแก้ปัญหา การให้ เหตุผล การสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และนาเสนอการเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ในด้านการ ทางานอย่างเป็นระบบ มีระเบียบวินัย มีความรอบคอบมีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความ เชื่อมั่นในตนเอง ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ และสุดท้ายแหล่งการเรียนรู้ พิจารณาถึงความเหมาะสม ความพอเพียงและความน่าเชื่อถือ สรุป
  • 10. ประโยชน์ของโครงงานคณิตศาสตร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546, หน้า 156) ได้กล่าวถึง ประโยชน์ของการทาโครงงานคณิตศาสตร์ไว้ว่า 1. ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการสังเกต การสารวจตรวจสอบ การสร้าง ข้อความคาดการณ์การลง ข้อสรุป การสื่อสาร และการสื่อความหมาย และการเชื่อมโยงความรู้ 2. ผู้เรียนได้ฝึกการทางานอย่างเป็นระบบมีขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน 3. ผู้เรียนได้เลือกทางานที่ตนเองสนใจและมั่นใจ ทาให้เกิดความกระตือรือร้นต่อการเรียนรู้ 4. ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาสาระที่ทาโครงงานเป็นอย่างดี ซึ่งเป็นการขยายแนวคิด และใน บางกรณีอาจขยายไปสู่การคิดในรูปทั่วไป (General Form) 5. ผู้เรียนได้เรียนรู้การประเมินตนเอง และรับการประเมินจากผู้เกี่ยวข้อง ทาให้มี ความสามารถในการประเมินศักยภาพของตนเอง มีต่อ
  • 11. ประโยชน์ของโครงงานคณิตศาสตร์ นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงข้อจากัดในการทาโครงงานคณิตศาสตร์ไว้ ดังนี้ 1. การประเมินผลอาจมีความคลาดเคลื่อนจากความบกพร่องของเครื่องมือวัดผลประเมินผล และความลาเอียงของผู้ประเมิน 2. ผู้ประเมินจะต้องเป็นผู้มีความรู้ในเรื่องที่จะประเมินเป็นอย่างดีและต้องมีเวลาเพียงพอใน การตรวจสอบ
  • 12. ประโยชน์ของโครงงานคณิตศาสตร์ จากประโยชน์ของโครงงานคณิตศาสตร์ พอสรุปได้ว่า ทาให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ ฝึก การทางานอย่างเป็นระบบมีขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน ได้เรียนรู้เนื้อหาสาระที่ทาโครงงาน เป็นอย่างดีและได้เรียนรู้การประเมินตนเองรวมทั้งได้รับการประเมินจากผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้ง สามารถประเมินศักยภาพของตนเองได้ สรุป