SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวก
และผลต่างของกาลังสาม
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม
1. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสามที่อยู่ในรูปผลบวกกาลังสามและผลต่างกาลังสาม
โดยใช้สูตร
2. แยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม ที่สามารถจัดให้อยู่ในรูปผลต่างของ
กาลังสอง กาลังสองสมบูรณ์ ผลบวกของกาลังสาม หรือผลต่างของกาลังสาม โดยใช้
สมบัติการเปลี่ยนหมู่ สมบัติการสลับที่ หรือสมบัติการแจกแจง
จุดประสงค์ของบทเรียน
เมื่อเรียนจบบทนี้แล้วนักเรียนจะสามารถ
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
• สมบัติของเลขยกกาลัง
(am)n = amn เมื่อ a เป็นจานวนจริงที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m และ n เป็น
เลขชี้กาลังที่เป็นจานวนเต็ม
เช่น (103)2 = 103  2 = 106
210 = 25  2 = (25)2
(ab)n = an bn เมื่อ a, b เป็นจานวนจริงที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ n เป็นเลขชี้
กาลังที่เป็นจานวนเต็ม
เช่น (2 x 5)3 = 23  53 = 1,000
• พหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป x2 + bx + c แยกตัวประกอบเป็น (x + m)(x + n)
ได้ เมื่อ mn = c และ m + n = b โดยที่ b, c, m และ n เป็นจานวนเต็ม
เช่น x + 5x +6 = (x + 2)(x + 3)
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
• พหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c แยกตัวประกอบเป็น (px + r)(qx + s)
ได้ เมื่อ pq = a, rs = c
และ ps + qr = b โดยที่ a, b, c, d, q, r, s เป็นจานวนเต็ม และ a  0
เช่น 6x2 – 7x – 3 = (2x – 3)(3x + 1)
ถ้า A และ B เป็นพหุนาม จะแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นกาลังสอง
สมบูรณ์ได้ตามสูตร ดังนี้
A2 + 2AB + B2 = (A + B)2
A2 – 2AB + B2 = (A – B)2
ถ้า A และ B เป็นพหุนาม จะแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นผลต่างของ
กาลังสองได้ตามสูตร ดังนี้
A2 – B2 = (A + B)(A – B)
นักเรียนเคยทราบมาแล้วเกยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนาม
ดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจานวนเต็ม และ a  0
ให้ได้เป็นตัวประกอบที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์และค่าคงตัวเป็นจานวนเต็ม
ในบทนี้จะกล่าวถึงการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง
ที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์และค่าคงตัวเป็นจานวนเต็มให้ได้เป็นตัวประกอบ
ที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์และค่าคงตัวเป็นจานวนเต็มเท่านั้น
ทักษะในการแยกตัวประกอบของพหุนามนี้ จะเป็นพื้นฐานการเรียนรู้
ในระดับที่สูงขึ้น สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ได้มากขึ้น
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูป
ผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
ให้นักเรียนพิจารณาการหาผลรวมของปริมาตรของลูกบาศก์ที่มี
ปริมาตร 53 ลูกบาศก์หน่วย และ x3 ลูกบาศก์หน่วย ดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
ขั้นที่ 3
พิจารณาส่วนที่เป็นทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก A และ B ด้านซ้าย
จะเห็นว่า มีขนาดเดียวกัน คือ 5  (x)  (x – 5) ลูกบาศก์หน่วย จึงตัดส่วนที่เป็นทรงสี่เหลี่ยมมุม
ฉาก B โดยวางแทนที่ส่วน A ดังแสดงไว้ที่รูปด้านขวา
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
ขั้นที่ 4
จากขั้นที่ 3 จะได้ปริซึม ดังรูป
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
จากรูปข้างต้น จะเห็นว่า ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติในขั้นที่ 2 เท่ากับ
ปริมาตรของปริซึมในขั้นที่ 4 ดังนั้น
x3 + 53 = x(x – 5)(x + 5) + (5)(5)(x + 5)
= (x + 5)[x(x – 5) + 25]
= (x + 5)(x2 – 5x + 25)
จากการหาปริมาตรข้างต้น จะเห็นว่าเราสามารถเขียนพหุนาม x3 + 53 ซึ่งเป็น
พหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกของกาลังสาม (sum of cubes) ให้อยู่ในรูปของการ
คูณกันของพหุนามได้
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
เมื่อพิจารณาการหาผลคูณของพหุนาม x + 5 และ x2 – 5x + 25 จะได้
(x + 5)(x2 – 5x + 25) = x3 – 5x2 + 25x + 5x2 – 25x + 125
= x3 + 125
= x3 + 53
นั่นคือ เราสามารถแยกตัวประกอบของ x3 + 53 ได้เป็น (x + 5)(x2 – 5x + 25)
และเมื่อพิจารณาการหาผลคูณของพหุนาม 2x + 3 และ 4x2 – 6x + 9 จะได้
(2x + 3)(4x2 - 6x + 9) = 8x3 – 12x2 + 18x + 12x2 – 18x + 27
= 8x3 + 27
= (2x)3 + 33
นั่นคือ เราสามารถแยกตัวประกอบของ (2x)3 + 33 ได้เป็น (2x + 3)(4x2 – 6x + 9)
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
พิจารณา x3 – 53 = (x – 5)(x2 + 5x + 25)
หรือ x3 – 53 = (x – 5)[x2 + (x)(5) + 52]
และพิจารณา (2x)3 – 33 = (2x – 3)(4x2 + 6x + 9)
หรือ (2x)3 – 33 = (2x – 3)[(2x)2 + (2x)(3) + 32]
พจน์หน้าคือ x พจน์หลังคือ 5
พจน์หน้าคือ 2x พจน์หลังคือ 3
จะเห็นว่า การแยกตัวประกอบของพหุนามข้างต้นมีลักษณะพิเศษที่สังเกตได้ดังนี้
(พจน์หน้า)3 + (พจน์หลัง)3 = (พจน์หน้า + พจน์หลัง)[(พจน์หน้า)2 - (พจน์หน้า)(พจน์หลัง) + (พจน์หลัง)2]
ในกรณีทั่วไป เมื่อ A และ B เป็นพหุนาม เรียกพหุนามที่อยู่ในรูป A3 + B3 ว่า
ผลบวกของกาลังสาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามทาได้ตามสูตรดังนี้
A3 + B3 = (A + B)(A2 - AB + B2)
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
ตัวอย่างที่ 1
จงแยกตัวประกอบของ x3 + 1
วิธีทา x3 + 1 = x3 + 13
= (x + 1)[x2 – (x)(1) + 12]
= (x + 1)(x2 – x + 1)
ดังนั้น x3 + 1 = (x + 1)(x2 – x + 1)
ตัวอย่างที่ 2
จงแยกตัวประกอบของ x3 + 343
วิธีทา x3 + 343 = x3 + 73
= (x + 7)[x2 – (x)(7) + 72]
= (x + 7)(x2 – 7x + 49)
ดังนั้น x3 + 343 = (x + 7)(x2 – 7x + 49)
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
ตัวอย่างที่ 3
จงแยกตัวประกอบของ 27x3 + 64
วิธีทา 27x3 + 64 = (3x)3 + 43
= (3x + 4)| (3x)2 – (3x)(4) + 42]
= (3x + 4)(9x2 – 12x + 16)
ดังนั้น 27x3 + 64 = (3x + 4)(9x2 – 12x + 16)
ตัวอย่างที่ 4
จงแยกตัวประกอบของ (2x + 1)3 + (x – 3)3
วิธีทา (2x + 1)3 + (x – 3)3 = [(2x+1) + (x – 3)][(2x+1)2 – (2x + 1)(x – 3) + (x – 3)2]
= (2x+1+x – 3)[(4x2+4x+1) – (2x2 – 6x+x – 3) + (x2 – 6x + 9)]
= (3x – 2)(4x2+4x+1 – 2x2+5x+3+x2 – 6x+9)
= (3x – 2)(3x2+3x+13)
ดังนั้น (2x + 1)3 + (x – 3)3 = (3x – 2)(3x2+3x+13)
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
ให้นักเรียนพิจารณาการหาปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่สร้างจาก
ลูกบาศก์ที่มีด้านยาว x หน่วย และมีการตัดที่มุมของลูกบาศก์นี้ให้เป็นลูกบาศก์ที่มี
ด้านยาว 5 หน่วย ออกไป ดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
ขั้นที่ 3
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
จากรูปข้างต้น จะเห็นว่า ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติในขั้นที่ 1 เท่ากับผลรวมของ
ปริมาตรของปริซึมทั้งสามในขั้นที่ 3
ดังนั้น x3 – 53 = (x – 5)(x)(x) + 5(x – 5)(x) + (5)(5)(x – 5)
= (x – 5)[x2 + x + 25)
จากการหาปริมาตรข้างต้น จะเห็นว่า จากการหาปริมาตรข้างต้น จะเห็นว่าเรา
สามารถเขียนพหุนาม x3 – 53 ซึ่งเป็นพหุนามที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสาม
(difference of cubes) ให้อยู่ในรูปการคูณกันของพหุนามได้
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
เมื่อพิจารณาการหาผลคูณของพหุนาม x – 5 และ x2 + 5x + 25 จะได้
(x – 5)(x2 + 5x + 25) = x3 + 5x2 + 25x – 5x2 – 25x – 125
= x3 – 125
= x3 – 53
นั่นคือ เราสามารถแยกตัวประกอบของ x3 – 53 ได้เป็น (x – 5)(x2 + 5x + 25)
และเมื่อพิจารณาการหาผลคูณของพหุนาม 2x – 3 และ 4x2 + 6x + 9 จะได้
(2x – 3)(4x2 + 6x + 9) = 8x3 + 12x2 + 18x – 12x2 – 18x – 27
= 8x3 – 27
= (2x)3 – 33
นั่นคือ เราสามารถแยกตัวประกอบของ (2x)3 – 33 ได้เป็น (2x – 3)(4x2+6x+9)
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
พิจารณา x3 – 53 = (x – 5)(x2 + 5x + 25)
หรือ x3 – 53 = (x – 5)[x2 + (x)(5) + 52]
และพิจารณา (2x)3 – 33 = (2x – 3)(4x2 + 6x + 9)
หรือ (2x)3 – 33 = (2x – 3)[(2x)2 + (2x)(3) + 32]
พจน์หน้าคือ x พจน์หลังคือ 5
พจน์หน้าคือ 2x พจน์หลังคือ 3
จะเห็นว่า การแยกตัวประกอบของพหุนามข้างต้นมีลักษณะพิเศษที่สังเกตได้ดังนี้
(พจน์หน้า)3 - (พจน์หลัง)3 = (พจน์หน้า - พจน์หลัง)[(พจน์หน้า)2 + (พจน์หน้า)(พจน์หลัง) + (พจน์หลัง)2]
ในกรณีทั่วไป เมื่อ A และ B เป็นพหุนาม เรียกพหุนามที่อยู่ในรูป A3 + B3 ว่า
ผลต่างของกาลังสาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามทาได้ตามสูตรดังนี้
A3 - B3 = (A – B)(A2 + AB + B2)
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
ตัวอย่างที่ 5
จงแยกตัวประกอบของ 1,000 – x3
วิธีทา 1,000 – x3 = 103 – x3
= (10 – x)[102 + (10)(x) + x2]
= (10 – x)[100 + 10x + x2]
ดังนั้น 1,000 – x3 = (10 – x)[100 + 10x + x2]
ตัวอย่างที่ 6
จงแยกตัวประกอบของ 8x3 – 27y3
วิธีทา 8x3 – 27y3 = (2x)3 – (3y)3
= (2x – 3y)[(2x)2 + (2x)(3y) + (3y)2]
= (2x – 3y) (4x2 + 6xy +9y2)
ดังนั้น 8x3 – 27y3 = (2x – 3y) (4x2 + 6xy +9y2)
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
ตัวอย่างที่ 7
จงแยกตัวประกอบของ (x – 3)3 – (3x + 2)3
วิธีทา (x – 3)3 – (3x + 2)3 = [(x – 3) – (3x+2)][(x – 3)2+(x – 3)(3x+2) + (3x+2)2]
= (x – 3 – 3x – 2)(x2 – 6x+9+3x2+2x – 9x – 6+9x2+12x+4)
= (– 2x – 5)(13x2 – x + 7)
ดังนั้น (x – 3)3 – (3x + 2)3 = (– 2x – 5)(13x2 – x + 7)
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
ในบางครั้งการแยกตัวประกอบของพหุนาม อาจต้องจัดพจน์ของพหุนามใหม่โดยใช้สมบัติ
การเปลี่ยนหมู่ สมบัติการสลับที่ หรือสมบัติการแจกแจง ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 8
จงแยกตัวประกอบของ x3 – 6x2 + 12x – 8
วิธีทา x3 – 6x2 + 12x – 8 = (x3 – 8) – (6x2 – 12x)
= (x – 2)3 – 6x(x – 2)
= (x – 2)(x2 + 2x + 4) – 6x (x – 2)
= (x – 2)[(x2 + 2x + 4) – 6x]
= (x – 2)(x2 – 4x + 4)
= (x – 2)(x – 2)(x – 2)
= (x – 2)3
ดังนั้น x3 – 6x2 + 12x – 8 = (x – 2)3
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกาลังสาม
ข้อสังเกต
จากสูตร A3 + B3 = (A + B}{A2 – AB + B2)
A3 – B3 = (A – B)(A2 + AB + B2)
เพื่อให้ง่ายต่อการจดจาและนาไปใช้ อาจจาโดยย่อ ดังนี้
(หน้า)3 + (หลัง)3 = (หน้า + หลัง)[(หน้า)2 – (หน้า)(หลัง) + (หลัง)2 ]
(หน้า)3 – (หลัง)3 = (หน้า – หลัง)[(หน้า)2 + (หน้า)(หลัง) + (หลัง)2]

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละApirak Potpipit
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2พัน พัน
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6Roman Paduka
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการnarong2508
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
 
สูตรรูปเรขาคณิตสองมิติ
สูตรรูปเรขาคณิตสองมิติสูตรรูปเรขาคณิตสองมิติ
สูตรรูปเรขาคณิตสองมิติ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
แบบฝึกทักษะเอกนาม
แบบฝึกทักษะเอกนามแบบฝึกทักษะเอกนาม
แบบฝึกทักษะเอกนาม
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
พื้นที่ผิวทรงกลม5
พื้นที่ผิวทรงกลม5พื้นที่ผิวทรงกลม5
พื้นที่ผิวทรงกลม5
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 

Similar to 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม

2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม Somporn Amornwech
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)Krukomnuan
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newแบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newKrukomnuan
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญKrukomnuan
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามChitpol Kamthep
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้pummath
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10Kuntoonbut Wissanu
 

Similar to 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม (20)

2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
Add m3-1-chapter2
Add m3-1-chapter2Add m3-1-chapter2
Add m3-1-chapter2
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newแบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
 
Square Root 2
Square Root 2Square Root 2
Square Root 2
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
32201mid522
32201mid52232201mid522
32201mid522
 
60 matrix-021060
60 matrix-02106060 matrix-021060
60 matrix-021060
 
60 matrix-081060
60 matrix-08106060 matrix-081060
60 matrix-081060
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
 

More from Somporn Amornwech

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงานSomporn Amornwech
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพSomporn Amornwech
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูลSomporn Amornwech
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 

More from Somporn Amornwech (17)

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล
 
1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม