SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีบท 1. (ขั้นตอนวิธีการหาร)
ให้ P(x) และ Q(x) เป็นพหุนามใดๆ ซึ่ง Q(x) ไม่เป็นพหุนามศูนย์ แล้ว จะมีพหุนาม S(x)
และ R(x) เพียงชุดเดียวเท่านั้นที่สอดคล้องกับสมการ
P(x) = Q(x)S(x) + R(x)
โดยที่ดีกรีของพหุนาม R(x) ต้องน้อยกว่าดีกรีของพหุนาม Q(x) หรือ R(x) = 0
ข้อที่1. จงหาพหุนามS(x) และR(x) ที่สอดคล้องกับขั้นตอนวิธีการหารโดยมีP(x) เป็นตัวตั้ง
และ Q(x) เป็นตัวหาร
1. P(x) = x3
+ x2
+ x + 1 และ Q(x) = x − 1
2. P(x) = 2x3
− 7x + 6 และ Q(x) = x + 2
Created by Teraporn Thongsiri 1
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
3. P(x) = 2x4
− 5x3
+ 3x − 18 และ Q(x) = 2x + 1
4. P(x) = 9x5
+ 4x3
− 6x และ Q(x) = 3x − 2
5. P(x) = x4
+ 1 และ Q(x) = x2
+ x − 1
Created by Teraporn Thongsiri 2
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
6. P(x) = x5
+ 3x3
− 2x2
− 14 และ Q(x) = x2
+ 1
7. P(x) = 4x6
− 2x5
+ 6x4
− 5x3
+ x2
− x − 3 และ Q(x) = 2x2
+ x + 3
8. P(x) = x8
+ 4x7
− 2x2
+ 3 และ Q(x) = x3
+ x − 1
Created by Teraporn Thongsiri 3
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 2. ถ้าP(x) เป็นพหุนามที่หารด้วยx2
+x−4 แล้วได้ผลลัพธ์เป็นx3
−2x+4 และเหลือเศษ
2x + 3 แล้ว P(x) หารด้วย x − 2 จะเหลือเศษเท่าไร
ข้อที่ 3. คูณ 3x2
− 4x + 6 ด้วยเศษที่ได้จากการหาร x4
− 2x2
+ 3x − 1 ด้วย 1 − 2x + x2
ได้ผลลัพท์เท่าไร
ข้อที่ 4. ถ้า x2
− 3x + 2 หาร x3
− 2x2
+ 8x + 4 เหลือเศษ ax + b จงหาต่าของ (a + b)2
Created by Teraporn Thongsiri 4
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 5. (สพฐ 1/2551) ถ้า
4x3
− 7x2
+ Ax − 6
4x − 3
= Bx2
+ Cx + D
เมื่อ A, B, C, D เป็นค่าคงตัว แล้ว B2
+ C2
+ D2
มีค่าเท่าใด
ข้อที่ 6. (สพฐ 2/2558) ให้ a, b, c เป็นจำนวนจริง ถ้า x3
+ ax2
+ bx + c หารด้วย x2
+ 5x − 3
ลงตัว แล้ว a + b + 2c มีค่าเท่าใด
Created by Teraporn Thongsiri 5
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 7. จงแสดงว่า
xn
− 1 = (x − 1)(xn−1
+ xn−2
+ xn−3
+ · · · + x3
+ x2
+ x + 1)
สำหรับทุกจำนวนเต็มบวก n
Created by Teraporn Thongsiri 6
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีบท 2. (ทฤษฎีเศษเหลือ)
กำหนดให้ P(x) เป็นพหุนามใดๆและ a เป็นจำนวนใดๆ
เศษเหลือที่เกิดจากการหาร P(x) ด้วย x − a คือ P(a)
ข้อที่ 8. จงหาเศษเหลือจากการหาร P(x) ด้วย x − a โดยใช้ทฤษฎีเศษเหลือ
1. P(x) = x3
+ x2
+ x + 1 และ Q(x) = x − 1
2. P(x) = x4
− x2
− 8 และ Q(x) = x + 2
3. P(x) = 3x4
− 5x3
+ 4x − 12 และ Q(x) = x + 2
4. P(x) = x5
− x4
+ 2x3
− x และ Q(x) = x − 3
Created by Teraporn Thongsiri 7
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
5. P(x) = 4x4
− 4x2
+ 1 และ Q(x) = 2x − 1
6. P(x) = x4
+ x2
− 14 และ Q(x) = 4x + 1
7. P(x) = 9x6
− x4
− 3x3
+ x2
+ x − 3 และ Q(x) = 3x − 1
8. P(x) = 8x8
+ x5
− 2x2
− 4 และ Q(x) = 2x − 1
Created by Teraporn Thongsiri 8
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 9. (สพฐ 1/2555) เศษจากการหาร x2555
+ 2555 ด้วย x + 1 เป็นเท่าใด
ข้อที่ 10. จงหาค่า k เมื่อ
1. x2
+ kx + 1 หารด้วย x − 2 แล้วเหลือเศษ −3
2. 4kx2
− 4x + 1 หารด้วย x + 1 แล้วเหลือเศษ 4
3. 2x3
− 3x2
+ kx − 1 หารด้วย 2x − 1 ลงตัว
Created by Teraporn Thongsiri 9
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
4. kx3
− 2kx2
+ kx − 4 หารด้วย x + 3 แล้วเหลือเศษ 10
5. x4
− kx + k หารด้วย 2x − 3 แล้วเหลือเศษ 4
6. kx4
+ kx − 2k หารด้วย x + 1 ลงตัว
Created by Teraporn Thongsiri 10
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 11. กำหนดให้พหุนาม x2
+ax−b หารด้วย x+1 แล้วเหลือเศษ −3 และหารด้วย x−1
แล้วเหลือเศษ 2 แล้วค่าของ a + b มีค่าเท่าไร
ข้อที่ 12. พหุนาม ax3
+ 2ax2
− 15x + b หารด้วย x + 3 ลงตัวแต่หารด้วย x − 1 เหลือเศษ
−12 แล้วค่าของ a − b มีค่าเท่าไร
ข้อที่ 13. พหุนาม ax2
+ bx + 2 และ bx2
+ ax + 1 หารด้วย x + 1 เหลือเศษ 3 และ 8
ตามลำดับแล้วค่าของ a2
+ 5b มีค่าเท่าไร
Created by Teraporn Thongsiri 11
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 14. ถ้า x + 2 หาร x3
+ 2x2
+ 3x + a และ x3
+ x2
+ 9 เหลือเศษเท่ากัน ค่าของ a
เป็นเท่าใด
ข้อที่ 15. จงหาค่าของ a และ b เมื่อ x4
− ax3
+ (b − 1)x2
+ ax − 1 หารด้วย x − 1 และ x − 4
ลงตัว
Created by Teraporn Thongsiri 12
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 16. กำหนดให้ P(x) หารด้วย x − 1 แล้วเหลือเศษ −2 และ P(x) หารด้วย x − 2
แล้วเหลือเศษ 3 แล้ว P(x) หารด้วย (x − 1)(x − 2) แล้วเหลือเศษอะไร
ข้อที่17. กำหนดให้P(x) หารด้วยx+2 แล้วเหลือเศษ4 และP(x) หารด้วยx−2 แล้วเหลือเศษ
−2 แล้ว P(x) หารด้วย (x + 2)(x − 2) แล้วเหลือเศษอะไร
Created by Teraporn Thongsiri 13
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 18. กำหนดให้ P(x) หารด้วย 2x − 1 แล้วเหลือเศษ 4 และ P(x) หารด้วย 3x + 1
แล้วเหลือเศษ 3 แล้ว P(x) หารด้วย (2x − 1)(3x + 1) แล้วเหลือเศษอะไร
ข้อที่ 19. จงพิสูจน์ข้อความต่อไปนี้
1. xn
− 1 หารด้วย x − 1 ลงตัว เมื่อ n เป็นจำนวนนับใดๆ
2. xn
− 2n
หารด้วย x − 2 ลงตัว เมื่อ n เป็นจำนวนนับใดๆ
Created by Teraporn Thongsiri 14
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
3. xn
− cn
หารด้วย x − c ลงตัว เมื่อ n เป็นจำนวนนับใดๆ และ c เป็นจำนวนจริง
4. xn
+ cn
หารด้วย x + c ลงตัว เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวกคี่ และ c เป็นจำนวนจริง
5. xnd
− 1 หารด้วย xd
− 1 ลงตัว เมื่อ n และ d เป็นจำนวนนับ
ข้อที่ 20. (สพฐ 2/2550) ให้ P(x) เป็นพหุนามโดยที่ P(x) = x4
+ ax3
+ bx2
+ cx + d ถ้า
P(1) = 6, P(−2) = 3, P(3) = −2 และ P(−4) = −9 แล้ว |P(4) + 4| มีค่าเท่าใด
Created by Teraporn Thongsiri 15
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 21. (สพฐ 1/2554) ถ้า f(x) = ax4
+ bx2
+ 7x + 9 และ f(−7) = 2011 แล้ว f(7)
มีค่าเท่าใด
ข้อที่ 22. (สพฐ 2/2554) กำหนดพหุนาม p(x) = a(x−3)2
+bx+1 และ q(x) = 2x2
+c(x−
2) + 13 ถ้า p(x) = q(x) ทุกค่าชอง x แล้วค่าของ a + b + c มีค่าเท่าใด
ข้อที่ 23. (สพฐ 2/2554) ให้ P(x) เป็นพหุนามที่มีดีกรีเท่ากับ n โดยที่ n ≥ 3 ถ้า P(x)
หารด้วย x − 1, x − 2, x − 3 แล้วเหลือเศษ 1, 2, 3 ตามลำดับ ถ้า P(x) หารด้วย (x − 1)(x −
2)(x − 3) จะเหลือเศษเท่าใด
Created by Teraporn Thongsiri 16
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 24. (สพฐ 2/2554) ถ้าหาร x2010
−x2009
+(x+2)2
ด้วย x2
−1 แล้วจะเหลือเศษเท่าใด
ข้อที่ 25. (สพฐ 2/2556) กำหนดให้ a, b, c เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ ถ้าพหุนาม p(x) =
x3
− ax2
+ bx − c มีตัวประกอบเป็น (x − a)(x − b)(x − c) แล้ว p(2) มีค่าเท่าใด
ข้อที่ 26. (สพฐ 2/2558) Find the number of positive integer n such that
n + 2n2
+ 3n3
+ · · · + 2015n2015
is divisible by n − 1
Created by Teraporn Thongsiri 17
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 27. (TMO 1st
) ให้ P(x) = x6
+ x5
+ x4
+ x3
+ x2
+ x + 1 จงหาเศษเหลือจากการหาร
P(x7
) ด้วย f(x)
ข้อที่ 28. (TMO 2nd
) ให้ P(x) เป็นพหุนามดีกรี 4 ที่มีสัมประสิทธิ์ของ x4
เท่ากับ 1 และ x−k
หาร P(x) เหลือเศษ k เมื่อ k = 1, 2, 3 จงหาค่าของ P(4) + P(0)
Created by Teraporn Thongsiri 18
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
บทนิยาม 1. (ตัวประกอบของพหุนาม)
ให้ P(x) และ Q(x) เป็นพหุนามใดๆ เราจะกล่าวว่า Q(x) เป็น ตัวประกอบของ P(x)
เมือเราสามารถหา พหุนาม S(x) ซึ่งทำให้
P(x) = Q(x)S(x)
ข้อสังเกต
1. degP(x) = degQ(x) + degS(x)
2. ถ้าdegP(x) = n แล้วP(x) สามารถเขียนในรูปของผลคูณของพหุนามดีกรีหนึ่งได้ไม่เกิน
n ตัว
3. ถ้า x − a1, x − a2, x − a3, . . . , x − an เป็นตัวประกอบของ P(x) และ degP(x) = n
แล้ว
P(x) = a(x − a1)(x − a2)(x − a3) . . . (x − an)
เมื่อ a เป็นสัมประสิทธิ์นำของพหุนาม P(x)
ทฤษฎีบท 3. (ทฤษฎีตัวประกอบ)
กำหนดให้ P(x) เป็นพหุนามใดๆและ a เป็นจำนวนใดๆ
P(a) = 0 ก็ต่อเมื่อ x − a เป็นตัวประกอบของ P(x)
ข้อที่ 29. จงพิสูจน์ข้อความต่อไปนี้
1. x − 1 เป็นตัวประกอบของ x7
− x5
+ x3
− 1
2. x + 1 เป็นตัวประกอบของ x6
+ x5
+ x4
+ x3
+ x2
− 1
Created by Teraporn Thongsiri 19
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
3. x + 2 เป็นตัวประกอบของ x6
+ 2x5
+ 4x4
+ 7x3
− 2x2
− 5x − 10
4. 2x − 3 เป็นตัวประกอบของ 2x7
− 3x6
− 8x5
+ 10x4
+ 3x3
+ 2x2
+ x − 6
5. 3x + 1 เป็นตัวประกอบของ 3x4
− 14x3
− 23x2
− 39x − 11
6. x2
− 1 เป็นตัวประกอบของ 2x6
− 5x4
+ 5x3
− 20x2
− 5x + 23
7. x2
− 4 เป็นตัวประกอบของ 3x5
+ 5x4
− 8x3
− 16x − 80
Created by Teraporn Thongsiri 20
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 30. จงหาค่าของ k ที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้เป็นจริง
1. x − 1 เป็นตัวประกอบของ x2
+ kx − 1
2. x + 3 เป็นตัวประกอบของ x2
+ 4x + k
3. x − 3 เป็นตัวประกอบของ x3
− kx − 12
4. x + 3 เป็นตัวประกอบของ 2x3
− kx2
− 8kx + 3
5. 2x − 5 เป็นตัวประกอบของ 4x3
+ kx2
+ 34x − 15
Created by Teraporn Thongsiri 21
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
6. 3x + 1 เป็นตัวประกอบของ 3kx3
+ 6x2
− 2kx + 10
ข้อที่ 31. จงหาจำนวนเต็มบวก n ที่ทำให้พหุนาม x2
− x − 2 เป็นตัวประกอบของ xn
+ (x −
1)n
+ (2x − 1)n
− (3n
+ 2n
+ 1)
Created by Teraporn Thongsiri 22
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 32. (สพฐ 1/2552) ถ้า
p(x) = (x + 1)3
− 2(x + 1)2
− 3(x + 1) − 5
และ
q(x) = a(x + 1)3
+ b(x + 1)2
+ c(x + 1) + d
โดยที่ p(2) = q(2), p(4) = q(4), p(7) = q(7), p(−3) = q(−3) แล้ว a2
+b2
+c2
+d2
มีค่าเท่าใด
ข้อที่ 33. (สพฐ 1/2557) ถ้า p(x) เป็นพหุนามดีกรีสามที่ p(−3) = p(−1) = p(2) = 0 และ
p(0) = 6 แล้ว p(1) มีค่าเท่าใด
Created by Teraporn Thongsiri 23
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 34. (สพฐ 2/2557) ให้ f(x) และ g(x) เป็นพหุนามดีกรีสองที่ต่างกัน มีสัมประสิทธิ์ของ
พจน์ที่มีดีกรีสูงสุดเป็น 1 เท่ากัและสอดคล้องกับสมการ
f(1) + f(3) + f(5) = g(1) + g(3) + g(5)
ถ้า f(a) = g(a) จงหาค่าของ a ที่เป็นไปได้ทั้งหมด
ข้อที่ 35. จงหาจำนวนเต็ม a, b, c ซึ่งทำให้ (x − a)(x − 10) + 1 = (x + b)(x + c)
Created by Teraporn Thongsiri 24
เอกสารสำหรับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีเศษเหลือ
ข้อที่ 36. (สพฐ 2/2551) กำหนดให้ P(x) = x6
+ ax5
+ bx4
+ cx3
+ dx2
+ ex + f เมื่อ
a, b, c, d, e, f เป็นค่าคงตัว ถ้า P(1) = 15, P(2) = 22, P(3) = 29, P(4) = 36, P(5) =
43, P(6) = 50 แล้ว P(7) มีค่าเท่าไร
Created by Teraporn Thongsiri 25

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1Manas Panjai
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล NOranee Seelopa
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลาSutthi Kunwatananon
 

What's hot (20)

ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
 

Similar to ทฤษฎีเศษเหลือ

2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสkrurutsamee
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Suwicha Tapiaseub
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Suwaraporn Chaiyajina
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Theyok Tanya
 
Pat1 53
Pat1  53Pat1  53
Pat1 53DearPR
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒMajolica-g
 

Similar to ทฤษฎีเศษเหลือ (20)

2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
Real
RealReal
Real
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัส
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 53
Pat1  53Pat1  53
Pat1 53
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
 
Pat1 53
Pat1 53Pat1 53
Pat1 53
 
ลิมิต
ลิมิตลิมิต
ลิมิต
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 

ทฤษฎีเศษเหลือ