SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
1.4 สถิติศาสตร์เชิงพรรณนาและสถิติศาสตร์เชิงอนุมาน
สถิติศาสตร์เชิงพรรณนา (Descriptive statistic)
เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่สรุปสาระสาคัญของข้อมูลชุดหนึ่ง ซึ่งเป็น
ข้อมูลเชิงคุณภาพหรือข้อมูลเชิงปริมาณ เพื่ออธิบายลักษณะหรือสภาพ
ของข้อมูลชุดนั้นว่าเป็นอย่างไรโดยทั่วไปข้อมูลเชิงคุณภาพจะใช้การนาเสนอ
ด้วยตารางความถี่ แผนภูมิแท่ง ฐานนิยม และอื่น ๆ ส่วนข้อมูลเชิง
ปริมาณจะใช้การนาเสนอด้วยฮิสโทแกรม แผนภาพกล่องค่าต่าสุด ค่าสูงสุด
ค่าเฉลี่ย และอื่น ๆ
การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งได้เป็นสถิติศาสตร์เชิงพรรณนาและ
สถิติศาสตร์เชิงอนุมาน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ตัวอย่างของการใช้สถิติศาสตร์เชิงพรรณนา
1. คะแนนต่าสุดในการสอบกลางภาควิชาคณิตศาสตร์ คือ 7 คะแนน
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้งหมดของโรงเรียนแห่งนี้
โดยทั่วไปที่เก็บรวบรวมมาได้อาจมีจานวนมากหรือเก็บรวบรวมไม่เป็น
ระบบจึงไม่สามารถนามาอธิบายลักษณะที่สาคัญของข้อมูลได้ชัดเจน
จึงต้องใช้วิธีการของสถิติศาสตร์เชิงพรรณนาในการสรุปผลจาก
ข้อมูลด้วยการนาเสนอข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้สามารถอ่านและ
แปลความหมายของข้อมูลได้ง่ายขึ้น
เช่น คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้องหนึ่ง
จานวน 50 คน เก็บรวบรวมมาได้ดังนี้
81 79 74 50 47 53 66
62 98 70 77 73 86 73
52 69 85 64 54 78 81
80 74 95 70 72 93 62
58 91 50 69 45 85 82
78 68 78 67 49 49 55
67 67 89 58 53 55 90
59
จากข้อมูลข้างต้น อาจใช้วิธีของสถิติศาสตร์เชิงพรรณนาในการนาเสนอ
ข้อมูลด้วยตาราง โดยแบ่งตามช่วงคะแนนที่ได้
จะเห็นว่าการนาเสนอข้อมูลด้วยตารางจะทาให้อ่านและแปลความหมาย
ของข้อมูลได้ง่ายกว่าการพิจารณาจากข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ทั้งหมดโดย
ที่ยังไม่ได้จัดกลุ่มข้อมูลในรูปของตาราง
คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (คน)
45 – 50 6
51 - 60 9
61 - 70 12
71 - 80 11
81 - 90 8
91 – 100 4
รวม 50
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยทั่วไปอาจมีข้อจากัดทางด้านเวลาและทรัพยากร
ที่มี ทาให้ไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลที่สนใจจากทุกหน่วยงานในขอบข่าย
ที่ศึกษาได้ทั้งหมด ข้อมูลที่นามาใช้จึงเป็นเพียงส่วนหนึ่งของประชากร
เท่านั้น เช่น ปริมาณน้าตาลในชานมไข่มุก 1 แก้ว จากแต่ละร้านใน
กรุงเทพมหานคร หากต้องการเก็บรวบรวมข้อมูลปริมาณน้าตาลใน
ชานมไข่มุก 1 แก้ว จากทุกร้านในกรุงเทพมหานคร อาจต้องใช้เวลา
กาลังคน และงบประมาณจานวนมาก ดังนั้น อาจจะเก็บรวบรวมข้อมูล
ปริมาณน้าตาลในชานมไข่มุก 1 แก้ว จากบางร้านในกรุงเทพมหานคร
แล้วใช้สถิติศาสตร์เชิงอนุมานในการหาข้อสรุปเกี่ยวกับปริมาณน้าตาลใน
ชานมไข่มุก 1 แก้ว จากทุกร้านในกรุงเทพมหานคร
1.4 สถิติศาสตร์เชิงพรรณนาและสถิติศาสตร์เชิงอนุมาน (ต่อ)
การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งได้เป็นสถิติศาสตร์เชิงพรรณนาและ
สถิติศาสตร์เชิงอนุมาน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ตัวอย่างของการใช้สถิติศาสตร์เชิงอนุมาน
ในการสารวจพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวของคนไทยที่มี
อายุ 15 ปีขึ้นไป ใน พ.ศ. 2559 ซึ่งจัดทาโดยสานักงานสถิติ
แห่งชาติร่วมกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้มี
การเก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ พ.ศ.
2560 จากคนไทยที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปทั่วประเทศ ที่เลือกเป็น
ตัวอย่างจานวน 63,060 คน และได้ข้อสรุปดังแสดงในรูปที่ 2
ซึ่งอาจสรุปได้ว่าวัตถุประสงค์หลักอันดับที่ 1 ในการเดินทาง
ท่องเที่ยวของคนไทยทั้งประเทศที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ใน พ.ศ.
2559 คือการเยี่ยมครอบครัว / ญาติ / เพื่อน ซึ่งคิดเป็น 33.1%
จากที่กล่าวมา จะเห็นว่าสถิติศาสตร์ครอบคลุมเรื่องของข้อมูล
และการจัดการกับข้อมูลเพื่อให้ได้ผลสรุปที่สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้ โดยมีองค์ประกอบที่สาคัญ เช่น การเก็บรวบรวม
ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผลจากข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

More Related Content

What's hot

เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6Mu PPu
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 

What's hot (20)

เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 

Similar to 1.4 สถิติเชิงอนุมาน

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณtanongsak
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfssuser3892ca
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432CUPress
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นothanatoso
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นParn Parai
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1Nut Yuthapong
 
สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์Pla FC
 
บทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติบทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติTeetut Tresirichod
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ยฟ้าหลังฝน สดใสเสมอ
 

Similar to 1.4 สถิติเชิงอนุมาน (20)

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
Stat
StatStat
Stat
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdf
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
Role math stat_cs
Role math stat_csRole math stat_cs
Role math stat_cs
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
 
สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์
 
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง276 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
 
บทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติบทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติ
 
sta
stasta
sta
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผลStat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
test
testtest
test
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
 

More from Somporn Amornwech

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงานSomporn Amornwech
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพSomporn Amornwech
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูลSomporn Amornwech
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสามSomporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม Somporn Amornwech
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 

More from Somporn Amornwech (20)

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล
 
1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

1.4 สถิติเชิงอนุมาน