SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
พิจารณาการหารพหุนาม x2 + 3x – 4 ด้วยพหุนาม x – 2 ดังนี้
จากการหารข้างต้น จะเห็นว่าเมื่อหารพหุนาม x2 + 3x – 4 ด้วยพหุนาม x – 2 จะได้เศษเป็น 6
ให้ P(x) แทนพหุนาม x2 + 3x – 4
นั่นคือ P(x) = x2 + 3x – 4
เมื่อแทน x ด้วย 2 ใน P(x) = x2 + 3x – 4 จะได้
P(2) = 22 + 3(2) – 4
= 4 + 6 – 4
= 6
P(2) เป็นค่าที่ได้จากการแทน x ด้วย 2 ในพหุนาม P(x)
จากที่แสดงข้างต้น จะเห็นว่า P(2) เท่ากับเศษที่ได้จากการหารพหุนาม P(x) ด้วยพหุนาม x – 2
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ในกรณีทั่วไป เมื่อหารพหุนาม P(x) ใด ๆ ด้วยพหุนาม x – a ที่ a เป็นค่าคงตัวจะได้เศษซึ่ง
ต่อไปนี้จะเรียกว่า เศษเหลือ ดังทฤษฎีบทต่อไปนี้
ทฤษฎีบท (ทฤษฎีบทเศษเหลือ)
ถ้า หารพหุนาม P(x) ด้วยพหุนาม x – a ที่ a เป็นค่าคงตัวแล้วจะได้เศษเหลือเป็น P(a)
ตัวอย่างที่ 1 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร 2x2 – 5x + 6 ด้วย x – 3
วิธีทา ให้ P(x) = 2x2 – 5x + 6
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ จะได้ P(3) เป็นเศษเหลือที่ได้จากการหาร P(x) ด้วย x – 3
P(3) = 2(3)2 – 5(3) + 6
= 18 – 15 + 6
= 9
ดังนั้น เศษเหลือเท่ากับ 9
ตอบ 9
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ตัวอย่างที่ 2 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร 8x2 – 4x + 11 ด้วย x + 5
วิธีทา ให้ P(x) = 8x2 – 4x + 11
เนื่องจาก x + 5 = x – (–5)
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ จะได้ P(–5) เป็นเศษเหลือที่ได้จากการหาร P(x) ด้วย x – (–5)
P(–5) = 8(–5)2 – 4(–5) + 11
= 200 + 20 + 11
= 231
ดังนั้น เศษเหลือเท่ากับ 231
ตอบ 231
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ตัวอย่างที่ 3 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร –5x3 + x – 7 ด้วย x – 4
วิธีทา ให้ P(x) = –5x3 + x – 7
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ จะได้ P(4) เป็นเศษเหลือที่ได้จากการหาร P(x) ด้วย x – 4
P(4) = –5(4)2 + 4 – 7
= –320 + 4 – 7
= –323
ดังนั้น เศษเหลือเท่ากับ –323
ตอบ –323
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ตัวอย่างที่ 4 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร 3x5 – x4 – 5x3 + 2x2 – 9x + 7 ด้วย x + 2
วิธีทา ให้ P(x) = 8x2 – 4x + 11
เนื่องจาก x + 2 = x – (–2)
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ จะได้ P(–2) เป็นเศษเหลือที่ได้จากการหาร P(x) ด้วย x – (–2)
P(–2) = 3(–2)5 – (–2)4 – 5(–2)3 + 2(–2)2 – 9(–2) + 7
= –96 – 16 + 40 + 8 + 18 + 7
= –39
ดังนั้น เศษเหลือเท่ากับ –39
ตอบ –39
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ตัวอย่างที่ 5 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร x3 + 4x2 – 11x – 30 ด้วย x – 3
วิธีทา ให้ P(x) = x3 + 4x2 – 11x – 30
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ จะได้ P(3) เป็นเศษเหลือที่ได้จากการหาร P(x) ด้วย x – 3
P(3) = (3)3 + 4(3)2 – 11(3) – 30
= 27 + 36 – 33 – 30
= 0
ดังนั้น เศษเหลือเท่ากับ 0
ตอบ 0
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
จากตัวอย่างที่ 5 จะเห็นว่าเมื่อหาร x3 + 4x2 – 11x – 30 ด้วย x – 3 จะได้เศษเหลือเป็น 0
แสดงว่า x – 3 หาร x3 + 4x2 – 11x – 30 ได้ลงตัว ดังนั้น จะได้ว่า x – 3 เป็นตัวประกอบของ
x3 + 4x2 – 11x – 30
นา x – 3 ไปหาร x3 + 4x2 – 11x – 30 โดยการตั้งหารจะได้ดังนี้
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
จะเห็นว่าเมื่อนา x – 3 ไปหาร x3 + 4x2 – 11x – 30 จะได้ผลหารเป็น x2 + 7x + 10 และ
เศษเหลือเป็น 0
จากความสัมพันธ์ของตัวตั้ง ตัวหาร ผลหาร และเศษเหลือ ซึ่งเป็นดังนี้
ตัวตั้ง = (ตัวหาร  ผลหาร) + เศษเหลือ
จะได้ว่า x3 + 4x2 – 11x – 30 = (x – 3)( x2 + 7x + 10) + 0
หรือ x3 + 4x2 – 11x – 30 = (x – 3)( x2 + 7x + 10)
แต่สามารถแยกตัวประกอบของ x2 + 7x + 10 ได้เป็น
x2 + 7x + 10 = (x + 2)(x + 5)
ดังนั้น x3 + 4x2 – 11x – 30 = (x – 3)(x + 2)(x + 5)
นั่นคือ แยกตัวประกอบของ x3 + 4x2 – 11x – 30 ได้ดังนี้
x3 + 4x2 – 11x – 30 = (x – 3)(x + 2)(x + 5)
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
จะเห็นว่า การแยกตัวประกอบของ P(x) = x3 + 4x2 – 11x – 30 ข้างต้นนี้ใช้ ทฤษฎีบทเศษ
เหลือในการแยกตัวประกอบก่อน โดยพิจารณาจาก P(3) = 0 ทาให้ได้ว่า x – 3 เป็นตัวประกอบ
หนึ่งของ P(x) จากนั้นจึงหาตัวประกอบอื่นต่อไป
กล่าวได้ว่า ในการแยกตัวประกอบของพหุนาม P(x) โดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ ต้องหา
จานวน 2 ที่ทาให้ P(a) = 0 ก่อน
ให้สังเกตว่าพหุนาม x3 + 4x2 – 11x – 30 นี้มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มและ สัมประสิทธิ์
ของตัวแปรที่มีกาลังสูงสุดเป็น 1 และเมื่อพิจารณาตัวประกอบของ x3 + 4x2 – 11x – 30 คือ
x – 3, x + 2 และ x + 5 จะเห็นว่าจานวนเต็ม 3, –2 และ –5 หารจานวนเต็ม –30 ได้ลงตัว
ซึ่ง –30 คือพจน์ที่เป็นค่าคงตัวของพหุนาม x3 + 4x2 – 11x – 30 นอกจากนี้เมื่อหา P(–2) และ
P(–5) จะได้ P(–2) = 0 และ P(–5) = 0 ด้วยเช่นกัน
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ในกรณีทั่วไป เมื่อ P(x) เป็นพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มและสัมประสิทธิ์ ของตัวแปรที่มี
กาลังสูงสุดเป็น 1 และ a เป็นจานวนเต็มที่ทาให้ P(a) = 0 จะได้ว่า a หารพจน์ ที่เป็นค่าคงตัวของพหุนาม
P(x) ได้ลงตัว ดังนั้นการหาจานวนเต็ม a ที่ทาให้ P(a) = 0 จะพิจารณาจากจานวนเต็มที่หารพจน์ที่เป็นค่าคง
ตัวของพหุนาม P(x) ได้ลงตัว
จากที่กล่าวมานี้ จะเห็นว่าอาจแยกตัวประกอบของ P(x) ซึ่งเป็นพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์ เป็นจานวนเต็มและ
สัมประสิทธิ์ของตัวแปรที่มีกาลังสูงสุดเป็น 1 ได้โดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ ซึ่งสรุปเป็นขั้นตอนได้ดังนี้
1. หาจานวนเต็มทั้งหมดที่หารพจน์ที่เป็นค่าคงตัวของพหุนาม P(x) ได้ลงตัว
2. จากจานวนเต็มที่หาได้ในข้อ 1 เลือกจานวนเต็ม a ที่ทาให้ P(a) = 0 จะได้ว่า x – a
เป็นตัวประกอบของ P(x)
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
3. นา x – a ที่ได้ในข้อ 2 ไปหารพหุนาม P(x) ได้ผลหารเป็นพหุนามใหม่ที่ไม่ซ้ากับพหุนาม P(x) จะให้
ผลหารนี้เป็นพหุนาม Q(x) ซึ่งดีกรีของพหุนาม Q(x) จะน้อยกว่าดีกรีของพหุนาม P(x) อยู่ 1 และ
P(x) = (x – a)Q(x)
4. ถ้าพหุนาม Q(x) ที่ได้ในข้อ 3 เป็นพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสองและสามารถแยกตัวประกอบต่อไปได้อีกก็
แยกตัวประกอบของพหุนาม Q(x) โดยใช้วิธีตามขั้นตอน ในข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 แต่ถ้าพหุนาม
Q(x) ที่ได้ในข้อ 3 เป็นพหุนามดีกรีสอง และสามารถแยกตัวประกอบต่อไปได้อีก ก็ให้แยกตัว
ประกอบของพหุนาม O(x) โดยใช้วิธีแยกตัวประกอบที่เคยเรียนมาแล้วหรือจะใช้วิธีตามขั้นตอนใน
ข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ก็ได้
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ตัวอย่างที่ 6 จงแยกตัวประกอบของ x3 – x3 – 8x + 12
วิธีทา ให้ P(x) = x3 – x3 – 8x + 12
พจน์ที่เป็นค่าคงตัวของ P(x) คือ 12
จานวนเต็มที่หาร 12 ได้ลงตัว คือ 1, –1, 2, –2, 3, –3, 4, –4, 6,
–6, 12 และ –12
พิจารณา P(1)
P(1) = 13 – 12 – 8(1) + 12
= 4
จะเห็นว่า P(1)  0
พิจารณา P(–1)
P(–1) = (–1)3 – (–1)2 – 8(–1) + 12
= –1 – 1 + 8 + 12
= 18
จะเห็นว่า P(-1)  0
พิจารณา P(2)
P(2) = 23 – 22 – 8(2) + 12
= 8 – 4 – 16 +12
= 0
ดังนั้น x – 2 เป็นตัวประกอบของ x3 – x3 – 8x + 12
นา x – 2 ไปหาร x3 – x3 – 8x + 12 ได้ผลหารเป็น x2 + x – 6
จะได้ P(x) = (x – 2)(x2 + x – 6)
= (x – 2)(x + 3)(x – 2)
ดังนั้น x3 – x2 – 8x + 12 = (x – 2)(x + 3)(x – 2)
หรือ x3 – x2 – 8x + 12 = (x – 2)2(x +
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ตัวอย่างที่ 7 จงแยกตัวประกอบของ x3 + 3x2 – 2
วิธีทา ให้ P(x) = x3 + 3x2 – 2
พจน์ที่เป็นค่าคงตัวของ P(x) คือ –2 จานวนเต็มที่หาร –2 ได้ลงตัว คือ
1, –1, 2 และ –2
พิจารณา P(1) จะได้ P(1)  0
พิจารณา P(–1)
P(–1) = (–1)3 + 3(–1)2 – 2
= –1 + 3 – 2
= 0
ดังนั้น x – (–1) หรือ x + 1 เป็นตัวประกอบของ x3 + 3x2 – 2
นา x+1 ไปหาร x3 + 3x2 – 2 ได้ผลหารเป็น x2 + 2x – 2
จะได้ P(x) = (x + 1)(x2 + 2x – 2)
ดังนั้น x3 + 3x2 – 2= (x + 1)(x + 2x – 2)
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ตัวอย่างที่ 8 จงแยกตัวประกอบของ x4 – 15x2 – 10x + 24
วิธีทา ให้ P(x) = x4 – 15x2 – 10x + 24
พจน์ที่เป็นค่าคงตัวของ P(x) คือ 24
จานวนเต็มที่หาร 24 ได้ลงตัว คือ 1, –1, 2, –2, 3, –3, 4, –4, 6,
–6, 8, –8, 12, –12, 24
และ –24
พิจารณา P(1)
P(1) = 14 – 15(1)2 – 10(1) + 24
= 1 – 15 – 10 +24
= 0
ดังนั้น x – 1 เป็นตัวประกอบของ x4 – 15x2 – 10x + 24
นา x – 1 ไปหาร x4 – 15x2 – 10x + 24 ได้ผลหารเป็น x3 +
x2 – 14x – 24
จะได้ P(x) = (x – 1)( x3 + x2 – 14x – 24)
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ให้ Q(x) = x3 + x2 – 14x – 24
พจน์ที่เป็นค่าคงตัวของ Q(x) คือ –24
จานวนเต็มที่หาร –24 ได้ลงตัว คือ 1, –1, 2, –2, 3, –3, 4, –4, 6,
–6, 8, –8, 12, –12, 24
และ –24
พิจารณา Q(1), Q(–1) และ Q(2)
จะได้ Q(1)  0, Q(–1) 0 และ Q(2)  ()
พิจารณา (–2)
Q(–2) = (–2) + (–2) – 14(–2) – 24
= –8 + 4 + 28 – 24
= 0
ดังนั้น x + 2 เป็นตัวประกอบของ x3 + x2 – 14x – 24
นา x + 2 ไปหาร x3 + x2 – 14x – 24 ได้ผลหารเป็น x2 – x – 12
จะได้ Q(x) = (x + 2)(x2 – x – 12)
ดังนั้น P(x) = (x – 1)(x + 2)( x2 – x – 12)
= (x – 1)(x + 2)(x – 4)(x + 3)
นั่นคือ x4 – 15x2 – 10x + 24 = (x – 1)(x + 2)(x – 4)(x + 3)
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ตัวอย่างที่ 9 จงแยกตัวประกอบของ x4 + 3x3 – 27x – 81
วิธีทา
วิธีที่ 1 ใช้การเข้าวงเล็บดังนี้
x4 + 3x3 – 27x – 81 = (x4 + 3x3) – (27x + 81)
= x3(x + 3) – 27(x + 3)
= (x + 3)(x3 – 27)
= (x + 3)(x3 – 33)
= (x + 3)(x – 3)(x2 + 3x + 9)
ดังนั้น x4 + 3x3 – 27x – 81 = (x + 3)(x – 3)(x2 + 3x + 9)
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
วิธีที่ 2 ใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือดังนี้
ให้ P(x) = x4 + 3x3 – 27x – 81
พจน์ที่เป็นค่าคงตัวของ P(x) คือ – 81
จานวนเต็มที่หาร –81 ได้ลงตัว คือ 1, –1, 3, –3, 9, –9, 27, –27, 81
และ –81
พิจารณา P(1) และ P(–1) จะได้ P(1)  0 และ P(–1)  0
พิจารณา P(3)
P(3) = 34 + 3(3)3 – 27(3) – 81
= 81 + 81 – 81 – 81
= 0
ดังนั้น x – 3 เป็นตัวประกอบของ x4 + 3x3 – 27x – 81
นา x – 3 ไปหาร x4 + 3x3 – 27x – 81 ได้ผลหารเป็น x3 + 6x2 + 18x + 27
จะได้ P(x) = (x – 3)( x3 + 6x2 + 18x + 27)
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ให้ Q(x) = x3 + 6x2 + 18x + 27
พจน์ที่เป็นค่าคงตัวของ Q(x) คือ 27
จานวนเต็มที่หาร 27 ได้ลงตัว คือ 1, –1, 3, –3, 9, –9, 27 และ –27
พิจารณา Q(1), Q(–1) และ Q(3) จะได้ Q(1)  0, Q(–1) 0 และ Q(3)  0
พิจารณา Q(–3)
Q(–3) = (–3)3 +6(–3)2 + 18(–3) + 27
= –27 + 54 – 54 + 27
= 0
ดังนั้น x – 3 เป็นตัวประกอบของ x3 + 6x2 + 18x + 27
นา x + 3 ไปหาร x3 + 6x2 + 18x + 27 ได้ผลหารเป็น x2 + 3x + 9
จะได้ Q(x) = (x + 3)( x2 + 3x + 9)
ดังนั้น P(x) = (x – 3)(x + 3)( x2 + 3x + 9)
นั่นคือ x4 + 3x3 – 27x – 81 = (x – 3)(x +3)( x2 + 3x + 9
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ให้ Q(x) = x3 + 6x2 + 18x + 27
พจน์ที่เป็นค่าคงตัวของ Q(x) คือ 27
จานวนเต็มที่หาร 27 ได้ลงตัว คือ 1, –1, 3, –3, 9, –9, 27 และ –27
พิจารณา Q(1), Q(–1) และ Q(3) จะได้ Q(1)  0, Q(–1) 0 และ Q(3)  0
พิจารณา Q(–3)
Q(–3) = (–3)3 +6(–3)2 + 18(–3) + 27
= –27 + 54 – 54 + 27
= 0
ดังนั้น x – 3 เป็นตัวประกอบของ x3 + 6x2 + 18x + 27
นา x + 3 ไปหาร x3 + 6x2 + 18x + 27 ได้ผลหารเป็น x2 + 3x + 9
จะได้ Q(x) = (x + 3)( x2 + 3x + 9)
ดังนั้น P(x) = (x – 3)(x + 3)( x2 + 3x + 9)
นั่นคือ x4 + 3x3 – 27x – 81 = (x – 3)(x +3)( x2 + 3x + 9
ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด 2.2 ก
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การหารสังเคราะห์
การหารสังเคราะห์ เป็นเรื่องที่ว่าด้วยการหารพหุนาม ที่มีดีกรีมากกว่าหรือเท่ากับ 1 ด้วยพหุนามที่อยู่ในรูป
x – a เมื่อ a  0
วิธีการหาคาตอบ เราอาจใช้การหารยาว ซึ่งจะเสียเวลาและใช้เนื้อที่ในการเขียนมาก ดังนั้นการหารสังเคราะห์
เป็นวิธีลัดในการหาผลหาร และเศษจากการหาร
เราจะใช้วิธีการหารโดยการไม่เขียนตัวแปร และจัดรูปแบบการหารใหม่ ดังนี้
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ซึ่งพอจะสรุปวิธีการหารสังเคราะห์คร่าวๆ ได้ดังนี้สมมติให้ P(x) แทนพหุนามที่มีดีกรีมากกว่าหรือเท่ากับ
1
ถ้าต้องการหาร P(x) ด้วย x – a เมื่อ a ≠ 0 ด้วยวิธีการหารสังเคราะห์ จะมีวิธีการดังต่อไปนี้
1. เขียนสัมประสิทธิ์ของพจน์ต่าง ๆ ของ P(x) โดยเขียนเรียงลาดับกาลังของ x จากมากไปหาน้อย และ
พจน์ใดไม่มีถือว่าสัมประสิทธิ์ของพจน์นั้นเท่ากับ 0
2. เขียน a เป็นตัวหาร
3. จานวนแรกในแถวที่ 1 ให้ดึงลงมาในแถวที่ 3
4. นา a คูณกับจานวนแรกของแถวที่ 3 นาผลคูณที่ได้มาใส่ในตาแหน่งที่สองของแถวที่ 2
5. บวกจานวนในแถวที่ 1 และแถวที่ 2 ในตาแหน่งที่สอง นาผลบวกใส่ในตาแหน่งเดียวกันกับแถวที่ 3
6. นา a มาคูณกับจานวนในตาแหน่งที่สองของแถวที่ 3 นาผลคูณใส่ในตาแหน่งที่สามของแถวที่ 2
7. บวกจานวนในแถวที่ 1 และแถวที่ 2 ในตาแหน่งที่สาม นาผลบวกใส่ในตาแหน่งเดียวกันกับแถวที่ 3
ทาเช่นนี้เรื่อย ๆ ไป จนหมดทุกตาแหน่ง แล้วจะได้ว่า
จานวนแต่ละจานวนที่ได้ในแถวที่ 3 (ยกเว้นจานวนสุดท้าย) เป็นสัมประสิทธิ์ของของผลหาร ซึ่งจะเป็น
พหุนามที่มีดีกรีน้อยกว่าดีกรีของ P(x) อยู่ 1 จานวนสุดท้ายของแถวที่ 3 เป็นเศษของการหาร
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ x5 – 4x4 – 12x3 + 34x2 + 11x – 30 โดยวิธีการหารสังเคราะห์
สรุปว่า
ถ้าต้องการหาเศษจากการหารพหุนาม P(x) ด้วย x – a ให้ใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ หา P(a) ได้เท่าไรนั่น
คือเศษเหลือ
แต่หากต้องการแยกตัวประกอบของพหุนาม P(x) เพื่อนาไปใช้แก้สมการ ให้ใช้การหารสังเคราะห์จะ
สะดวกว่าเพราะนอกจากจะได้ x – a แล้ว ยังได้ผลหาร Q(x) ที่ทาให้ P(x) = (x – a)Q(x)ด้วย ซึ่งจะทาให้เรา
สามารถแยกตัวประกอบต่อ(กรณีดีกรีเท่ากับ 2)หรือหารสังเคราะห์อีกครั้ง (กรณีดีกรีสูงกว่า2)ได้เลย
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด 2.2 ข

More Related Content

What's hot

การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวรรณิภา ไกรสุข
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 

What's hot (20)

การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 

Similar to 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือTeraporn Thongsiri
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่Chon Chom
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นkruthanapornkodnara
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันkrurutsamee
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสkrurutsamee
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการkrulerdboon
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
บทที่ 2 อนุกรม
บทที่ 2 อนุกรมบทที่ 2 อนุกรม
บทที่ 2 อนุกรมpimxo19
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4ทับทิม เจริญตา
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 

Similar to 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ (20)

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
Real
RealReal
Real
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
Add m3-1-chapter2
Add m3-1-chapter2Add m3-1-chapter2
Add m3-1-chapter2
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัส
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
 
ลิมิต
ลิมิตลิมิต
ลิมิต
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
บทที่ 2 อนุกรม
บทที่ 2 อนุกรมบทที่ 2 อนุกรม
บทที่ 2 อนุกรม
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 

More from Somporn Amornwech

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงานSomporn Amornwech
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพSomporn Amornwech
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูลSomporn Amornwech
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสามSomporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม Somporn Amornwech
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 

More from Somporn Amornwech (20)

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล
 
1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ