SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
ตัวอย่างเช่น ถ้ากาหนดให้ประชากรคือผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน
พ.ศ.2562 อาจกาหนดตัวอย่างได้ดังนี้
1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ.2562 ที่สุ่มตัวอย่างมาจานวน 10000 คน
2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานในภาคกลางของประเทศไทยใน พ.ศ.2562
จากความหมายของประชากรและตัวอย่าง สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
ประชากรและตัวอย่างได้ดังรูป
ตัวอย่างที่ 1
จากการเลือกตัวอย่างนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนแห่งหนึ่งจานวน 50 คน
เพื่อพิจารณาดัชนีมวลกาย (Body mass index:BMI) ซึ่งใช้เป็นมาตรฐานในการประเมินสภาวะของ
ร่างกายว่าอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมหรือไม่โดยได้สารวจข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องปรากฏผลดังตาราง
ลาดับที่ เลขประจาตัว
นักเรียน เพศ
อายุ
(ปี)
น้าหนัก
(กิโลกรัม)
ส่วนสูง
(เซนติเมตร)
1 45146 หญิง 17 70 170
2 48607 ชาย 16 45 155
3 50143 หญิง 18 50 168
     
50 46804 หญิง 16 55 159
พารามิเตอร์ (Parameter) หมายถึง ค่าวัดที่แสดงลักษณะของ
ประชากร ซึ่งเป็นค่าคงตัวที่คานวณหรือประมวลจากข้อมูลทั้งหมดของประชากร
ตัวอย่างเช่น ถ้ากาหนดให้ประชากรคือผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน
พ.ศ. 2562 พารามิเตอร์อาจเป็นได้ดังนี้
1. อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ. 2562
2. ฐานนิยมของอาชีพของผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ. 2562
ค่าสถิติ (Statistic) เป็นค่าคงตัวที่พิจารณาจากข้อมูลของตัวอย่าง โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่ออธิบายลักษณะของตัวอย่างนั้นหรือเพื่อประมาณค่าของพารามิเตอร์แล้ว
นาไปใช้ในการอธิบายลักษณะของประชากร
ตัวอย่างเช่น ถ้ากาหนดให้ประชากรหรือผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ. 2562
และเลือกตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ. 2562 ที่สุ่มตัวอย่างมา
จานวน 10,000 คน ค่าสถิติอาจเป็นได้ดังนี้
1. อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ.2562 ที่สุ่มตัวอย่างมาจานวน
10,000 คน
2. ฐานนิยมของอาชีพของผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ. 2562 ที่สุ่มตัวอย่างมา
จานวน 10,000 คน
ตัวอย่างที่ 2
จากการสารวจเกี่ยวกับอาชีพในฝันของนักเรียนในยุคดิจิทัลของ
จังหวัดหนึ่ง โดยสารวจจากนักเรียนที่มีอายุ 15-18 ปี ที่เลือกมาจาก
ทุกโรงเรียนในจังหวัด รวมทั้งสิ้น 300 คน พบว่า อาชีพในฝันของ
นักเรียนในยุคดิจิทัล 5 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 อาชีพธุรกิจ
ส่วนตัว ร้อยละ 35 อันดับที่ 2 อาชีพครู ร้อยละ 22 อันดับที่ 3
อาชีพรับราชการ ร้อยละ 17 อันดับที่ 4 อาชีพแพทย์ ร้อยละ 12
และอันดับที่ 5 อาชีพวิศวกรร้อยละ 7 จงระบุว่าประชากร ตัวอย่าง
ตัวแปร ข้อมูล และค่าสถิติของการสารวจนี้คืออะไร
ตัวอย่างที่ 2
จากการสารวจสภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2560
สานักงานสถิติแห่งชาติได้เก็บรวบรวมข้อมูลในช่วง 6 เดือนแรก
ของ พ.ศ. 2560 จากครัวเรือนตัวอย่างในทุกจังหวัดทั่วประเทศทั้ง
ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลประมาณ 26,000 ครัวเรือน
เพื่อศึกษารายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนทั่วประเทศ โดยจาก
ข้อมูลตัวอย่างได้ข้อสรุปว่าค่าประมาณของรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของ
ครัวเรือนทั่วประเทศ คือ 26,973 บาท จงระบุว่าประชากร
ตัวอย่าง พารามิเตอร์ ตัวแปล ข้อมูล และค่าสถิติของการสารวจนี้
คืออะไร
1.2 คำสำคัญ

More Related Content

What's hot

เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลpeesartwit
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยsawed kodnara
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงvittaya411
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรamnesiacbend
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 

What's hot (20)

เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูล
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครง
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)
บทที่ 2 ของไหลสถิต+คลิป (Fluid Mechanics)
 

More from Somporn Amornwech

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงานSomporn Amornwech
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูลSomporn Amornwech
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสามSomporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม Somporn Amornwech
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 

More from Somporn Amornwech (20)

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

1.2 คำสำคัญ

  • 1.
  • 2. ตัวอย่างเช่น ถ้ากาหนดให้ประชากรคือผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ.2562 อาจกาหนดตัวอย่างได้ดังนี้ 1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ.2562 ที่สุ่มตัวอย่างมาจานวน 10000 คน 2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานในภาคกลางของประเทศไทยใน พ.ศ.2562 จากความหมายของประชากรและตัวอย่าง สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ประชากรและตัวอย่างได้ดังรูป
  • 3.
  • 4. ตัวอย่างที่ 1 จากการเลือกตัวอย่างนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนแห่งหนึ่งจานวน 50 คน เพื่อพิจารณาดัชนีมวลกาย (Body mass index:BMI) ซึ่งใช้เป็นมาตรฐานในการประเมินสภาวะของ ร่างกายว่าอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมหรือไม่โดยได้สารวจข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องปรากฏผลดังตาราง ลาดับที่ เลขประจาตัว นักเรียน เพศ อายุ (ปี) น้าหนัก (กิโลกรัม) ส่วนสูง (เซนติเมตร) 1 45146 หญิง 17 70 170 2 48607 ชาย 16 45 155 3 50143 หญิง 18 50 168       50 46804 หญิง 16 55 159
  • 5.
  • 6. พารามิเตอร์ (Parameter) หมายถึง ค่าวัดที่แสดงลักษณะของ ประชากร ซึ่งเป็นค่าคงตัวที่คานวณหรือประมวลจากข้อมูลทั้งหมดของประชากร ตัวอย่างเช่น ถ้ากาหนดให้ประชากรคือผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ. 2562 พารามิเตอร์อาจเป็นได้ดังนี้ 1. อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ. 2562 2. ฐานนิยมของอาชีพของผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ. 2562
  • 7. ค่าสถิติ (Statistic) เป็นค่าคงตัวที่พิจารณาจากข้อมูลของตัวอย่าง โดยมี วัตถุประสงค์เพื่ออธิบายลักษณะของตัวอย่างนั้นหรือเพื่อประมาณค่าของพารามิเตอร์แล้ว นาไปใช้ในการอธิบายลักษณะของประชากร ตัวอย่างเช่น ถ้ากาหนดให้ประชากรหรือผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ. 2562 และเลือกตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ. 2562 ที่สุ่มตัวอย่างมา จานวน 10,000 คน ค่าสถิติอาจเป็นได้ดังนี้ 1. อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ.2562 ที่สุ่มตัวอย่างมาจานวน 10,000 คน 2. ฐานนิยมของอาชีพของผู้ป่วยโรคเบาหวานในประเทศไทยใน พ.ศ. 2562 ที่สุ่มตัวอย่างมา จานวน 10,000 คน
  • 8. ตัวอย่างที่ 2 จากการสารวจเกี่ยวกับอาชีพในฝันของนักเรียนในยุคดิจิทัลของ จังหวัดหนึ่ง โดยสารวจจากนักเรียนที่มีอายุ 15-18 ปี ที่เลือกมาจาก ทุกโรงเรียนในจังหวัด รวมทั้งสิ้น 300 คน พบว่า อาชีพในฝันของ นักเรียนในยุคดิจิทัล 5 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 อาชีพธุรกิจ ส่วนตัว ร้อยละ 35 อันดับที่ 2 อาชีพครู ร้อยละ 22 อันดับที่ 3 อาชีพรับราชการ ร้อยละ 17 อันดับที่ 4 อาชีพแพทย์ ร้อยละ 12 และอันดับที่ 5 อาชีพวิศวกรร้อยละ 7 จงระบุว่าประชากร ตัวอย่าง ตัวแปร ข้อมูล และค่าสถิติของการสารวจนี้คืออะไร
  • 9.
  • 10. ตัวอย่างที่ 2 จากการสารวจสภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2560 สานักงานสถิติแห่งชาติได้เก็บรวบรวมข้อมูลในช่วง 6 เดือนแรก ของ พ.ศ. 2560 จากครัวเรือนตัวอย่างในทุกจังหวัดทั่วประเทศทั้ง ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลประมาณ 26,000 ครัวเรือน เพื่อศึกษารายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนทั่วประเทศ โดยจาก ข้อมูลตัวอย่างได้ข้อสรุปว่าค่าประมาณของรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของ ครัวเรือนทั่วประเทศ คือ 26,973 บาท จงระบุว่าประชากร ตัวอย่าง พารามิเตอร์ ตัวแปล ข้อมูล และค่าสถิติของการสารวจนี้ คืออะไร