SlideShare a Scribd company logo
1 of 141
หลักสูตรสถาน 
ศึกษา 2553 
( ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
พุทธศักราช 2551 ) 
โรงเรียนหนองแค “สรกิจ 
พิทยา” 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน 
ต้น 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 
คณิตศาสตร์
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การ 
ศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 
คำานำา 
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสำานักงานคณะ 
กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดำาเนินการทบทวนหลักสูตรการ 
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อพัฒนาไปสู่หลักสูตร 
แกนกลางสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 โดยนำาข้อมูลที่ได้จาก 
การศึกษาวิจัยดังกล่าว และข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ 
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ( พ.ศ. 2550-2554) มาใช้ในการ 
พัฒนาหลักสูตรให้มีความเหมาะสมชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนั้นกลุ่มสาระ 
การเรียนรู้คณิตศาสตร์โรงเรียนหนองแค “สรกิจพิทยา” จึงได้จัด 
ทำาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ขึ้น โดยดำาเนินการ 
จัดทำาตามรูปแบบและกระบวนการที่กำาหนด ครอบคลุมสาระการ 
เรียนรู้ ตัวชี้วัด และมาตรฐานต่างๆที่กำาหนดไว้ในแต่ละชั้น การ 
วิเคราะห์เนื้อหารสาระ มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนใช้ 
เพื่อการแสวงหาความรู้ ตลอดจนการอยู่ร่วมกันในสังคมโลก 
สนองตอบความแตกต่างของสภาพท้องถิ่น สังคม และสิ่งแวดล้อม 
ของผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะการ 
การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ โดยใช้ทักษะ 
กระบวนการสร้างองค์ความรู้ให้เกิดขึ้น มีการวัดผลประเมินผล 
ตามสภาพจริง 
ขอขอบคุณฝ่ายวิชาการ ผู้อำานวยการโรงเรียนหนองแค 
“สรกิจพิทยา” คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ให้ความ 
ร่วมมือในการจัดทำาหลักสูตรในครั้งนี้ ให้มีความสมบูรณ์และ 
เหมาะสมสำาหรับการจัดการเรียนการสอนในแต่ละระดับชั้น 
สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานและตัวชี้วัดที 
กำาหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 
2551
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ 
คณิตศาสตร์เล่มนี้จะเป็นแนวทางให้การจัดการเรียนการสอนวิชา 
คณิตศาสตร์ของโรงเรียนหนองแค “สรกิจพิทยา”ดำาเนินไปอย่างมี 
ประสิทธิภาพ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
โรงเรียนหนองแค “สรกิจพิทยา” 
สารบัญ 
หน้า 
คำานำา 
สารบัญ 
ความสำาคัญ 
วิสัยทัศน์กลุ่มสาระกรเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
ทำาไมต้องเรียนคณิตศาสตร์ 
เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์ 
สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน 
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 
คุณภาพผู้เรียน 
โครงสร้างหลักสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน 
ต้น 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์วิชาพื้นฐาน 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน 
ตารางวิเคราะห์จัดรายวิชา 
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
คำาอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา 
การวัดและประเมินผล 
ภาคผนวก 
คำาสั่งโรงเรียน 
คณะผู้จัดทำา 
วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เป็นกลุ่มสาระที่สมบูรณ์แบบ 
สร้างและส่งเสริมนักเรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข พัฒนา 
ศักยภาพของผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิด 
สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองมี 
วิสัยทัศน์ พร้อมที่จะแข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ตามหลัก 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในปี 2554 
ทำาไมต้องเรียนคณิตศาสตร์ 
คณิตศาสตร์มีบทบาทสำาคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ 
ทำาให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มี 
แบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน 
รอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา และนำา 
ไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม นอกจากนี้ 
คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ 
เทคโนโลยีและศาสตร์อื่น ๆ คณิตศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการ 
ดำาเนินชีวิต ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น และสามารถอยู่ร่วม 
กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 
เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มุ่งให้เยาวชนทุกคนได้ 
เรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างต่อเนื่อง ตามศักยภาพ โดยกำาหนดสาระ 
หลักที่จำาเป็นสำาหรับผู้เรียนทุกคนดังนี้ 
· จำานวนและการดำาเนินการ ความคิดรวบยอดและ 
ความรู้สึกเชิงจำานวน ระบบจำานวนจริง สมบัติเกี่ยวกับจำานวนจริง
การดำาเนินการของจำานวน อัตราส่วน ร้อยละ การแก้ปัญหาเกี่ยว 
กับจำานวน และการใช้จำานวนในชีวิตจริง 
· การวัด ความยาว ระยะทาง นำ้าหนัก พื้นที่ ปริมาตรและ 
ความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่าง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับ 
การวัด อัตราส่วนตรีโกณมิติ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด และ 
การนำาความรู้เกี่ยวกับการวัดไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ 
· เรขาคณิต รูปเรขาคณิตและสมบัติของรูปเรขาคณิตหนึ่ง 
มิติ สองมิติ และสามมิติ การนึกภาพ แบบจำาลองทางเรขาคณิต 
ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต (geometric 
transformation)ในเรื่องการเลื่อนขนาน (translation) การ 
สะท้อน (reflection) และการหมุน (rotation) 
· พีชคณิต แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน 
เซตและการดำาเนินการของเซต การให้เหตุผล นิพจน์ สมการ 
ระบบสมการ อสมการ กราฟ ลำาดับเลขคณิต ลำาดับเรขาคณิต 
อนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิต 
· การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น การ 
กำาหนดประเด็น การเขียนข้อคำาถาม การกำาหนดวิธีการศึกษา 
การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระบบข้อมูล การนำาเสนอข้อมูล ค่า 
กลางและการกระจายของข้อมูล การวิเคราะห์และการแปลความ 
ข้อมูล การสำารวจความคิดเห็น ความน่าจะเป็น การใช้ความรู้ 
เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ 
และช่วยในการตัดสินใจในการดำาเนินชีวิตประจำาวัน 
·ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การแก้ 
ปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ 
ความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ 
ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์ 
อื่นๆ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึง 
ประสงค์ 
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น 
พื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำาหนด
ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำาคัญและคุณลักษณะอันพึง 
ประสงค์ ดังนี้ 
สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิด 
สมรรถนะสำาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถใน 
การรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด 
ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลก 
เปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการ 
พัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด 
ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร 
ด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการ 
สื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและ 
สังคม 
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิด 
วิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิด 
อย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำาไปสู่การสร้าง 
องค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและ 
สังคมได้อย่างเหมาะสม 
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถใน 
การแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 
บนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ 
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม 
แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข 
ปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำานึงถึงผลกระทบ 
ที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความ 
สามารถในการนำากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ 
ในการดำาเนินชีวิตประจำาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้ 
อย่างต่อเนื่อง การทำางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ 
สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ 
ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง 
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้นื่ 
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความ 
สามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะ 
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ใน 
ด้านการเรียนรู้ การสื่อสารการทำางาน การแก้ปัญหาอย่าง 
สร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม 
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ 
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน 
สังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 
ดังนี้ 
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 
2. ซื่อสัตย์สุจริต 
3. มีวินัย 
4. ใฝ่เรียนรู้ 
5. อยู่อย่างพอเพียง 
6. มุ่งมั่นในการทำางาน 
7. รักความเป็นไทย 
8. มีจิตสาธารณะ 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
สาระที่ 1 จำานวนและการดำาเนินการ 
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดง 
จำานวนและการใช้จำานวนในชีวิตจริง 
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำาเนินการ 
ของจำานวนและความสัมพันธ์ระหว่างการ 
ดำาเนินการต่าง ๆ และใช้การดำาเนินการใน 
การแก้ปัญหา 
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคำานวณและแก้ 
ปัญหา 
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจำานวนและนำาสมบัติเกี่ยวกับ 
จำานวนไปใช้ 
สาระที่ 2 การวัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาด 
คะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด 
มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด 
สาระที่ 3 เรขาคณิต 
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและ 
สามมิติ 
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผล 
เกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) 
และใช้แบบจำาลองทางเรขาคณิต 
(geometric model) ในการแก้ปัญหา 
สาระที่ 4 พีชคณิต 
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) 
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน 
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัว 
แบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical 
model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ 
ตลอดจนแปลความหมายและนำาไปใช้ 
แก้ปัญหา 
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 
มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการ 
วิเคราะห์ข้อมูล 
มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความ 
น่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่าง 
สมเหตุสมผล 
มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วย 
ในการตัดสินใจและแก้ปัญหา 
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้ 
เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย 
ทางคณิตศาสตร์ และการนำาเสนอ การ 
เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ 
และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ 
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
หมายเหตุ
1. การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่ทำาให้ผู้เรียนเกิด 
การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพนั้น จะต้องให้มีความสมดุลระหว่างสาระ 
ด้านความรู้ ทักษะและกระบวนการควบคู่ไปกับคุณธรรม 
จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ได้แก่ การทำางานอย่างมีระบบ 
มีระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มี 
ความเชื่อมั่นในตนเอง พร้อมทั้งตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดี 
ต่อคณิตศาสตร์ 
2. ในการวัดและประเมินผลด้านทักษะและกระบวนการ 
สามารถประเมินในระหว่างการเรียนการสอน หรือประเมินไป 
พร้อมกับการประเมินด้านความรู้ 
คุณภาพผู้เรียน 
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 
· มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจำานวนจริง มีความเข้าใจ 
เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ 
เลขยกกำาลังที่มีเลขชี้กำาลังเป็นจำานวนเต็ม รากที่สองและรากที่สาม 
ของจำานวนจริง สามารถดำาเนินการเกี่ยวกับจำานวนเต็ม เศษส่วน 
ทศนิยม เลขยกกำาลัง รากที่สองและรากที่สามของจำานวนจริง ใช้ 
การประมาณค่าในการดำาเนินการและแก้ปัญหา และนำาความรู้ 
เกี่ยวกับจำานวนไปใช้ในชีวิตจริงได้ 
· มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่ผิวของปริซึม ทรง 
กระบอก และปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และ 
ทรงกลม เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่าง ๆ เกี่ยวกับความยาว 
พื้นที่ และปริมาตรได้อย่างเหมาะสม พร้อมทั้งสามารถนำาความรู้ 
เกี่ยวกับการวัดไปใช้ในชีวิตจริงได้ 
· สามารถสร้างและอธิบายขั้นตอนการสร้างรูปเรขาคณิต 
สองมิติโดยใช้วงเวียนและสันตรง อธิบายลักษณะและสมบัติของ 
รูปเรขาคณิตสามมิติซึ่งได้แก่ ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย 
และทรงกลมได้ 
· มีความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของความเท่ากันทุกประการ 
และความคล้ายของรูปสามเหลี่ยม เส้นขนาน ทฤษฎีบทพีทาโกรัส 
และบทกลับ และสามารถนำาสมบัติเหล่านั้นไปใช้ในการให้เหตุผล 
และแก้ปัญหาได้ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลงทาง 
เรขาคณิต(geometric transformation)ในเรื่องการเลื่อน 
ขนาน(translation) การสะท้อน (reflection) และการหมุน 
(rotation) และนำาไปใช้ได้
· สามารถนึกภาพและอธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสอง 
มิติและสามมิติ 
· สามารถวิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของแบบรูป 
สถานการณ์หรือปัญหา และสามารถใช้สมการเชิงเส้นตัวแปร 
เดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร อสมการเชิงเส้นตัวแปร 
เดียว และกราฟในการแก้ปัญหาได้ 
· สามารถกำาหนดประเด็น เขียนข้อคำาถามเกี่ยวกับปัญหา 
หรือสถานการณ์ กำาหนดวิธีการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลและนำา 
เสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม หรือรูปแบบอื่นที่เหมาะสมได้ 
· เข้าใจค่ากลางของข้อมูลในเรื่องค่าเฉลี่ยเลขคณิต 
มัธยฐาน และฐานนิยมของข้อมูลที่ยังไม่ได้แจกแจงความถี่ และ 
เลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งใช้ความรู้ในการพิจารณาข้อมูล 
ข่าวสารทางสถิติ 
· เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะ 
เป็นของเหตุการณ์ สามารถใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นใน 
การคาดการณ์และประกอบการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ 
· ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและ 
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาใน 
สถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการ 
ตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ 
ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำา 
เสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน 
คณิตศาสตร์ และนำาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง 
คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่ม 
สร้างสรรค์ 
โครงสร้างหลักสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน 
ต้น 
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ภาคเรียน 
ที่ 1) 
ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ภาคเรียน 
ที่ 2) 
รหัส 
วิชา 
รายวิชาพื้น 
ฐาน 
น 
ก. 
ชม 
. 
รหัส 
วิชา 
รายวิชาพื้นฐาน น 
ก. 
ชม. 
ค คณิตศาสตร์ 1 1. 60 ค คณิตศาสตร์ 2 1. 60
2110 
1 
5 2110 
2 
5 
รวม 1. 
5 
60 รวม 1. 
5 
60 
รหัส 
วิชา 
รายวิชาพื้น 
ฐาน 
น 
ก. 
ชม 
. 
รหัส 
วิชา 
รายวิชาพื้นฐาน น 
ก. 
ชม. 
ค 
2120 
1 
คณิตศาสตร์ 
เพิ่มเติม 1 
1. 
0 
40 ค 
2120 
2 
คณิตศาสตร์ 
เพิ่มเติม 2 
1. 
0 
40 
รวม 1. 
0 
40 รวม 1. 
0 
40 
รวมทั้งหมด 2. 
0 
10 
0 
รวมทั้งหมด 2. 
0 
10 
0 
ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ภาคเรียน 
ที่ 1) 
ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ภาคเรียน 
ที่ 2) 
รหัส 
วิชา 
รายวิชาพื้น 
ฐาน 
น 
ก. 
ชม 
. 
รหัส 
วิชา 
รายวิชาพื้นฐาน น 
ก. 
ชม. 
ค 
2210 
1 
คณิตศาสตร์ 3 1. 
5 
60 ค 
2210 
2 
คณิตศาสตร์ 4 1. 
5 
60 
รวม 1. 
5 
60 รวม 1. 
5 
60 
รหัส 
วิชา 
รายวิชาพื้น 
ฐาน 
น 
ก. 
ชม 
. 
รหัส 
วิชา 
รายวิชาพื้นฐาน น 
ก. 
ชม. 
ค 
2220 
1 
คณิตศาสตร์ 
เพิ่มเติม 3 
1. 
0 
40 ค 
2220 
2 
คณิตศาสตร์ 
เพิ่มเติม 4 
1. 
0 
40 
รวม 1. 
0 
40 รวม 1. 
0 
40 
รวมทั้งหมด 2. 
0 
10 
0 
รวมทั้งหมด 2. 
0 
10 
0 
ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ภาคเรียน 
ที่ 1) 
ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ภาคเรียน 
ที่ 2) 
รหัส 
วิชา 
รายวิชาพื้น 
ฐาน 
น 
ก. 
ชม 
. 
รหัส 
วิชา 
รายวิชาพื้นฐาน น 
ก. 
ชม.
ค 
2310 
1 
คณิตศาสตร์ 5 1. 
5 
60 ค 
2310 
2 
คณิตศาสตร์ 6 1. 
5 
60 
รวม 1. 
5 
60 รวม 1. 
5 
60 
รหัส 
วิชา 
รายวิชาพื้น 
ฐาน 
น 
ก. 
ชม 
. 
รหัส 
วิชา 
รายวิชาพื้นฐาน น 
ก. 
ชม. 
ค 
2320 
1 
คณิตศาสตร์ 
เพิ่มเติม 5 
1. 
0 
40 ค 
2320 
2 
คณิตศาสตร์ 
เพิ่มเติม 6 
1. 
0 
40 
รวม 1. 
0 
40 รวม 1. 
0 
40 
รวมทั้งหมด 2. 
0 
10 
0 
รวมทั้งหมด 2. 
0 
10 
0 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
สาระที่ 1 จำานวนและการดำาเนินการ 
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดง 
จำานวนและการใช้จำานวนในชีวิตจริง 
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำาเนินการ 
ของจำานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง 
การดำาเนินการต่าง ๆ และใช้การดำาเนิน 
การในการแก้ปัญหา 
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคำานวณและแก้ 
ปัญหา 
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจำานวนและนำาสมบัติเกี่ยวกับ 
จำานวนไปใช้ 
สาระที่ 2 การวัด 
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาด 
คะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด 
มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด 
สาระที่ 3 เรขาคณิต 
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและ 
สามมิติ
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผล 
เกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และ 
ใช้แบบจำาลองทางเรขาคณิต (geometric 
model) ในการแก้ปัญหา 
สาระที่ 4 พีชคณิต 
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) 
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน 
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัว 
แบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical 
model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ 
ตลอดจนแปลความหมายและนำาไปใช้ 
แก้ปัญหา 
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 
มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการ 
วิเคราะห์ข้อมูล 
มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความ 
น่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่าง 
สมเหตุสมผล 
มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วย 
ในการตัดสินใจและแก้ปัญหา 
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้ 
เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย 
ทางคณิตศาสตร์ และการนำาเสนอ การเชื่อม 
โยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และ 
เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมี 
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง 
สาระที่ 1 จำานวนและการดำาเนินการ 
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดง 
จำานวนและการใช้จำานวนในชีวิตจริง
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
ม.1 1. ระบุหรือยกตัวอย่าง และ 
เปรียบเทียบ 
จำานวนเต็มบวก 
จำานวนเต็มลบ ศูนย์ 
เศษส่วนและทศนิยม 
· จำานวนเต็มบวก 
จำานวนเต็มลบ ศูนย์ 
เศษส่วนและทศนิยม 
· การเปรียบเทียบจำานวนเต็ม 
เศษส่วนและทศนิยม 
2. เข้าใจเกี่ยวกับเลขยก 
กำาลังที่มีเลขชี้กำาลัง 
เป็นจำานวนเต็ม และเขียน 
แสดงจำานวน 
ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์ 
วิทยาศาสตร์ 
(scientific notation) 
· เลขยกกำาลังที่มีเลขชี้กำาลัง 
เป็นจำานวนเต็ม 
· การเขียนแสดงจำานวนใน 
รูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (A 
´ 10n เมื่อ 1 £ A < 10 
และ n เป็นจำานวนเต็ม) 
ม.2 1. เขียนเศษส่วนในรูป 
ทศนิยมและเขียน 
ทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน 
· เศษส่วนและทศนิยมซำ้า 
2. จำาแนกจำานวนจริงที่ 
กำาหนดให้ และ 
ยกตัวอย่าง 
จำานวนตรรกยะและจำานวน 
อตรรกยะ 
· จำานวนตรรกยะ และ 
จำานวนอตรรกยะ 
3. อธิบายและระบุรากที่สอง 
และรากที่สาม 
ของจำานวนจริง 
· รากที่สองและรากที่สามของ 
จำานวนจริง 
4. ใช้ความรู้เกี่ยวกับ 
อัตราส่วน สัดส่วน 
และร้อยละในการแก้ 
โจทย์ปัญหา 
· อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ 
และการนำาไปใช้ 
ม.3 – – 
สาระที่ 1 จำานวนและการดำาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำาเนินการ 
ของจำานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง การดำาเนิน 
การต่าง ๆ และใช้การดำาเนินการในการแก้ปัญหา 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน 
กลาง 
ม.1 1. บวก ลบ คูณ หาร 
จำานวนเต็ม และ 
นำาไปใช้แก้ปัญหา 
ตระหนักถึงความ 
สมเหตุสมผลของคำาตอบ 
อธิบายผลที่ 
เกิดขึ้นจากการบวก การ 
ลบ การคูณ 
การหาร และบอกความ 
สัมพันธ์ของ 
การบวกกับการลบ การ 
คูณกับการ 
หารของจำานวนเต็ม 
· การบวก การลบ การคูณ 
และการหาร จำานวนเต็ม 
· โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ 
จำานวนเต็ม 
2. บวก ลบ คูณ หาร 
เศษส่วนและ 
ทศนิยม และนำาไปใช้แก้ 
ปัญหา ตระหนักถึงความ 
สมเหตุสมผลของคำาตอบ 
อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการ 
บวก การลบ การคูณ การ 
หาร และบอกความ 
สัมพันธ์ของการบวกกับการ 
ลบ การคูณกับการหารของ 
เศษส่วนและทศนิยม 
· การบวก การลบ การคูณ 
และการหาร เศษส่วนและ 
ทศนิยม 
· โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ 
เศษส่วนและทศนิยม 
3. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจาก 
การยกกำาลังของจำานวนเต็ม 
เศษส่วนและทศนิยม 
· เลขยกกำาลังที่มีเลขชี้กำาลัง 
เป็นจำานวนเต็ม 
4. คูณและหารเลขยกกำาลังที่ 
มีฐานเดียวกัน และ 
เลขชี้กำาลังเป็นจำานวนเต็ม 
· การคูณและการหารเลขยก 
กำาลังที่มีฐานเดียวกัน และ 
เลขชี้กำาลังเป็นจำานวนเต็ม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน 
กลาง 
ม.2 1. หารากที่สองและรากที่สาม 
ของจำานวนเต็มโดยการ 
แยกตัวประกอบและนำาไป 
ใช้ในการแก้ปัญหาพร้อม 
ทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ 
สมผลของคำาตอบ 
· การหารากที่สองและรากที่ 
สามของจำานวนเต็มโดย 
การแยกตัวประกอบ และนำา 
ไปใช้ 
2. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจาก 
การหารากที่สองและรากที่ 
สามของจำานวนเต็ม เศษส่วน 
และทศนิยม บอกความ 
สัมพันธ์ของการยกกำาลังกับ 
การหารากของจำานวนจริง 
· รากที่สองและรากที่สาม 
ของจำานวนจริง 
ม.3 – – 
สาระที่ 1 จำานวนและการดำาเนินการ 
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคำานวณและแก้ 
ปัญหา 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน 
กลาง 
ม.1 1. ใช้การประมาณค่าใน 
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่าง 
เหมาะสม รวมถึงใช้ในการ 
พิจารณาความสมเหตุสมผล 
ของคำาตอบที่ได้จากการ 
คำานวณ 
· การประมาณค่าและการนำา 
ไปใช้ 
ม.2 1. หาค่าประมาณของรากที่ 
สอง และรากที่สามของ 
จำานวนจริง และนำาไปใช้ใน 
การแก้ปัญหา พร้อมทั้ง 
ตระหนักถึงความสมเหตุสม 
ผลของคำาตอบ 
· รากที่สองและรากที่สาม 
ของจำานวนจริงและการนำา 
ไปใช้ 
ม.3 – –
สาระที่ 1 จำานวนและการดำาเนินการ 
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจำานวนและนำาสมบัติเกี่ยวกับ 
จำานวนไปใช้ 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
ม.1 1. นำาความรู้และสมบัติเกี่ยว 
กับจำานวนเต็มไปใช้ในการ 
แก้ปัญหา 
· ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 
จำานวนนับ และการนำาไป 
ใช้ 
· การนำาความรู้และสมบัติ 
เกี่ยวกับจำานวนเต็มไปใช้ 
ม.2 1. บอกความเกี่ยวข้องของ 
จำานวนจริง 
จำานวนตรรกยะ และ 
จำานวนอตรรกยะ 
· จำานวนตรรกยะ และ 
จำานวนอตรรกยะ 
ม.3 – –
สาระที่ 2 การวัด 
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาด 
คะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
ม.1 – – 
ม.2 1. เปรียบเทียบหน่วย 
ความยาว หน่วยพื้นที่ ใน 
ระบบเดียวกัน และต่าง 
ระบบ และเลือกใช้หน่วย 
การวัดได้อย่างเหมาะสม 
· การวัดความยาว พื้นที่ 
และการนำาไปใช้ 
· การเลือกใช้หน่วยการวัด 
เกี่ยวกับความยาว และพื้นที่ 
2. คาดคะเนเวลา ระยะทาง 
พื้นที่ ปริมาตรและนำ้าหนัก 
ได้อย่างใกล้เคียง และ 
อธิบายวิธีการที่ใช้ในการ 
คาดคะเน 
· การคาดคะเนเวลา ระยะ 
ทาง พื้นที่ปริมาตร และ 
นำ้าหนัก และการนำาไปใช้ 
3. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับ 
การวัดในสถานการณ์ต่าง 
ๆ ได้อย่างเหมาะสม 
ม.3 1. หาพื้นที่ผิวของปริซึมและ 
ทรงกระบอก 
· พื้นที่ผิวของปริซึม และทรง 
กระบอก 
2. หาปริมาตรของปริซึม 
ทรงกระบอก พีระมิด กรวย 
และทรงกลม 
· ปริมาตรของปริซึม ทรง 
กระบอก พีระมิด กรวย 
และทรงกลม 
3. เปรียบเทียบหน่วยความจุ 
หรือหน่วยปริมาตรในระบบ 
เดียวกันหรือต่างระบบ 
และเลือกใช้หน่วยการวัด 
ได้อย่างเหมาะสม 
· การเปรียบเทียบหน่วยความ 
จุหรือหน่วยปริมาตรใน 
ระบบเดียวกันหรือต่างระบบ 
· การเลือกใช้หน่วยการวัด 
เกี่ยวกับความจุหรือปริมาตร 
4. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับ 
การวัดในสถานการณ์ต่าง 
ๆ ได้อย่างเหมาะสม 
· การคาดคะเนเกี่ยวกับการ 
วัด
สาระที่ 2 การวัด 
มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
ม.1 – – 
ม.2 1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับความ 
ยาวและพื้นที่แก้ปัญหาใน 
สถานการณ์ต่าง ๆ 
· การใช้ความรู้เกี่ยวกับ 
ความยาว และพื้นที่ ในการ 
แก้ปัญหา 
ม.3 1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ 
พื้นที่ผิว และปริมาตรใน 
การแก้ปัญหาใน 
สถานการณ์ ต่าง ๆ 
· การใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ 
พื้นที่ผวิ และปริมาตรในการ 
แก้ปัญหา
สาระที่ 3 เรขาคณิต 
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและ 
สามมิติ 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน 
กลาง 
ม.1 1. สร้างและบอกขั้นตอนการ 
สร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต 
 การสร้างพื้นฐานทาง 
เรขาคณิต (ใช้ 
วงเวียนและ สันตรง) 
1) การสร้างส่วนของเส้น 
ตรงให้ยาวเท่ากับความ 
ยาวของส่วนของเส้น 
ตรงที่กำาหนดให้ 
2) การแบ่งครึ่งส่วนของ 
เส้นตรงที่กำาหนดให้ 
3) การสร้างมุมให้มีขนาด 
เท่ากับขนาดของมุมที่ 
กำาหนดให้ 
4) การแบ่งครึ่งมุมที่ 
กำาหนดให้ 
5) การสร้างเส้นตั้งฉาก 
จากจุดภายนอกมายัง 
เส้นตรงที่กำาหนดให้ 
6) การสร้างเส้นตั้งฉากที่ 
จุดจุดหนึ่งบนเส้นตรงที่ 
กำาหนดให้ 
2. สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ 
โดยใช้การสร้างพื้นฐาน 
ทางเรขาคณิต และบอกขั้น 
ตอนการสร้างโดยไม่เน้น 
การพิสูจน์ 
 การสร้างรูปเรขาคณิตสอง 
มิติ โดยใช้การสร้างพื้น 
ฐานทางเรขาคณิต (ใช้วง 
เวียนและสันตรง) 
3. สืบเสาะ สังเกต และคาด 
การณ์เกี่ยวกับสมบัติทาง 
เรขาคณิต 
· สมบัติทางเรขาคณิตที่ 
ต้องการการสืบเสาะ 
สังเกต และคาดการณ์ 
เช่น ขนาดของมุมตรง 
ข้ามที่เกิดจากส่วนของเส้น 
ตรงสองเส้นตัดกัน และมุม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน 
กลาง 
ที่เกิดจากการตัดกันของ 
เส้นทแยงมุมของรูป 
สี่เหลี่ยม 
4. อธิบายลักษณะของรูป 
เรขาคณิตสามมิติจากภาพที่ 
กำาหนดให้ 
 ภาพของรูปเรขาคณิตสาม 
มิติ 
5. ระบุภาพสองมิติที่ได้จาก 
การมองด้านหน้า (front 
view) ด้านข้าง (side 
view) หรือ ด้านบน (top 
view) ของรูปเรขาคณิต 
สามมิติที่กำาหนดให้ 
 ภาพที่ได้จากการมองด้าน 
หน้า (front view) ด้าน 
ข้าง (side view) และ 
ด้านบน (top view) ของ 
รูปเรขาคณิตสามมิติ 
6. วาดหรือประดิษฐ์รูป 
เรขาคณิตสามมิติที่ประกอบ 
ขึ้นจากลูกบาศก์ เมื่อ 
กำาหนดภาพสองมิติที่ได้จาก 
การมองด้านหน้า ด้านข้าง 
และด้านบนให้ 
 การวาดหรือประดิษฐ์รูป 
เรขาคณิตสามมิติที่ 
ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ 
เมื่อกำาหนดภาพสองมิติที่ 
ได้จากการมองด้านหน้า 
ด้านข้าง และด้านบนให้ 
ม.2 – – 
ม.3 1. อธิบายลักษณะและสมบัติ 
ของปริซึม พีระมิด ทรง 
กระบอก กรวย และทรง 
กลม 
 ลักษณะและสมบัติของ 
ปริซึม พีระมิด ทรง 
กระบอก กรวย และทรง 
กลม
สาระที่ 3 เรขาคณิต 
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผล 
เกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) 
และใช้แบบจำาลองทางเรขาคณิต (geometric 
model) ในการแก้ปัญหา 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน 
กลาง 
ม.1 – – 
ม.2 1. ใช้สมบัติเกี่ยวกับความเท่า 
กันทุกประการของรูป 
สามเหลี่ยมและสมบัติของ 
เส้นขนานในการให้เหตุผล 
และแก้ปัญหา 
· ด้านและมุมคู่ที่มีขนาดเท่า 
กันของรูปสามเหลี่ยมสอง 
รูปที่เท่ากันทุกประการ 
· รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มี 
ความสัมพันธ์กันแบบ 
ด้าน– มุม– ด้าน มุม– 
ดา้น– มมุ ดา้น – ดา้น – 
ดา้น และ มุม– มุม– ด้าน 
· สมบัติของเส้นขนาน 
· การใช้สมบัติเกี่ยวกับความ 
เท่ากันทุกประการของรูป 
สามเหลี่ยมและสมบัติของ 
เส้นขนานในการให้เหตุผล 
และการแก้ปัญหา 
2. ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและ 
บทกลับในการให้เหตุผล 
และแก้ปัญหา 
· ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบท 
กลับ และการนำาไปใช้ 
3. เข้าใจเกยี่วกับการแปลงทาง 
เรขาคณติในเรอื่ง การเลอื่น 
ขนาน การสะท้อน และการ 
หมุน และนำาไปใช้ 
· การเลื่อนขนาน การ 
สะท้อน การหมุน และ 
การนำาไปใช้ 
4. บอกภาพทเี่กิดขนึ้จากการ 
เลอื่นขนาน การสะทอ้นและ 
การหมนุรปูตน้แบบ และ 
อธิบายวิธีการที่จะได้ภาพที่ 
ปรากฏเมื่อกำาหนดรูป 
ต้นแบบและภาพนััั้นให้ 
ม.3 1. ใช้สมบัติของรูป · สมบัติของรูปสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมคล้ายในการให้ 
เหตุผลและการแก้ปัญหา 
คล้ายและการนำาไปใช้
สาระที่ 4 พีชคณิต 
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) 
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน 
กลาง 
ม.1 1. วิเคราะห์และอธิบายความ 
สัมพันธ์ของแบบรูปที่ 
กำาหนดให้ 
· ความสัมพันธ์ของแบบรูป 
ม.2 – – 
ม.3 – – 
สาระที่ 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบ 
เชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) 
อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความ 
หมายและนำาไปใช้แก้ปัญหา 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน 
กลาง 
ม.1 1. แก้สมการเชิงเส้นตัวแปร 
เดียวอย่างง่าย 
· สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
2. เขียนสมการเชิงเส้น 
ตัวแปรเดียวจาก 
สถานการณ์ หรือปัญหา 
อย่างง่าย 
· การเขียนสมการเชิงเส้น 
ตัวแปรเดียวจาก 
สถานการณ์หรือปัญหา 
3. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
อย่างง่าย พร้อมทั้งตระหนัก 
ถึงความสมเหตุสมผลของคำา 
ตอบ 
· โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการ 
เชิงเส้น 
ตัวแปรเดียว 
4. เขียนกราฟบนระนาบใน 
ระบบพิกัดฉากแสดงความ 
เกี่ยวข้องของปริมาณสอง 
ชุดที่กำาหนดให้ 
· กราฟบนระนาบในระบบ 
พิกัดฉาก 
5. อ่านและแปลความหมาย 
ของกราฟบนระนาบในระบบ 
พิกัดฉากที่กำาหนดให้ 
ม.2 1. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
พร้อมทั้งตระหนักถึงความ 
สมเหตุสมผลของคำาตอบ 
· โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการ 
เชิงเส้น 
ตัวแปรเดียว 
2. หาพิกัดของจุด และอธิบาย 
ลักษณะของรูปเรขาคณิตที่ 
เกิดขึ้นจากการเลื่อนขนาน 
การสะท้อน และการหมุน 
บนระนาบในระบบพิกัดฉาก 
· การเลื่อนขนาน การสะท้อน 
และการหมุนรูปเรขาคณิต 
บนระนาบในระบบพิกัดฉาก
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน 
กลาง 
ม.3 1. ใช้ความรเู้กยี่วกับอสมการ 
เชิงเส้นตัวแปรเดียวในการ 
แก้ปัญหา พร้อมทั้ง 
ตระหนักถึงความสมเหตุสม 
ผลของคำาตอบ 
· อสมการเชิงเส้นตัวแปร 
เดียวและการนำาไปใช้ 
2. เขียนกราฟแสดงความ 
เกี่ยวข้องระหว่างปริมาณ 
สองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิง 
เส้น 
· กราฟแสดงความเกี่ยวข้อง 
ระหว่างปริมาณสองชุดที่มี 
ความสัมพันธ์เชิงเส้น 
3. เขียนกราฟของสมการเชิง 
เส้นสองตัวแปร 
· กราฟของสมการเชิงเส้น 
สองตัวแปร 
4. อ่านและแปลความหมาย 
กราฟของระบบสมการเชิง 
เส้นสองตัวแปรและกราฟอื่น 
ๆ 
· กราฟของระบบสมการเชิง 
เส้นสอง 
ตัวแปร 
· กราฟอื่น ๆ 
5. แก้ระบบสมการเชิงเส้นสอง 
ตัวแปร และนำาไปใช้แก้ 
ปัญหา พร้อมทั้งตระหนัก 
ถึงความสมเหตุสมผลของ 
คำาตอบ 
· ระบบสมการเชงิเสน้สองตวัแปร 
และการนำาไปใช้
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 
มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ 
ข้อมูล 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
ม.1 – – 
ม.2 1. อ่านและนำาเสนอข้อมูล 
โดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม 
 แผนภูมิรูปวงกลม 
ม.3 1. กำาหนดประเด็น และเขียน 
ข้อคำาถามเกี่ยวกับปัญหา 
หรือสถานการณ์ต่าง ๆ 
รวมทั้งกำาหนดวิธีการศึกษา 
และการเก็บรวบรวมข้อมูล 
ที่เหมาะสม 
· การเก็บรวบรวมข้อมูล 
2. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต 
มัธยฐาน และฐานนิยมของ 
ข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจง 
ความถี่ และเลือกใช้ได้ 
อย่างเหมาะสม 
· ค่ากลางของข้อมูล และ 
การนำาไปใช้ 
3. นำาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่ 
เหมาะสม 
· การนำาเสนอข้อมูล 
4. อ่าน แปลความหมาย 
และวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ 
จากการนำาเสนอ 
· การวิเคราะห์ข้อมูลจาก 
การนำาเสนอ
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 
มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความ 
น่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้ 
อย่างสมเหตุสมผล 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
ม.1 1. อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่ 
กำาหนดให้ เหตุการณ์ใดจะ 
มีโอกาสเกิดขึ้นได้ 
มากกว่ากัน 
· โอกาสของเหตุการณ์ 
ม.2 1. อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่ 
กำาหนดให้ เหตุการณ์ใด 
เกิดขึ้นแน่นอน เหตุการณ์ 
ใดไม่เกิดขึ้นแน่นอน และ 
เหตุการณ์ใดมีโอกาสเกิด 
ขึ้นได้มากกว่ากัน 
· โอกาสของเหตุการณ์ 
ม.3 1. หาความน่าจะเป็นของ 
เหตุการณ์จากการทดลอง 
สุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาส 
เกิดขึ้น เท่า ๆ กัน และใช้ 
ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะ 
เป็นในการคาดการณ์ได้ 
อย่างสมเหตุสมผล 
· การทดลองสุ่มและ 
เหตุการณ์ 
· ความน่าจะเป็นของ 
เหตุการณ์ 
· การใช้ความรเู้กยี่วกับความ 
น่าจะเป็นในการคาดการณ์
สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 
มาตรฐาน ค 5.3 : ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็น 
ช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
ม.1 – – 
ม.2 – – 
ม.3 1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ 
และความน่าจะเป็น 
ประกอบการตดัสนิใจใน 
สถานการณต์า่ง ๆ 
· การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ 
และ ความน่าจะเป็นประกอบ 
การตัดสินใจ 
2. อภิปรายถึงความคลาด 
เคลื่อนที่อาจเกิดขึ้นได้จาก 
การนำาเสนอข้อมูลทางสถิติ
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้ 
เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย 
ทางคณิตศาสตร์ และการนำาเสนอ การเชื่อมโยง 
ความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง 
คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่ม 
สร้างสรรค์ 
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
ม.1– 
ม.3 
1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ 
ปัญหา 
2. ใช้ความรู้ ทักษะและ 
กระบวนการทาง 
คณิตศาสตร์ และ 
เทคโนโลยีในการแก้ 
ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง 
ๆ ได้อย่างเหมาะสม 
3. ให้เหตุผลประกอบการ 
ตัดสินใจ และสรุปผลได้ 
อย่างเหมาะสม 
4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ 
ทางคณิตศาสตร์ในการ 
สื่อสาร การสื่อความหมาย 
และการนำาเสนอ ได้อย่าง 
ถูกต้อง และชัดเจน 
5. เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน 
คณิตศาสตร์ 
และนำาความรู้ หลักการ 
กระบวนการทาง 
คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับ 
ศาสตร์อื่น ๆ 
6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
-
ตารางวิเคราะห์จัดรายวิชา
ตารางวิเคราะห์การจัดรายวิชา 
โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
พุทธศักราช 2551 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำานวน 1.5 หน่วย 
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
รายวิช 
า รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด 
คณิตศา 
สตร์ 
ค 
211 
01 
1.5 1 1 จำานวนและ 
การดำาเนิน 
การ 
ค 1.1 ม.1/1 
ระบุหรือยกตัวอย่าง และ 
เปรียบเทียบจำานวนเต็ม 
บวก จำานวนเต็มลบ ศูนย์ 
เศษส่วนและทศนิยม 
ค 1.1 ม.1/2 
เข้าใจเกี่ยวกับเลขยก 
กำาลังที่มีเลขชี้กำาลังเป็น 
จำานวนเต็มและเขียน 
แสดงจำานวนให้อยู่ในรูป 
สัญกรณ์ 
วิทยาศาสตร์(scientific 
motation) 
ค 1.2 ม.1/1 
บวก, ลบ, คูณ และ 
หารจำานวนเต็มและนำาไป 
ใช้แก้ปัญหาตระหนัก ถึง 
ความสมเหตุสมผลของคำา 
ตอบอธิบายผลที่เกิดขึ้น 
จากการบวก ลบ คูณ 
หารและบอกความ 
สัมพันธ์ของการบวก การ 
ลบ การคูณ และการ 
หารของจำานวนเต็ม 
ค 1.2 ม.1/3 
อธิบายผลที่เกิดขึ้นจาการ 
ยกกำาลังของจำานวนเต็ม 
เศษส่วนและทศนิยม 
ค 1.2 ม.1/4 
คูณและหารเลขยกกำาลัง 
ที่มีฐานเดียวกันและ 
เลขชี้กำาลังเป็น 
จำานวนเต็ม
รายวิช 
า รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด 
ค 1.4 ม.1/1 
นำาความรู้และสมบัติเกี่ยว 
กับจำานวนเต็มไปใช้ใน 
การแก้ปัญหา 
3 เรขาคณิต ค 3.1 ม.1/1 
สร้างและบอกขั้นตอนการ 
สร้างพื้นฐานทาง 
เรขาคณิต 
ค 3.1 ม.1/2 
สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ 
โดยใช้การสร้างพื้นฐาน 
ทางเรขาคณิต และบอก 
ขั้นตอนการสร้างโดยไม่ 
เน้นการพิสูจน์ 
ค 3.1 ม.1/3 
สืบเสาะ สังเกต และคาด 
การณ์เกี่ยวกับสมบัติทาง 
เรขาคณิต 
3 
5 การ 
วิเคราะห์ 
ข้อมูลและ 
ความน่าจะ 
เป็น 
ค 5.2 ม.1/1 
อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่ 
กำาหนดให้เหตุการณ์ใด 
จะมีโอกาสเกิดขึ้นได้ 
มากกว่ากัน 
6 ทักษะและ 
กระบวนกา 
รทาง 
คณิตศาสต 
ร์ 
ค 6.1 ม.1/1 
ใช้วิธีการที่หลากหลาย 
แก้ปัญหา 
ค 6.1 ม.1/2 
ใช้ความรู้ ทักษะ 
กระบวน 
การทางคณิตศาสตร์ 
และเทคโนโลยีในการแก้ 
ปัญหาได้อย่างเหมาะสม 
ค 6.1 ม.1/3 
ให้เหตุผลประกอบการ 
การตัดสินใจและสรุปผล 
ได้อย่างเหมาะสม 
ค 6.1 ม.1/4 
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ 
ทางคณิตศาสตร์ในการ 
สื่อสาร สื่อความหมาย 
และนำาเสนอได้อย่างถูก 
ต้องและ ชัดเจน 
6 
รายวิช 
า รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด
ตารางวิเคราะห์การจัดรายวิชา 
โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
พุทธศักราช 2551 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำานวน 1.5 หน่วย 
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
รายวิชา รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระ 
ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด 
คณิตศาสต 
ร์ 2 
ค 
2110 
2 
1.5 2 1 จำานวน 
และการ 
ดำาเนินการ 
ค 1.1 ม.1/1 
ระบุหรือยกตัวอย่างและ 
เปรียบเทียบจำานวนเต็ม 
บวก จำานวนเต็มลบ 
ศูนย์ เศษส่วนและ 
ทศนิยม 
3
ค 1.2 ม.1/2 
บวก ลบ คูณ หาร 
เศษส่วนและทศนิยม และ 
นำาไปใช้แก้ปัญหา 
ตระหนักถึงความสมเหตุ 
สมผลของคำาตอบ อธิบาย 
ผลที่เกิดขึ้นจากการบวก 
การลบ การคูณ การหาร 
และบอกความสัมพันธ์ 
ของการบวกกับการลบ 
การคูณกับการหารของ 
เศษส่วนและทศนิยม 
ค 1.3 ม.1/1 
ใช้การประมาณค่าใน 
สถานการณ์ต่างๆได้อย่าง 
เหมาะสม รวมถึงใช้ใน 
การพิจารณาความสม 
เหตุสมผลของคำาตอบที่ 
ได้จากการคำานวณ 
3 เรขาคณิต ค 3.1 ม.1/4 อธิบาย 
ลักษณะของรูปเรขาคณิต 
สามมิติจากภาพสองมิติที่ 
กำาหนดให้ 
ค 3.1 ม.1/5 ระบุภาพ 
สองมิติที่ได้จากการมอง 
ด้านหน้า (front view) 
ด้านข้าง (side view) 
หรือด้านบน (top view) 
ของรูปเรขาคณิตสามมิติ 
ที่กำาหนดให้ 
3 
รายวิชา รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระ 
ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด 
ค 3.1 ม.1/6 
วาดหรือประดิษฐ์รูป 
เรขาคณิตสามมิติที่ 
ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ 
เมื่อกำาหนดภาพสองมิติที่
ได้จากการมองด้านหน้า 
ด้านข้างและด้านบนให้ 
4 
6 
พีชคณิต 
ทักษะและ 
กระบวนก 
ารทาง 
คณิตศาส 
ตร์ 
ค 4.1 ม.1/1 
วิเคราะห์และอธิบายความ 
สัมพันธ์ของรูปแบบที่ 
กำาหนดให้ 
ค 4.2 ม.1/1 
แก้สมการเชิงเส้นตัวแปร 
เดียวอย่างง่าย 
ค 4.2 ม.1/2 
เขียนสมการเชิงเส้น 
ตัวแปรเดียวจาก 
สถานการณ์ หรือปัญหา 
อย่างง่าย 
ค 4.2 ม.1/3 
แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ 
สมการเชิงเส้นตัวแปร 
เดียวอย่างง่าย พร้อมทั้ง 
ตระหนักถึงความสมเหตุ 
สมผลของคำาตอบ 
ค 4.2 ม.1/4 
เขียนกราฟบนระนาบใน 
ระบบพิกัดฉากแสดง 
ความเกี่ยวข้องของ 
ปริมาณสองชุดที่กำาหนด 
ให้ 
ค.4.2 ม.1/5 
อ่านและแปลความหมาย 
ของกราฟบนระนาบใน 
ระบบพิกัดฉากที่กำาหนด 
ให้ 
ค 6.1 ม.1/1 
ใช้วิธีการที่หลากหลาย 
แก้ปัญหา 
ค 6.1 ม.1/2 
ใช้ความรู้ ทักษะ 
กระบวนการทาง 
คณิตศาสตร์ และ 
เทคโนโลยีในการแก้ 
ปัญหาได้อย่างเหมาะสม 
6 
6
รายวิชา รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระ 
ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัว 
ชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด 
6 ทักษะและ 
กระบวนก 
ารทาง 
คณิตศาส 
ตร์ 
ค 6.1 ม.1/3 
ให้เหตุผลประกอบการ 
การตัดสินใจและสรุปผล 
ได้อย่างเหมาะสม 
ค 6.1 ม.1/4 
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ 
ทางคณิตศาสตร์ในการ 
สื่อสาร สื่อความหมาย 
และนำาเสนอได้อย่างถูก 
ต้องและ ชัดเจน 
ค 6.1 ม.1/5 
เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ 
ในคณืตศาสตร์และนำา 
ความรู้ หลักการกระบวน 
การทางคณิตศาสตร์ ไป 
เชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ 
ค 6.1 ม.1/6 
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
6
ตารางวิเคราะห์การจัดรายวิชา 
โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
พุทธศักราช 2551 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำานวน 1.5 หน่วย 
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
รายวิชา รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระ 
ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด 
คณิตศาสต 
ร์3 
ค 
2210 
1 
1.5 1 1 จำานวน 
และการ 
ดำาเนินการ 
ค 1.1 ม.2/4 
ใช้ความรู้เกี่ยวกับ 
อัตราส่วน สัดส่วน และ 
ร้อยละในการแก้โจทย์ 
ปัญหา 
1 
2 การวัด ค 2.1 ม.2/1 
เปรียบเทียบหน่วย 
ความยาว หน่วยพื้นที่ใน 
ระบบเดียวกัน และต่าง 
ระบบและเลือกใช้หน่วย 
การวัดได้อย่างเหมาะสม 
ค 2.1 ม.2/2 
คาดคะเนเวลา ระยะทาง 
พื้นที่ ปริมาตรและนำ้า 
หนักได้อย่างใกล้เคียง 
และอธิบายวิธีการที่ใช้ใน 
การคาดคะเน 
ค 2.1 ม.2/3 
ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับ 
การวัดในสถานการณ์ 
ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 
ค 2.2 ม.2/1 
ใช้ความรู้เกี่ยวกับความ 
ยาวและพื้นที่แก้ปัญหาใน 
สถานการณ์ต่างๆ 
4 
3 เรขาคณิต ค 3.2 ม.2/1 
ใช้สมบัติเกี่ยวกับความ 
เท่ากันทุกประการของรูป 
สามเหลี่ยมและสมบัติของ 
เส้นขนานในการให้ 
3
เหตุผลและแก้ปัญหา 
รายวิชา รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระ 
ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด 
ค 3.2 ม.2/3 
เข้าใจเกี่ยวกับการแปลง 
ทางเรขาคณิตในเรื่อง 
การเลื่อนขนาน การ 
สะท้อน และการหมุน 
และการนำาไปใช้ 
ค 3.2 ม.2/4 
บอกภาพที่เกิดขึ้นจาก 
การเลื่อนขนาน การ 
สะท้อนและการหมุนรูป 
ต้นแบบและอธิบายวิธีการ 
ที่จะได้ภาพที่ปรากฏเมื่อ 
กำาหนดรูปแบบและภาพ 
นั้นให้ 
4 พีชคณิต ค 4.2 ม.2/2 
หาพิกัดของจุด และ 
อธิบายลักษณะของรูป 
เรขาคณิตที่เกิดขึ้นจาก 
การเลื่อนขนาน การ 
สะท้อน และการหมุนบน 
ระนาบในระบบพิกัดฉาก 
1 
5 การ 
วิเคราะห์ 
ข้อมูลและ 
ความน่าจะ 
เป็น 
ค 5.1 ม.2/2 
อ่านและนำาเสนอข้อมูล 
โดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม 
1 
6 ทักษะและ 
กระบวนก 
ารทาง 
คณิตศาส 
ตร์ 
ค 6.1 ม.2/1 
ใช้วิธีการที่หลากหลาย 
แก้ปัญหา 
ค 6.1 ม.2/2 
ใช้ความรู้ ทักษะ 
กระบวน 
การทางคณิตศาสตร์ 
และเทคโนโลยีในการแก้ 
6
ปัญหาได้อย่างเหมาะสม 
ค 6.1 ม.2/3 
ให้เหตุผลประกอบการ 
การตัดสินใจและสรุปผล 
ได้อย่างเหมาะสม 
ค 6.1 ม.2/4 
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ 
ทางคณิตศาสตร์ในการ 
สื่อสาร สื่อความหมาย 
และนำาเสนอได้อย่างถูก 
ต้องและ ชัดเจน 
รายวิชา รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระ 
ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด 
6 ทักษะและ 
กระบวนก 
ารทาง 
คณิตศาส 
ตร์ 
ค 6.1 ม.2/5 
เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ 
ในคณืตศาสตร์และนำา 
ความรู้ หลักการกระบวน 
การทางคณิตศาสตร์ ไป 
เชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ 
ค 6.1 ม.2/6 
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
6
ตารางวิเคราะห์การจัดรายวิชา 
โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
พุทธศักราช 2551 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำานวน 1.5 หน่วย 
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
รายวิชา รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระ 
ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด 
คณิตศาสต 
ร์4 
ค 
2210 
2 
1.5 2 1 จำานวน 
และการ 
ดำาเนินการ 
ค 1.1 ม.2/1 
เขียนเศษส่วนในรูป 
ทศนิยมและเขียนทศนิยม 
ซำ้าในรูปเศษส่วน 
ค 1.1 ม.2/2 
จำาแนกจำานวนจริงที่ 
กำาหนดให้และยก 
ตัวอย่างจำานวนตรรกยะ 
และจำานวนอตรรกยะ 
ค 1.1 ม.2/3 
อธิบายและระบุรากที่สอง 
และรากที่สามของ 
จำานวนจริง 
ค 1.2 ม.2/1 
หารากที่สองและรากที่ 
สามของจำานวนเต็มโดย 
การแยกตัวประกอบและ 
นำาไปใช้ในการแก้ปัญหา 
พร้อมทั้งตระหนักถึง 
ความสมเหตุสมผลของคำา 
ตอบ 
7
ค 1.2 ม.2.2 
อธิบายผลที่เกิดขึ้นจาก 
การหารากที่สองและราก 
ที่สามของจำานวนเต็ม 
เศษส่วน และทศนิยม 
บอกความสัมพันธ์ของ 
การยกกำาลังกับการหา 
รากของจำานวนจริง 
ค 1.3 ม.2/1 
หาค่าประมาณของรากที่ 
สองและรากที่สามของ 
จำานวนจริง และนำาไปใช้ 
ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้ง 
ตระหนักถึงความสมเหตุ 
สมผลของคำาตอบ 
รายวิชา รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระ 
ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด 
ค 1.4 ม.2/1 
บอกความเกี่ยวข้องของ 
จำานวน 
ตรรกยะและ 
จำานวนอตรรกยะ 
3 เรขาคณิต ค 3.2 ม.2/2 
ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส 
และบทกลับในการให้ 
เหตุผลและแก้ปัญหา 
1 
4 พีชคณิต ค 4.2 ม.2/1 
แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ 
สมการเชิงเส้นตัวแปร 
เดียว พร้อมทั้งตระหนัก 
ถึงความสมเหตุสมผลของ 
คำาตอบ 
1 
5 การ 
วิเคราะห์ 
ข้อมูลและ 
ความน่าจะ 
เป็น 
ค 5.2 ม.2/1 
อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่ 
กำาหนดให้ เหตุการณ์ใด 
เกิดขึ้นแน่นอน 
เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นไม่ 
แน่นอน และเหตุการณ์ 
ใดมีโอกาสเกิดขึ้นได้ 
1
มากกว่ากัน 
6 ทักษะและ 
กระบวนก 
ารทาง 
คณิตศาส 
ตร์ 
ค 6.1 ม.2/1 
ใช้วิธีการที่หลากหลาย 
แก้ปัญหา 
ค 6.1 ม.2/2 
ใช้ความรู้ ทักษะ 
กระบวน 
การทางคณิตศาสตร์ 
และเทคโนโลยีในการแก้ 
ปัญหาได้อย่างเหมาะสม 
ค 6.1 ม.2/3 
ให้เหตุผลประกอบการ 
การตัดสินใจและสรุปผล 
ได้อย่างเหมาะสม 
ค 6.1 ม.2/4 
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ 
ทางคณิตศาสตร์ในการ 
สื่อสาร สื่อความหมาย 
และนำาเสนอได้อย่างถูก 
ต้องและ ชัดเจน 
ค 6.1 ม.2/5 
เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ 
ในคณืตศาสตร์และนำา 
ความรู้ หลักการกระบวน 
การทางคณิตศาสตร์ ไป 
เชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ 
6 
รายวิชา รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระ 
ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัว 
ชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด 
ทักษะและ 
กระบวนก 
ารทาง 
คณิตศาส 
ตร์ 
ค 6.1 ม.2/6 
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตารางวิเคราะห์การจัดรายวิชา 
โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
พุทธศักราช 2551 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำานวน 1.5 หน่วย 
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
รายวิชา รหัส หน่วย 
กิต 
ภาค 
เรียน 
ที่ 
สาระ 
ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ 
ตัวชี้วัด 
รวม 
ตัวชี้ 
วัด 
คณิตศาสต 
ร์5 
ค 
2310 
1 
1.5 1 2 การวัด ค 2.1 ม.3/1 
หาพื้นที่ผิวของปริซึมและ 
ทรงกระบอก 
ค 2.1 ม.3/2 
หาปริมาตรของปริซึม 
ทรงกระบอก พีระมิด 
กรวย และทรงกลม 
5
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น

More Related Content

What's hot

คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึกคำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึกทับทิม เจริญตา
 
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)ทับทิม เจริญตา
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานทับทิม เจริญตา
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรYui Piyaporn
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายInmylove Nupad
 
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201kroojaja
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1Nattarinthon Soysuwan
 
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2Dmath Danai
 
แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังkatokung
 
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส Kikkokz K
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐานคำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐานAon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 

What's hot (19)

คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึกคำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
 
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
 
จุดประสงค์ ม.2
จุดประสงค์ ม.2จุดประสงค์ ม.2
จุดประสงค์ ม.2
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
 
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
 
แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลัง
 
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐานคำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 

Similar to หลักสูตรคณิตม.ต้น

หลักสูตรคณิตศาสตร์
หลักสูตรคณิตศาสตร์หลักสูตรคณิตศาสตร์
หลักสูตรคณิตศาสตร์ssuser671c71
 
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)Apirak Potpipit
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์พิทักษ์ ทวี
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
ล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdfล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdfssuser639c13
 
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfแผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfssuser639c13
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...natthasarttier
 
จุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
จุดมุ่งหมาย ม.ปลายจุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
จุดมุ่งหมาย ม.ปลายAon Narinchoti
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรNoir Black
 

Similar to หลักสูตรคณิตม.ต้น (20)

Lead2
Lead2Lead2
Lead2
 
หลักสูตรคณิตศาสตร์
หลักสูตรคณิตศาสตร์หลักสูตรคณิตศาสตร์
หลักสูตรคณิตศาสตร์
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
ล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdfล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdf
 
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfแผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
จุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
จุดมุ่งหมาย ม.ปลายจุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
จุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

More from Apichaya Savetvijit

รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)Apichaya Savetvijit
 
รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]Apichaya Savetvijit
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมApichaya Savetvijit
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับApichaya Savetvijit
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังApichaya Savetvijit
 
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้วเสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้วApichaya Savetvijit
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เส้นขนาน
หน่วยการเรียนรู้ที่  4  เส้นขนานหน่วยการเรียนรู้ที่  4  เส้นขนาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เส้นขนานApichaya Savetvijit
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2Apichaya Savetvijit
 
หนังสือเชิญ (1)
หนังสือเชิญ (1)หนังสือเชิญ (1)
หนังสือเชิญ (1)Apichaya Savetvijit
 
หนังสือเชิญ
หนังสือเชิญหนังสือเชิญ
หนังสือเชิญApichaya Savetvijit
 
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.Apichaya Savetvijit
 
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้าเอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้าApichaya Savetvijit
 

More from Apichaya Savetvijit (20)

รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
 
รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
 
ว่าน (1)
ว่าน (1)ว่าน (1)
ว่าน (1)
 
ว่าน (2)
ว่าน (2)ว่าน (2)
ว่าน (2)
 
ว่าน
ว่านว่าน
ว่าน
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้วเสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เส้นขนาน
หน่วยการเรียนรู้ที่  4  เส้นขนานหน่วยการเรียนรู้ที่  4  เส้นขนาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เส้นขนาน
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
 
หนังสือเชิญ (1)
หนังสือเชิญ (1)หนังสือเชิญ (1)
หนังสือเชิญ (1)
 
หนังสือเชิญ
หนังสือเชิญหนังสือเชิญ
หนังสือเชิญ
 
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
 
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้าเอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
 
อัตราส่วน
อัตราส่วนอัตราส่วน
อัตราส่วน
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
Lesson 7
Lesson 7Lesson 7
Lesson 7
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 

หลักสูตรคณิตม.ต้น

  • 1. หลักสูตรสถาน ศึกษา 2553 ( ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ) โรงเรียนหนองแค “สรกิจ พิทยา” ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
  • 2. สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 คำานำา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสำานักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดำาเนินการทบทวนหลักสูตรการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อพัฒนาไปสู่หลักสูตร แกนกลางสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 โดยนำาข้อมูลที่ได้จาก การศึกษาวิจัยดังกล่าว และข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ( พ.ศ. 2550-2554) มาใช้ในการ พัฒนาหลักสูตรให้มีความเหมาะสมชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนั้นกลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์โรงเรียนหนองแค “สรกิจพิทยา” จึงได้จัด ทำาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ขึ้น โดยดำาเนินการ จัดทำาตามรูปแบบและกระบวนการที่กำาหนด ครอบคลุมสาระการ เรียนรู้ ตัวชี้วัด และมาตรฐานต่างๆที่กำาหนดไว้ในแต่ละชั้น การ วิเคราะห์เนื้อหารสาระ มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนใช้ เพื่อการแสวงหาความรู้ ตลอดจนการอยู่ร่วมกันในสังคมโลก สนองตอบความแตกต่างของสภาพท้องถิ่น สังคม และสิ่งแวดล้อม ของผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะการ การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ โดยใช้ทักษะ กระบวนการสร้างองค์ความรู้ให้เกิดขึ้น มีการวัดผลประเมินผล ตามสภาพจริง ขอขอบคุณฝ่ายวิชาการ ผู้อำานวยการโรงเรียนหนองแค “สรกิจพิทยา” คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ให้ความ ร่วมมือในการจัดทำาหลักสูตรในครั้งนี้ ให้มีความสมบูรณ์และ เหมาะสมสำาหรับการจัดการเรียนการสอนในแต่ละระดับชั้น สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานและตัวชี้วัดที กำาหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
  • 3. หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์เล่มนี้จะเป็นแนวทางให้การจัดการเรียนการสอนวิชา คณิตศาสตร์ของโรงเรียนหนองแค “สรกิจพิทยา”ดำาเนินไปอย่างมี ประสิทธิภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนหนองแค “สรกิจพิทยา” สารบัญ หน้า คำานำา สารบัญ ความสำาคัญ วิสัยทัศน์กลุ่มสาระกรเรียนรู้คณิตศาสตร์ ทำาไมต้องเรียนคณิตศาสตร์ เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์ สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ คุณภาพผู้เรียน โครงสร้างหลักสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ต้น สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์วิชาพื้นฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน ตารางวิเคราะห์จัดรายวิชา มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
  • 4. คำาอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา การวัดและประเมินผล ภาคผนวก คำาสั่งโรงเรียน คณะผู้จัดทำา วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เป็นกลุ่มสาระที่สมบูรณ์แบบ สร้างและส่งเสริมนักเรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข พัฒนา ศักยภาพของผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิด สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองมี วิสัยทัศน์ พร้อมที่จะแข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในปี 2554 ทำาไมต้องเรียนคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์มีบทบาทสำาคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทำาให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มี แบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน รอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา และนำา ไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม นอกจากนี้ คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่น ๆ คณิตศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการ ดำาเนินชีวิต ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น และสามารถอยู่ร่วม กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มุ่งให้เยาวชนทุกคนได้ เรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างต่อเนื่อง ตามศักยภาพ โดยกำาหนดสาระ หลักที่จำาเป็นสำาหรับผู้เรียนทุกคนดังนี้ · จำานวนและการดำาเนินการ ความคิดรวบยอดและ ความรู้สึกเชิงจำานวน ระบบจำานวนจริง สมบัติเกี่ยวกับจำานวนจริง
  • 5. การดำาเนินการของจำานวน อัตราส่วน ร้อยละ การแก้ปัญหาเกี่ยว กับจำานวน และการใช้จำานวนในชีวิตจริง · การวัด ความยาว ระยะทาง นำ้าหนัก พื้นที่ ปริมาตรและ ความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่าง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับ การวัด อัตราส่วนตรีโกณมิติ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด และ การนำาความรู้เกี่ยวกับการวัดไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ · เรขาคณิต รูปเรขาคณิตและสมบัติของรูปเรขาคณิตหนึ่ง มิติ สองมิติ และสามมิติ การนึกภาพ แบบจำาลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต (geometric transformation)ในเรื่องการเลื่อนขนาน (translation) การ สะท้อน (reflection) และการหมุน (rotation) · พีชคณิต แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซตและการดำาเนินการของเซต การให้เหตุผล นิพจน์ สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ลำาดับเลขคณิต ลำาดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิต · การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น การ กำาหนดประเด็น การเขียนข้อคำาถาม การกำาหนดวิธีการศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระบบข้อมูล การนำาเสนอข้อมูล ค่า กลางและการกระจายของข้อมูล การวิเคราะห์และการแปลความ ข้อมูล การสำารวจความคิดเห็น ความน่าจะเป็น การใช้ความรู้ เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ และช่วยในการตัดสินใจในการดำาเนินชีวิตประจำาวัน ·ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การแก้ ปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์ อื่นๆ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำาหนด
  • 6. ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำาคัญและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ดังนี้ สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิด สมรรถนะสำาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถใน การรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลก เปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการ พัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร ด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการ สื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและ สังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิด วิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิด อย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำาไปสู่การสร้าง องค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและ สังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถใน การแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำานึงถึงผลกระทบ ที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความ สามารถในการนำากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดำาเนินชีวิตประจำาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง การทำางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการ
  • 7. เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้นื่ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความ สามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ใน ด้านการเรียนรู้ การสื่อสารการทำางาน การแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระที่ 1 จำานวนและการดำาเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดง จำานวนและการใช้จำานวนในชีวิตจริง มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำาเนินการ ของจำานวนและความสัมพันธ์ระหว่างการ ดำาเนินการต่าง ๆ และใช้การดำาเนินการใน การแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคำานวณและแก้ ปัญหา มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจำานวนและนำาสมบัติเกี่ยวกับ จำานวนไปใช้ สาระที่ 2 การวัด
  • 8. มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาด คะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและ สามมิติ มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผล เกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัว แบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำาไปใช้ แก้ปัญหา สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการ วิเคราะห์ข้อมูล มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความ น่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่าง สมเหตุสมผล มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วย ในการตัดสินใจและแก้ปัญหา สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้ เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์ และการนำาเสนอ การ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายเหตุ
  • 9. 1. การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่ทำาให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพนั้น จะต้องให้มีความสมดุลระหว่างสาระ ด้านความรู้ ทักษะและกระบวนการควบคู่ไปกับคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ได้แก่ การทำางานอย่างมีระบบ มีระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มี ความเชื่อมั่นในตนเอง พร้อมทั้งตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดี ต่อคณิตศาสตร์ 2. ในการวัดและประเมินผลด้านทักษะและกระบวนการ สามารถประเมินในระหว่างการเรียนการสอน หรือประเมินไป พร้อมกับการประเมินด้านความรู้ คุณภาพผู้เรียน จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 · มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจำานวนจริง มีความเข้าใจ เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ เลขยกกำาลังที่มีเลขชี้กำาลังเป็นจำานวนเต็ม รากที่สองและรากที่สาม ของจำานวนจริง สามารถดำาเนินการเกี่ยวกับจำานวนเต็ม เศษส่วน ทศนิยม เลขยกกำาลัง รากที่สองและรากที่สามของจำานวนจริง ใช้ การประมาณค่าในการดำาเนินการและแก้ปัญหา และนำาความรู้ เกี่ยวกับจำานวนไปใช้ในชีวิตจริงได้ · มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่ผิวของปริซึม ทรง กระบอก และปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และ ทรงกลม เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่าง ๆ เกี่ยวกับความยาว พื้นที่ และปริมาตรได้อย่างเหมาะสม พร้อมทั้งสามารถนำาความรู้ เกี่ยวกับการวัดไปใช้ในชีวิตจริงได้ · สามารถสร้างและอธิบายขั้นตอนการสร้างรูปเรขาคณิต สองมิติโดยใช้วงเวียนและสันตรง อธิบายลักษณะและสมบัติของ รูปเรขาคณิตสามมิติซึ่งได้แก่ ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลมได้ · มีความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของความเท่ากันทุกประการ และความคล้ายของรูปสามเหลี่ยม เส้นขนาน ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และบทกลับ และสามารถนำาสมบัติเหล่านั้นไปใช้ในการให้เหตุผล และแก้ปัญหาได้ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลงทาง เรขาคณิต(geometric transformation)ในเรื่องการเลื่อน ขนาน(translation) การสะท้อน (reflection) และการหมุน (rotation) และนำาไปใช้ได้
  • 10. · สามารถนึกภาพและอธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสอง มิติและสามมิติ · สามารถวิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของแบบรูป สถานการณ์หรือปัญหา และสามารถใช้สมการเชิงเส้นตัวแปร เดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร อสมการเชิงเส้นตัวแปร เดียว และกราฟในการแก้ปัญหาได้ · สามารถกำาหนดประเด็น เขียนข้อคำาถามเกี่ยวกับปัญหา หรือสถานการณ์ กำาหนดวิธีการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลและนำา เสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม หรือรูปแบบอื่นที่เหมาะสมได้ · เข้าใจค่ากลางของข้อมูลในเรื่องค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของข้อมูลที่ยังไม่ได้แจกแจงความถี่ และ เลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งใช้ความรู้ในการพิจารณาข้อมูล ข่าวสารทางสถิติ · เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะ เป็นของเหตุการณ์ สามารถใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นใน การคาดการณ์และประกอบการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ · ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาใน สถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำา เสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน คณิตศาสตร์ และนำาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ โครงสร้างหลักสูตรคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ภาคเรียน ที่ 1) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ภาคเรียน ที่ 2) รหัส วิชา รายวิชาพื้น ฐาน น ก. ชม . รหัส วิชา รายวิชาพื้นฐาน น ก. ชม. ค คณิตศาสตร์ 1 1. 60 ค คณิตศาสตร์ 2 1. 60
  • 11. 2110 1 5 2110 2 5 รวม 1. 5 60 รวม 1. 5 60 รหัส วิชา รายวิชาพื้น ฐาน น ก. ชม . รหัส วิชา รายวิชาพื้นฐาน น ก. ชม. ค 2120 1 คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 1 1. 0 40 ค 2120 2 คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 2 1. 0 40 รวม 1. 0 40 รวม 1. 0 40 รวมทั้งหมด 2. 0 10 0 รวมทั้งหมด 2. 0 10 0 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ภาคเรียน ที่ 1) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ภาคเรียน ที่ 2) รหัส วิชา รายวิชาพื้น ฐาน น ก. ชม . รหัส วิชา รายวิชาพื้นฐาน น ก. ชม. ค 2210 1 คณิตศาสตร์ 3 1. 5 60 ค 2210 2 คณิตศาสตร์ 4 1. 5 60 รวม 1. 5 60 รวม 1. 5 60 รหัส วิชา รายวิชาพื้น ฐาน น ก. ชม . รหัส วิชา รายวิชาพื้นฐาน น ก. ชม. ค 2220 1 คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 3 1. 0 40 ค 2220 2 คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 4 1. 0 40 รวม 1. 0 40 รวม 1. 0 40 รวมทั้งหมด 2. 0 10 0 รวมทั้งหมด 2. 0 10 0 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ภาคเรียน ที่ 1) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ภาคเรียน ที่ 2) รหัส วิชา รายวิชาพื้น ฐาน น ก. ชม . รหัส วิชา รายวิชาพื้นฐาน น ก. ชม.
  • 12. ค 2310 1 คณิตศาสตร์ 5 1. 5 60 ค 2310 2 คณิตศาสตร์ 6 1. 5 60 รวม 1. 5 60 รวม 1. 5 60 รหัส วิชา รายวิชาพื้น ฐาน น ก. ชม . รหัส วิชา รายวิชาพื้นฐาน น ก. ชม. ค 2320 1 คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 5 1. 0 40 ค 2320 2 คณิตศาสตร์ เพิ่มเติม 6 1. 0 40 รวม 1. 0 40 รวม 1. 0 40 รวมทั้งหมด 2. 0 10 0 รวมทั้งหมด 2. 0 10 0 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระที่ 1 จำานวนและการดำาเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดง จำานวนและการใช้จำานวนในชีวิตจริง มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำาเนินการ ของจำานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง การดำาเนินการต่าง ๆ และใช้การดำาเนิน การในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคำานวณและแก้ ปัญหา มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจำานวนและนำาสมบัติเกี่ยวกับ จำานวนไปใช้ สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาด คะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและ สามมิติ
  • 13. มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผล เกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และ ใช้แบบจำาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัว แบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำาไปใช้ แก้ปัญหา สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการ วิเคราะห์ข้อมูล มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความ น่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่าง สมเหตุสมผล มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วย ในการตัดสินใจและแก้ปัญหา สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้ เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์ และการนำาเสนอ การเชื่อม โยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ 1 จำานวนและการดำาเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดง จำานวนและการใช้จำานวนในชีวิตจริง
  • 14. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. ระบุหรือยกตัวอย่าง และ เปรียบเทียบ จำานวนเต็มบวก จำานวนเต็มลบ ศูนย์ เศษส่วนและทศนิยม · จำานวนเต็มบวก จำานวนเต็มลบ ศูนย์ เศษส่วนและทศนิยม · การเปรียบเทียบจำานวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม 2. เข้าใจเกี่ยวกับเลขยก กำาลังที่มีเลขชี้กำาลัง เป็นจำานวนเต็ม และเขียน แสดงจำานวน ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์ วิทยาศาสตร์ (scientific notation) · เลขยกกำาลังที่มีเลขชี้กำาลัง เป็นจำานวนเต็ม · การเขียนแสดงจำานวนใน รูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (A ´ 10n เมื่อ 1 £ A < 10 และ n เป็นจำานวนเต็ม) ม.2 1. เขียนเศษส่วนในรูป ทศนิยมและเขียน ทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน · เศษส่วนและทศนิยมซำ้า 2. จำาแนกจำานวนจริงที่ กำาหนดให้ และ ยกตัวอย่าง จำานวนตรรกยะและจำานวน อตรรกยะ · จำานวนตรรกยะ และ จำานวนอตรรกยะ 3. อธิบายและระบุรากที่สอง และรากที่สาม ของจำานวนจริง · รากที่สองและรากที่สามของ จำานวนจริง 4. ใช้ความรู้เกี่ยวกับ อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละในการแก้ โจทย์ปัญหา · อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ และการนำาไปใช้ ม.3 – – สาระที่ 1 จำานวนและการดำาเนินการ
  • 15. มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำาเนินการ ของจำานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง การดำาเนิน การต่าง ๆ และใช้การดำาเนินการในการแก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน กลาง ม.1 1. บวก ลบ คูณ หาร จำานวนเต็ม และ นำาไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความ สมเหตุสมผลของคำาตอบ อธิบายผลที่ เกิดขึ้นจากการบวก การ ลบ การคูณ การหาร และบอกความ สัมพันธ์ของ การบวกกับการลบ การ คูณกับการ หารของจำานวนเต็ม · การบวก การลบ การคูณ และการหาร จำานวนเต็ม · โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ จำานวนเต็ม 2. บวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนและ ทศนิยม และนำาไปใช้แก้ ปัญหา ตระหนักถึงความ สมเหตุสมผลของคำาตอบ อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการ บวก การลบ การคูณ การ หาร และบอกความ สัมพันธ์ของการบวกกับการ ลบ การคูณกับการหารของ เศษส่วนและทศนิยม · การบวก การลบ การคูณ และการหาร เศษส่วนและ ทศนิยม · โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ เศษส่วนและทศนิยม 3. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจาก การยกกำาลังของจำานวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม · เลขยกกำาลังที่มีเลขชี้กำาลัง เป็นจำานวนเต็ม 4. คูณและหารเลขยกกำาลังที่ มีฐานเดียวกัน และ เลขชี้กำาลังเป็นจำานวนเต็ม · การคูณและการหารเลขยก กำาลังที่มีฐานเดียวกัน และ เลขชี้กำาลังเป็นจำานวนเต็ม
  • 16. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน กลาง ม.2 1. หารากที่สองและรากที่สาม ของจำานวนเต็มโดยการ แยกตัวประกอบและนำาไป ใช้ในการแก้ปัญหาพร้อม ทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคำาตอบ · การหารากที่สองและรากที่ สามของจำานวนเต็มโดย การแยกตัวประกอบ และนำา ไปใช้ 2. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจาก การหารากที่สองและรากที่ สามของจำานวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม บอกความ สัมพันธ์ของการยกกำาลังกับ การหารากของจำานวนจริง · รากที่สองและรากที่สาม ของจำานวนจริง ม.3 – – สาระที่ 1 จำานวนและการดำาเนินการ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคำานวณและแก้ ปัญหา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน กลาง ม.1 1. ใช้การประมาณค่าใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่าง เหมาะสม รวมถึงใช้ในการ พิจารณาความสมเหตุสมผล ของคำาตอบที่ได้จากการ คำานวณ · การประมาณค่าและการนำา ไปใช้ ม.2 1. หาค่าประมาณของรากที่ สอง และรากที่สามของ จำานวนจริง และนำาไปใช้ใน การแก้ปัญหา พร้อมทั้ง ตระหนักถึงความสมเหตุสม ผลของคำาตอบ · รากที่สองและรากที่สาม ของจำานวนจริงและการนำา ไปใช้ ม.3 – –
  • 17. สาระที่ 1 จำานวนและการดำาเนินการ มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจำานวนและนำาสมบัติเกี่ยวกับ จำานวนไปใช้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. นำาความรู้และสมบัติเกี่ยว กับจำานวนเต็มไปใช้ในการ แก้ปัญหา · ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ จำานวนนับ และการนำาไป ใช้ · การนำาความรู้และสมบัติ เกี่ยวกับจำานวนเต็มไปใช้ ม.2 1. บอกความเกี่ยวข้องของ จำานวนจริง จำานวนตรรกยะ และ จำานวนอตรรกยะ · จำานวนตรรกยะ และ จำานวนอตรรกยะ ม.3 – –
  • 18. สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาด คะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 – – ม.2 1. เปรียบเทียบหน่วย ความยาว หน่วยพื้นที่ ใน ระบบเดียวกัน และต่าง ระบบ และเลือกใช้หน่วย การวัดได้อย่างเหมาะสม · การวัดความยาว พื้นที่ และการนำาไปใช้ · การเลือกใช้หน่วยการวัด เกี่ยวกับความยาว และพื้นที่ 2. คาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตรและนำ้าหนัก ได้อย่างใกล้เคียง และ อธิบายวิธีการที่ใช้ในการ คาดคะเน · การคาดคะเนเวลา ระยะ ทาง พื้นที่ปริมาตร และ นำ้าหนัก และการนำาไปใช้ 3. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับ การวัดในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ม.3 1. หาพื้นที่ผิวของปริซึมและ ทรงกระบอก · พื้นที่ผิวของปริซึม และทรง กระบอก 2. หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม · ปริมาตรของปริซึม ทรง กระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม 3. เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบ เดียวกันหรือต่างระบบ และเลือกใช้หน่วยการวัด ได้อย่างเหมาะสม · การเปรียบเทียบหน่วยความ จุหรือหน่วยปริมาตรใน ระบบเดียวกันหรือต่างระบบ · การเลือกใช้หน่วยการวัด เกี่ยวกับความจุหรือปริมาตร 4. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับ การวัดในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม · การคาดคะเนเกี่ยวกับการ วัด
  • 19. สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 – – ม.2 1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับความ ยาวและพื้นที่แก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ · การใช้ความรู้เกี่ยวกับ ความยาว และพื้นที่ ในการ แก้ปัญหา ม.3 1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรใน การแก้ปัญหาใน สถานการณ์ ต่าง ๆ · การใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผวิ และปริมาตรในการ แก้ปัญหา
  • 20. สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและ สามมิติ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน กลาง ม.1 1. สร้างและบอกขั้นตอนการ สร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต  การสร้างพื้นฐานทาง เรขาคณิต (ใช้ วงเวียนและ สันตรง) 1) การสร้างส่วนของเส้น ตรงให้ยาวเท่ากับความ ยาวของส่วนของเส้น ตรงที่กำาหนดให้ 2) การแบ่งครึ่งส่วนของ เส้นตรงที่กำาหนดให้ 3) การสร้างมุมให้มีขนาด เท่ากับขนาดของมุมที่ กำาหนดให้ 4) การแบ่งครึ่งมุมที่ กำาหนดให้ 5) การสร้างเส้นตั้งฉาก จากจุดภายนอกมายัง เส้นตรงที่กำาหนดให้ 6) การสร้างเส้นตั้งฉากที่ จุดจุดหนึ่งบนเส้นตรงที่ กำาหนดให้ 2. สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ โดยใช้การสร้างพื้นฐาน ทางเรขาคณิต และบอกขั้น ตอนการสร้างโดยไม่เน้น การพิสูจน์  การสร้างรูปเรขาคณิตสอง มิติ โดยใช้การสร้างพื้น ฐานทางเรขาคณิต (ใช้วง เวียนและสันตรง) 3. สืบเสาะ สังเกต และคาด การณ์เกี่ยวกับสมบัติทาง เรขาคณิต · สมบัติทางเรขาคณิตที่ ต้องการการสืบเสาะ สังเกต และคาดการณ์ เช่น ขนาดของมุมตรง ข้ามที่เกิดจากส่วนของเส้น ตรงสองเส้นตัดกัน และมุม
  • 21. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน กลาง ที่เกิดจากการตัดกันของ เส้นทแยงมุมของรูป สี่เหลี่ยม 4. อธิบายลักษณะของรูป เรขาคณิตสามมิติจากภาพที่ กำาหนดให้  ภาพของรูปเรขาคณิตสาม มิติ 5. ระบุภาพสองมิติที่ได้จาก การมองด้านหน้า (front view) ด้านข้าง (side view) หรือ ด้านบน (top view) ของรูปเรขาคณิต สามมิติที่กำาหนดให้  ภาพที่ได้จากการมองด้าน หน้า (front view) ด้าน ข้าง (side view) และ ด้านบน (top view) ของ รูปเรขาคณิตสามมิติ 6. วาดหรือประดิษฐ์รูป เรขาคณิตสามมิติที่ประกอบ ขึ้นจากลูกบาศก์ เมื่อ กำาหนดภาพสองมิติที่ได้จาก การมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนให้  การวาดหรือประดิษฐ์รูป เรขาคณิตสามมิติที่ ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ เมื่อกำาหนดภาพสองมิติที่ ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนให้ ม.2 – – ม.3 1. อธิบายลักษณะและสมบัติ ของปริซึม พีระมิด ทรง กระบอก กรวย และทรง กลม  ลักษณะและสมบัติของ ปริซึม พีระมิด ทรง กระบอก กรวย และทรง กลม
  • 22. สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผล เกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน กลาง ม.1 – – ม.2 1. ใช้สมบัติเกี่ยวกับความเท่า กันทุกประการของรูป สามเหลี่ยมและสมบัติของ เส้นขนานในการให้เหตุผล และแก้ปัญหา · ด้านและมุมคู่ที่มีขนาดเท่า กันของรูปสามเหลี่ยมสอง รูปที่เท่ากันทุกประการ · รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มี ความสัมพันธ์กันแบบ ด้าน– มุม– ด้าน มุม– ดา้น– มมุ ดา้น – ดา้น – ดา้น และ มุม– มุม– ด้าน · สมบัติของเส้นขนาน · การใช้สมบัติเกี่ยวกับความ เท่ากันทุกประการของรูป สามเหลี่ยมและสมบัติของ เส้นขนานในการให้เหตุผล และการแก้ปัญหา 2. ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและ บทกลับในการให้เหตุผล และแก้ปัญหา · ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบท กลับ และการนำาไปใช้ 3. เข้าใจเกยี่วกับการแปลงทาง เรขาคณติในเรอื่ง การเลอื่น ขนาน การสะท้อน และการ หมุน และนำาไปใช้ · การเลื่อนขนาน การ สะท้อน การหมุน และ การนำาไปใช้ 4. บอกภาพทเี่กิดขนึ้จากการ เลอื่นขนาน การสะทอ้นและ การหมนุรปูตน้แบบ และ อธิบายวิธีการที่จะได้ภาพที่ ปรากฏเมื่อกำาหนดรูป ต้นแบบและภาพนััั้นให้ ม.3 1. ใช้สมบัติของรูป · สมบัติของรูปสามเหลี่ยม
  • 24. สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน กลาง ม.1 1. วิเคราะห์และอธิบายความ สัมพันธ์ของแบบรูปที่ กำาหนดให้ · ความสัมพันธ์ของแบบรูป ม.2 – – ม.3 – – สาระที่ 4 พีชคณิต
  • 25. มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบ เชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความ หมายและนำาไปใช้แก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน กลาง ม.1 1. แก้สมการเชิงเส้นตัวแปร เดียวอย่างง่าย · สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. เขียนสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียวจาก สถานการณ์ หรือปัญหา อย่างง่าย · การเขียนสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียวจาก สถานการณ์หรือปัญหา 3. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อย่างง่าย พร้อมทั้งตระหนัก ถึงความสมเหตุสมผลของคำา ตอบ · โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการ เชิงเส้น ตัวแปรเดียว 4. เขียนกราฟบนระนาบใน ระบบพิกัดฉากแสดงความ เกี่ยวข้องของปริมาณสอง ชุดที่กำาหนดให้ · กราฟบนระนาบในระบบ พิกัดฉาก 5. อ่านและแปลความหมาย ของกราฟบนระนาบในระบบ พิกัดฉากที่กำาหนดให้ ม.2 1. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว พร้อมทั้งตระหนักถึงความ สมเหตุสมผลของคำาตอบ · โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการ เชิงเส้น ตัวแปรเดียว 2. หาพิกัดของจุด และอธิบาย ลักษณะของรูปเรขาคณิตที่ เกิดขึ้นจากการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุน บนระนาบในระบบพิกัดฉาก · การเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนรูปเรขาคณิต บนระนาบในระบบพิกัดฉาก
  • 26. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน กลาง ม.3 1. ใช้ความรเู้กยี่วกับอสมการ เชิงเส้นตัวแปรเดียวในการ แก้ปัญหา พร้อมทั้ง ตระหนักถึงความสมเหตุสม ผลของคำาตอบ · อสมการเชิงเส้นตัวแปร เดียวและการนำาไปใช้ 2. เขียนกราฟแสดงความ เกี่ยวข้องระหว่างปริมาณ สองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิง เส้น · กราฟแสดงความเกี่ยวข้อง ระหว่างปริมาณสองชุดที่มี ความสัมพันธ์เชิงเส้น 3. เขียนกราฟของสมการเชิง เส้นสองตัวแปร · กราฟของสมการเชิงเส้น สองตัวแปร 4. อ่านและแปลความหมาย กราฟของระบบสมการเชิง เส้นสองตัวแปรและกราฟอื่น ๆ · กราฟของระบบสมการเชิง เส้นสอง ตัวแปร · กราฟอื่น ๆ 5. แก้ระบบสมการเชิงเส้นสอง ตัวแปร และนำาไปใช้แก้ ปัญหา พร้อมทั้งตระหนัก ถึงความสมเหตุสมผลของ คำาตอบ · ระบบสมการเชงิเสน้สองตวัแปร และการนำาไปใช้
  • 27. สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ ข้อมูล ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 – – ม.2 1. อ่านและนำาเสนอข้อมูล โดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม  แผนภูมิรูปวงกลม ม.3 1. กำาหนดประเด็น และเขียน ข้อคำาถามเกี่ยวกับปัญหา หรือสถานการณ์ต่าง ๆ รวมทั้งกำาหนดวิธีการศึกษา และการเก็บรวบรวมข้อมูล ที่เหมาะสม · การเก็บรวบรวมข้อมูล 2. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของ ข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจง ความถี่ และเลือกใช้ได้ อย่างเหมาะสม · ค่ากลางของข้อมูล และ การนำาไปใช้ 3. นำาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่ เหมาะสม · การนำาเสนอข้อมูล 4. อ่าน แปลความหมาย และวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ จากการนำาเสนอ · การวิเคราะห์ข้อมูลจาก การนำาเสนอ
  • 28. สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความ น่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้ อย่างสมเหตุสมผล ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่ กำาหนดให้ เหตุการณ์ใดจะ มีโอกาสเกิดขึ้นได้ มากกว่ากัน · โอกาสของเหตุการณ์ ม.2 1. อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่ กำาหนดให้ เหตุการณ์ใด เกิดขึ้นแน่นอน เหตุการณ์ ใดไม่เกิดขึ้นแน่นอน และ เหตุการณ์ใดมีโอกาสเกิด ขึ้นได้มากกว่ากัน · โอกาสของเหตุการณ์ ม.3 1. หาความน่าจะเป็นของ เหตุการณ์จากการทดลอง สุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาส เกิดขึ้น เท่า ๆ กัน และใช้ ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะ เป็นในการคาดการณ์ได้ อย่างสมเหตุสมผล · การทดลองสุ่มและ เหตุการณ์ · ความน่าจะเป็นของ เหตุการณ์ · การใช้ความรเู้กยี่วกับความ น่าจะเป็นในการคาดการณ์
  • 29. สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 5.3 : ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็น ช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 – – ม.2 – – ม.3 1. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ และความน่าจะเป็น ประกอบการตดัสนิใจใน สถานการณต์า่ง ๆ · การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ และ ความน่าจะเป็นประกอบ การตัดสินใจ 2. อภิปรายถึงความคลาด เคลื่อนที่อาจเกิดขึ้นได้จาก การนำาเสนอข้อมูลทางสถิติ
  • 30. สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้ เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์ และการนำาเสนอ การเชื่อมโยง ความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1– ม.3 1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ ปัญหา 2. ใช้ความรู้ ทักษะและ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีในการแก้ ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 3. ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจ และสรุปผลได้ อย่างเหมาะสม 4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำาเสนอ ได้อย่าง ถูกต้อง และชัดเจน 5. เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน คณิตศาสตร์ และนำาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับ ศาสตร์อื่น ๆ 6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ -
  • 32. ตารางวิเคราะห์การจัดรายวิชา โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำานวน 1.5 หน่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
  • 33. รายวิช า รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด คณิตศา สตร์ ค 211 01 1.5 1 1 จำานวนและ การดำาเนิน การ ค 1.1 ม.1/1 ระบุหรือยกตัวอย่าง และ เปรียบเทียบจำานวนเต็ม บวก จำานวนเต็มลบ ศูนย์ เศษส่วนและทศนิยม ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจเกี่ยวกับเลขยก กำาลังที่มีเลขชี้กำาลังเป็น จำานวนเต็มและเขียน แสดงจำานวนให้อยู่ในรูป สัญกรณ์ วิทยาศาสตร์(scientific motation) ค 1.2 ม.1/1 บวก, ลบ, คูณ และ หารจำานวนเต็มและนำาไป ใช้แก้ปัญหาตระหนัก ถึง ความสมเหตุสมผลของคำา ตอบอธิบายผลที่เกิดขึ้น จากการบวก ลบ คูณ หารและบอกความ สัมพันธ์ของการบวก การ ลบ การคูณ และการ หารของจำานวนเต็ม ค 1.2 ม.1/3 อธิบายผลที่เกิดขึ้นจาการ ยกกำาลังของจำานวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม ค 1.2 ม.1/4 คูณและหารเลขยกกำาลัง ที่มีฐานเดียวกันและ เลขชี้กำาลังเป็น จำานวนเต็ม
  • 34. รายวิช า รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด ค 1.4 ม.1/1 นำาความรู้และสมบัติเกี่ยว กับจำานวนเต็มไปใช้ใน การแก้ปัญหา 3 เรขาคณิต ค 3.1 ม.1/1 สร้างและบอกขั้นตอนการ สร้างพื้นฐานทาง เรขาคณิต ค 3.1 ม.1/2 สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ โดยใช้การสร้างพื้นฐาน ทางเรขาคณิต และบอก ขั้นตอนการสร้างโดยไม่ เน้นการพิสูจน์ ค 3.1 ม.1/3 สืบเสาะ สังเกต และคาด การณ์เกี่ยวกับสมบัติทาง เรขาคณิต 3 5 การ วิเคราะห์ ข้อมูลและ ความน่าจะ เป็น ค 5.2 ม.1/1 อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่ กำาหนดให้เหตุการณ์ใด จะมีโอกาสเกิดขึ้นได้ มากกว่ากัน 6 ทักษะและ กระบวนกา รทาง คณิตศาสต ร์ ค 6.1 ม.1/1 ใช้วิธีการที่หลากหลาย แก้ปัญหา ค 6.1 ม.1/2 ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวน การทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ ปัญหาได้อย่างเหมาะสม ค 6.1 ม.1/3 ให้เหตุผลประกอบการ การตัดสินใจและสรุปผล ได้อย่างเหมาะสม ค 6.1 ม.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย และนำาเสนอได้อย่างถูก ต้องและ ชัดเจน 6 รายวิช า รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด
  • 35. ตารางวิเคราะห์การจัดรายวิชา โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำานวน 1.5 หน่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระ ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด คณิตศาสต ร์ 2 ค 2110 2 1.5 2 1 จำานวน และการ ดำาเนินการ ค 1.1 ม.1/1 ระบุหรือยกตัวอย่างและ เปรียบเทียบจำานวนเต็ม บวก จำานวนเต็มลบ ศูนย์ เศษส่วนและ ทศนิยม 3
  • 36. ค 1.2 ม.1/2 บวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนและทศนิยม และ นำาไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคำาตอบ อธิบาย ผลที่เกิดขึ้นจากการบวก การลบ การคูณ การหาร และบอกความสัมพันธ์ ของการบวกกับการลบ การคูณกับการหารของ เศษส่วนและทศนิยม ค 1.3 ม.1/1 ใช้การประมาณค่าใน สถานการณ์ต่างๆได้อย่าง เหมาะสม รวมถึงใช้ใน การพิจารณาความสม เหตุสมผลของคำาตอบที่ ได้จากการคำานวณ 3 เรขาคณิต ค 3.1 ม.1/4 อธิบาย ลักษณะของรูปเรขาคณิต สามมิติจากภาพสองมิติที่ กำาหนดให้ ค 3.1 ม.1/5 ระบุภาพ สองมิติที่ได้จากการมอง ด้านหน้า (front view) ด้านข้าง (side view) หรือด้านบน (top view) ของรูปเรขาคณิตสามมิติ ที่กำาหนดให้ 3 รายวิชา รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระ ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด ค 3.1 ม.1/6 วาดหรือประดิษฐ์รูป เรขาคณิตสามมิติที่ ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ เมื่อกำาหนดภาพสองมิติที่
  • 37. ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้างและด้านบนให้ 4 6 พีชคณิต ทักษะและ กระบวนก ารทาง คณิตศาส ตร์ ค 4.1 ม.1/1 วิเคราะห์และอธิบายความ สัมพันธ์ของรูปแบบที่ กำาหนดให้ ค 4.2 ม.1/1 แก้สมการเชิงเส้นตัวแปร เดียวอย่างง่าย ค 4.2 ม.1/2 เขียนสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียวจาก สถานการณ์ หรือปัญหา อย่างง่าย ค 4.2 ม.1/3 แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ สมการเชิงเส้นตัวแปร เดียวอย่างง่าย พร้อมทั้ง ตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคำาตอบ ค 4.2 ม.1/4 เขียนกราฟบนระนาบใน ระบบพิกัดฉากแสดง ความเกี่ยวข้องของ ปริมาณสองชุดที่กำาหนด ให้ ค.4.2 ม.1/5 อ่านและแปลความหมาย ของกราฟบนระนาบใน ระบบพิกัดฉากที่กำาหนด ให้ ค 6.1 ม.1/1 ใช้วิธีการที่หลากหลาย แก้ปัญหา ค 6.1 ม.1/2 ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีในการแก้ ปัญหาได้อย่างเหมาะสม 6 6
  • 38. รายวิชา รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระ ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัว ชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด 6 ทักษะและ กระบวนก ารทาง คณิตศาส ตร์ ค 6.1 ม.1/3 ให้เหตุผลประกอบการ การตัดสินใจและสรุปผล ได้อย่างเหมาะสม ค 6.1 ม.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย และนำาเสนอได้อย่างถูก ต้องและ ชัดเจน ค 6.1 ม.1/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณืตศาสตร์และนำา ความรู้ หลักการกระบวน การทางคณิตศาสตร์ ไป เชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ ค 6.1 ม.1/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 6
  • 39. ตารางวิเคราะห์การจัดรายวิชา โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำานวน 1.5 หน่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระ ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด คณิตศาสต ร์3 ค 2210 1 1.5 1 1 จำานวน และการ ดำาเนินการ ค 1.1 ม.2/4 ใช้ความรู้เกี่ยวกับ อัตราส่วน สัดส่วน และ ร้อยละในการแก้โจทย์ ปัญหา 1 2 การวัด ค 2.1 ม.2/1 เปรียบเทียบหน่วย ความยาว หน่วยพื้นที่ใน ระบบเดียวกัน และต่าง ระบบและเลือกใช้หน่วย การวัดได้อย่างเหมาะสม ค 2.1 ม.2/2 คาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่ ปริมาตรและนำ้า หนักได้อย่างใกล้เคียง และอธิบายวิธีการที่ใช้ใน การคาดคะเน ค 2.1 ม.2/3 ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับ การวัดในสถานการณ์ ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ค 2.2 ม.2/1 ใช้ความรู้เกี่ยวกับความ ยาวและพื้นที่แก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่างๆ 4 3 เรขาคณิต ค 3.2 ม.2/1 ใช้สมบัติเกี่ยวกับความ เท่ากันทุกประการของรูป สามเหลี่ยมและสมบัติของ เส้นขนานในการให้ 3
  • 40. เหตุผลและแก้ปัญหา รายวิชา รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระ ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด ค 3.2 ม.2/3 เข้าใจเกี่ยวกับการแปลง ทางเรขาคณิตในเรื่อง การเลื่อนขนาน การ สะท้อน และการหมุน และการนำาไปใช้ ค 3.2 ม.2/4 บอกภาพที่เกิดขึ้นจาก การเลื่อนขนาน การ สะท้อนและการหมุนรูป ต้นแบบและอธิบายวิธีการ ที่จะได้ภาพที่ปรากฏเมื่อ กำาหนดรูปแบบและภาพ นั้นให้ 4 พีชคณิต ค 4.2 ม.2/2 หาพิกัดของจุด และ อธิบายลักษณะของรูป เรขาคณิตที่เกิดขึ้นจาก การเลื่อนขนาน การ สะท้อน และการหมุนบน ระนาบในระบบพิกัดฉาก 1 5 การ วิเคราะห์ ข้อมูลและ ความน่าจะ เป็น ค 5.1 ม.2/2 อ่านและนำาเสนอข้อมูล โดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม 1 6 ทักษะและ กระบวนก ารทาง คณิตศาส ตร์ ค 6.1 ม.2/1 ใช้วิธีการที่หลากหลาย แก้ปัญหา ค 6.1 ม.2/2 ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวน การทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ 6
  • 41. ปัญหาได้อย่างเหมาะสม ค 6.1 ม.2/3 ให้เหตุผลประกอบการ การตัดสินใจและสรุปผล ได้อย่างเหมาะสม ค 6.1 ม.2/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย และนำาเสนอได้อย่างถูก ต้องและ ชัดเจน รายวิชา รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระ ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด 6 ทักษะและ กระบวนก ารทาง คณิตศาส ตร์ ค 6.1 ม.2/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณืตศาสตร์และนำา ความรู้ หลักการกระบวน การทางคณิตศาสตร์ ไป เชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ ค 6.1 ม.2/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 6
  • 42. ตารางวิเคราะห์การจัดรายวิชา โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำานวน 1.5 หน่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระ ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด คณิตศาสต ร์4 ค 2210 2 1.5 2 1 จำานวน และการ ดำาเนินการ ค 1.1 ม.2/1 เขียนเศษส่วนในรูป ทศนิยมและเขียนทศนิยม ซำ้าในรูปเศษส่วน ค 1.1 ม.2/2 จำาแนกจำานวนจริงที่ กำาหนดให้และยก ตัวอย่างจำานวนตรรกยะ และจำานวนอตรรกยะ ค 1.1 ม.2/3 อธิบายและระบุรากที่สอง และรากที่สามของ จำานวนจริง ค 1.2 ม.2/1 หารากที่สองและรากที่ สามของจำานวนเต็มโดย การแยกตัวประกอบและ นำาไปใช้ในการแก้ปัญหา พร้อมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุสมผลของคำา ตอบ 7
  • 43. ค 1.2 ม.2.2 อธิบายผลที่เกิดขึ้นจาก การหารากที่สองและราก ที่สามของจำานวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม บอกความสัมพันธ์ของ การยกกำาลังกับการหา รากของจำานวนจริง ค 1.3 ม.2/1 หาค่าประมาณของรากที่ สองและรากที่สามของ จำานวนจริง และนำาไปใช้ ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้ง ตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคำาตอบ รายวิชา รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระ ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด ค 1.4 ม.2/1 บอกความเกี่ยวข้องของ จำานวน ตรรกยะและ จำานวนอตรรกยะ 3 เรขาคณิต ค 3.2 ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และบทกลับในการให้ เหตุผลและแก้ปัญหา 1 4 พีชคณิต ค 4.2 ม.2/1 แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ สมการเชิงเส้นตัวแปร เดียว พร้อมทั้งตระหนัก ถึงความสมเหตุสมผลของ คำาตอบ 1 5 การ วิเคราะห์ ข้อมูลและ ความน่าจะ เป็น ค 5.2 ม.2/1 อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่ กำาหนดให้ เหตุการณ์ใด เกิดขึ้นแน่นอน เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นไม่ แน่นอน และเหตุการณ์ ใดมีโอกาสเกิดขึ้นได้ 1
  • 44. มากกว่ากัน 6 ทักษะและ กระบวนก ารทาง คณิตศาส ตร์ ค 6.1 ม.2/1 ใช้วิธีการที่หลากหลาย แก้ปัญหา ค 6.1 ม.2/2 ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวน การทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ ปัญหาได้อย่างเหมาะสม ค 6.1 ม.2/3 ให้เหตุผลประกอบการ การตัดสินใจและสรุปผล ได้อย่างเหมาะสม ค 6.1 ม.2/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย และนำาเสนอได้อย่างถูก ต้องและ ชัดเจน ค 6.1 ม.2/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณืตศาสตร์และนำา ความรู้ หลักการกระบวน การทางคณิตศาสตร์ ไป เชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ 6 รายวิชา รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระ ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัว ชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด ทักษะและ กระบวนก ารทาง คณิตศาส ตร์ ค 6.1 ม.2/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  • 45. ตารางวิเคราะห์การจัดรายวิชา โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำานวน 1.5 หน่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา รหัส หน่วย กิต ภาค เรียน ที่ สาระ ที่ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด รวม ตัวชี้ วัด คณิตศาสต ร์5 ค 2310 1 1.5 1 2 การวัด ค 2.1 ม.3/1 หาพื้นที่ผิวของปริซึมและ ทรงกระบอก ค 2.1 ม.3/2 หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม 5