SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 2
ความนาจะเปน
( 18 ชั่วโมง )
เนื่องจากความนาจะเปนเปนเรื่องที่จะชวยใหผูเรียนรูจักการแกปญหาที่เกี่ยวของกับ
การคาดการณบางอยาง ดังนั้น การศึกษาเรื่องนี้จะชวยใหผูเรียนสามารถนําความรูในเรื่องนี้
ไปชวยในการตัดสินใจไดอยางมีหลักเกณฑมากขึ้น
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. หาจํานวนผลลัพธที่อาจเกิดขึ้นของเหตุการณโดยใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับและ
แผนภาพตนไมอยางงายได
2. อธิบายการทดลองสุม เหตุการณ ความนาจะเปนของเหตุการณ และหาความนาจะเปน
ของเหตุการณที่กําหนดใหได
3. นําความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนไปใชในการคาดการณและชวยในการตัดสินใจและ
แกปญหาได
ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น
ทางดานความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดาน
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรมแกปญหา หรือคําถาม
ที่เสริมสรางทักษะกระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยาง
เปนระบบ มีระเบียบวินัยมีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบมีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่น
ในตัวเอง
72
ขอเสนอแนะ
1. ในการใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับหาคําตอบของโจทยปญหานั้นผูสอน
ควรใหผูเรียนอานโจทยใหเขาใจวาในปญหานั้นกําหนดเงื่อนไขอะไรบาง การพิจารณาเงื่อนไข
ของปญหาจะชวยใหสามารถกําหนดขั้นตอนในการแกปญหา ซึ่งจะชวยใหสามารถหาคําตอบ
ไดงายขึ้น ดังตัวอยางตอไปนี้
ปญหาที่ 1 จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนบวก โดยที่
เลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากันไดทั้งสิ้นกี่จํานวน
วิธีคิด จากโจทยปญหาไดเงื่อนไข 3 ขอ คือ
1) ใหใชเลขโดดได 6 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4 และ 5
2) จํานวนที่ตองการเปนจํานวนบวกที่มีสามหลัก
3) เลขโดดในแตละหลักของแตละจํานวนที่ตองการ ตองไมซ้ํากัน
จากเงื่อนไขทั้งสามขอนี้นํามาพิจารณาประกอบการใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับ
การนับ เพื่อพิจารณาวาจะเขียนจํานวนที่ตองการไดกี่จํานวน โดยพิจารณาวิธีที่จะเขียน
เลขโดดในหลักตาง ๆ คือ หลักหนวย หลักสิบ และหลักรอย เนื่องจากการเขียนจํานวนที่มี
สามหลักนั้น หลักรอยตองไมใชเลขโดด 0 สวนหลักอื่น ๆ นั้นจะใชเลขโดดใดก็ไดใน 6 ตัว
ที่กําหนด การเริ่มแกปญหาจึงควรเริ่มดวยการหาจํานวนวิธีที่จะเขียนเลขโดดในหลักรอย
เพราะมีขอจํากัดมากกวาหลักอื่น ๆ ดังนั้น วิธีหาคําตอบปญหาขางตน ผูสอนอาจแนะนํา
ใหผูเรียนหาคําตอบตามขั้นตอนดังนี้
วิธีที่ 1 (1) ใหผูเรียนหาจํานวนวิธีที่จะเขียนเลขโดดในหลักรอย ซึ่งเทากับ 5 วิธี
(2) ใหผูเรียนหาวาในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักรอย จะเขียนเลขโดด
ในหลักสิบไดกี่วิธี ซึ่งจะไดคําตอบเทากับ 5 วิธี คือ ใชเลขโดด 5 ตัว ที่เหลือ
(3) ใหผูเรียนหาวาในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักรอยและหลักสิบ จะเขียน
เลขโดดในหลักหนวยไดกี่วิธี ซึ่งจะไดคําตอบเทากับ 4 วิธี คือ ใชเลขโดด
4 ตัว ที่เหลือ
73
จากนั้นจึงใหผูเรียนใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ จะไดวา จํานวนเต็มบวก
ที่มีสามหลักที่เขียนโดยใชเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่เลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากัน
มีทั้งสิ้น 5 × 5 × 4 = 100 จํานวน
วิธีหาคําตอบขางตนเปนเพียงวิธีหนึ่งเทานั้น สําหรับผูเรียนที่มีความสามารถทาง
คณิตศาสตรผูสอนอาจแนะนําใหลองหาคําตอบโดยวิธีอื่น ๆ ก็ได เชน พิจารณาโดยเริ่มจาก
การเขียนหลักหนวยกอน แตเนื่องจากจะมีปญหาวา เหลือ 0 อยูหรือไม จึงแยกกรณีพิจารณา
ดังตอไปนี้
วิธีที่ 2 ถาเริ่มเขียนตัวเลขในหลักหนวยกอน แยกกรณีพิจารณาไดดังนี้
(1) หาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนบวก และมี 0 อยูในหลักหนวยเขียนเลขโดดใน
หลักสิบได 5 วิธี
แตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักสิบ เขียนเลขโดดในหลักรอยได 4 วิธี
ดังนั้น จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนบวก และมี 0 อยูในหลักหนวย
และใชเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่เลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากัน
ได 1 × 5 × 4 = 20 จํานวน
(2) หาจํานวนที่มีสามหลักที่มี 0 อยูในหลักสิบ
ในทํานองเดียวกับขอ (1) จะไดวา จํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักในขอนี้
มีทั้งหมด 20 จํานวน
(3) หาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนบวกและไมมี 0 ปรากฏอยูเลย
จะไดวา มีทั้งหมด 5 × 4 × 3 = 60 จํานวน
จาก กรณีที่ (1), (2) และ (3) จะได จํานวนที่แตกตางกันทั้งหมด ดังนั้น จํานวน
ที่มีสามหลักที่เปนบวก ซึ่งไดจากการใชเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 เขียน โดยเลขโดดใน
แตละหลักไมซ้ํากัน มีทั้งสิ้น 20 + 20 + 60 = 100 จํานวน
74
ปญหาที่ 2 จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนบวกและเปน
จํานวนคี่ โดยที่เลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากัน ไดกี่จํานวน
วิธีคิด เงื่อนไขของปญหานี้เหมือนของปญหาที่ 1 แตเพิ่มเงื่อนไขอีกหนึ่งขอ คือ
จํานวนที่ตองการตองเปนจํานวนคี่ เงื่อนไขนี้มีผลตอจํานวนวิธีเขียนเลขโดดใน
หลักหนวย ถาเริ่มหาคําตอบโดยพิจารณาจํานวนวิธีที่จะเขียนเลขโดดในหลักรอย
กอนเชนเดียวกับ ในการแกปญหาที่ 1 จะพบวา เมื่อจะพิจารณาวา เลขโดดใน
หลักหนวยมีไดกี่วิธีจะมีปญหาเพราะใน 5 วิธีที่เขียนเลขโดดในหลักรอยนั้นมี 3 วิธี
ที่ใช 1, 3 และ 5 ไปแลว ดังนั้น วิธีหาคําตอบของปญหานี้ จึงควรพิจารณาวิธีเขียน
เลขโดดในหลักหนวยกอน แลวจึงพิจารณาจํานวนวิธีการเขียนเลขโดดในหลักรอย
จากนั้นจึงไปพิจารณาจํานวนวิธีเขียนเลขโดดในหลักสิบเปนอันดับสุดทายดังนี้
วิธีทํา เขียนเลขโดดในหลักหนวยไดตาง ๆ กัน 3 วิธี (คือเลขโดด 1, 3, 5)
ในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักหนวย เขียนเลขโดดในหลักรอยได 4 วิธี
(2, 4 และเลขโดดที่เปนจํานวนคี่ที่เหลืออีก 2 ตัว)
ในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักหนวยและหลักรอย เขียนเลขโดดในหลักสิบ
ได 4 วิธี (เลขโดดที่เหลือ 4 ตัวจากทั้งหมด 6 ตัว)
ดังนั้น การใชเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 เขียนจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลัก
ที่เปนจํานวนคี่ที่มีเลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากัน จะเขียนไดทั้งหมด
3 × 4 × 4 = 48 จํานวน
ปญหาที่ 3 จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 จะเขียนจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู
และเลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากัน ไดกี่จํานวน
วิธีคิด ปญหาที่ 3 นี้ ถาพิจารณาไมรอบคอบอาจจะสรุปวาใชวิธีการในทํานองเดียวกับที่ใช
ในการหาคําตอบปญหาที่ 2 คือ พิจารณาจํานวนวิธีเขียนเลขโดดในหลักหนวย
หลักรอย และหลักสิบ ตามลําดับ แตวิธีดังกลาวมีปญหาเพราะเลขโดดที่อาจใชใน
หลักหนวยมี 3 ตัว คือ 0, 2 และ 4 การที่เลขโดด 0 อาจถูกใชหรือไมถูกใชในการ
เขียนเลขโดดในหลักหนวยมีผลตอการพิจารณาจํานวนวิธีเขียนเลขโดดในหลักรอย
การหาคําตอบจึงอาจทําไดโดยการแยกกรณีพิจารณา เมื่อใช 0 ในหลักหนวย
และเมื่อไมไดใช 0 ในหลักหนวยดังนี้
75
วิธีทํา แยกกรณีและพิจารณาดังนี้
1. เมื่อเลขโดดในหลักหนวยเปน 0
เขียนเลขโดดในหลักรอยได 5 วิธี
ในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักรอย เขียนเลขโดดในหลักสิบได 4 วิธี
ดังนั้น จํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักที่หลักหนวยเปน 0 ที่เขียนโดยใช
เลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 และเลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากันมี
1 × 5 × 4 = 20 จํานวน
2. เมื่อเลขโดดในหลักหนวยไมใช 0
เขียนเลขโดดในหลักหนวยได 2 วิธี (คือ 2 หรือ 4)
ในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักหนวย เขียนเลขโดดในหลักรอยได 4 วิธี
(เลขโดดที่เหลือไมใชศูนย)
ในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักหนวยและเลขโดดในหลักรอย
เขียนเลขโดดในหลักสิบได 4 วิธี (เลขโดดที่ยังไมไดเขียนทั้งหมด)
ดังนั้น จํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูที่หลักหนวยไมเปน 0
และเขียนโดยใชเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 และเลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากัน
มี 2 × 4 × 4 = 32 จํานวน
ดังนั้น การใชเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 เขียนจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลัก
ที่เปนจํานวนคูโดยเลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากันเขียนไดทั้งหมด
20 + 32 = 52 จํานวน
หมายเหตุ ถาปญหาที่ 1, 2 และ 3 เปนปญหาที่ถามตอเนื่องกัน ดังนั้น การหา
คําตอบของปญหาที่ 3 อาจใชคําตอบของปญหาที่ 1 และ 2 ชวย โดยใชคําตอบ
ของปญหาที่ 2 ลบออกจากคําตอบของปญหาที่ 1 ก็ได
76
2. ในการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับการนับจํานวนวิธี บางกรณีก็ใชเฉพาะการคูณ
บางกรณีก็ใชการบวกดวย ซึ่งผูสอนควรอธิบายใหผูเรียนเขาใจลักษณะของโจทยที่จะตอง
ใชการคูณหรือการบวก การกระทําใด ๆ ที่ยังไมสิ้นสุดการคํานวณหาจํานวนวิธีสําหรับการ
กระทํานั้น ๆ เราใชการคูณ แตถาการกระทําใด ๆ สามารถแยกไดเปนหลายกรณีและแตละ
กรณีสิ้นสุดลงแลว ในการคํานวณหาจํานวนวิธีสําหรับการกระทํานั้นเราใชการบวกจํานวน
วิธีในแตละกรณีเขาดวยกัน ดังจะเห็นไดจากตัวอยางขางตนที่ใหหาจํานวนที่มีสามหลักที่เปน
จํานวนคู เราแยกเปนจํานวนคูที่ลงทายดวย 0 ซึ่งมี 20 จํานวน และจํานวนคูที่ไมลงทายดวย 0
ซึ่งมี 32 จํานวน เมื่อการคํานวณหาจํานวนวิธีทั้งสองกรณีสิ้นสุดลงแลว เมื่อเราตองการ
ทราบวา จํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูมีกี่จํานวน เราจึงนําจํานวนวิธีที่หาได
ในแตละกรณีมาบวกกันกลาวคือ มี 20 + 32 = 52 จํานวน ซึ่งจะเห็นวาในการคํานวณหา
จํานวนคูดังกลาวในแตละกรณีนั้น แตละขั้นตอนเปนการกระทําที่ตอเนื่องกัน เราจึงใชวิธี
คูณดังไดกลาวแลวในกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ
77
กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่ 1
จุดประสงค เพื่อใหผูเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาเรื่องกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ
ลักษณะกิจกรรม 1) ผูสอนแบงกลุมผูเรียนใหปฏิบัติในเรื่องเดียวกันโดยกําหนดให
เนื้อหาของแตละกลุมตางกัน
2) ผูสอนและผูเรียนชวยกันสรุปผลจากกิจกรรมของแตละกลุม
อุปกรณ กระดาษตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีพื้นที่รูปละ 1 ตารางหนวย ตอกัน
จํานวน 6 รูป ดังรูปที่ (1) และเมื่อพับกระดาษ จะไดลูกบาศกดังรูปที่ (2)
รูปที่ (1) รูปที่ (2)
กิจกรรม ผูสอนใหผูเรียนหาจํานวนวิธีที่จะเขียนตัวเลข 1 , 2 , 3 , 4 , 5 และ 6
แตละตัวลงบนดานแตละดานของลูกบาศกเพื่อใหผลบวกของจํานวนที่อยูบน
ดานตรงขามกันเทากับ 7 ผูสอนอาจใหขอแนะนําโดยใชคําถามดังนี้
ตัวอยางคําถาม
1) มีจํานวน 2 จํานวนใดที่มีผลบวกเทากับ 7
(ผูเรียนควรตอบไดวามี 1 + 6 , 2 + 5 และ 3 + 4)
2) ผูสอนใหผูเรียนพับกระดาษในรูปที่ (1) ใหเปนลูกบาศก ดานใดที่อยู
ตรงขามกัน ใหกําหนดตําแหนงของดานที่อยูตรงกันขามไวดังรูปตอไปนี้
78
ดานที่อยูตรงขามกันมีทั้งหมด 3 คู ไดแก ดานที่มีรูป ในตําแหนงที่ 1 และ 5
ดานที่มีรูป ในตําแหนงที่ 2 และ 4
และ ดานที่มีรูป ในตําแหนงที่ 3 และ 6
เมื่อทราบวา มีดานใดบางที่อยูตรงขามกันแลว จึงใหผูเรียนเขียนจํานวนลงบน
แตละดาน เพื่อใหผลบวกของจํานวนที่อยูบนดานตรงขามกันมีคาเทากับ 7
ตัวอยางวิธีเขียนจํานวนบนรูปที่ (1) เพื่อใหผลบวกของจํานวนที่อยูบนดาน
ตรงขามกันของลูกบาศกมีคาเทากับ 7
หมายเหตุ ผูสอนอาจจะแบงนักเรียนออกเปนกลุม ๆ โดยใหแตละกลุมหาจํานวนวิธี
ทั้งหมดที่มีจํานวนในตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งเปน 1, 2, 3, ... หรือ 6 เชน
ใหกลุมที่ 1 หาจํานวนวิธีทั้งหมดเมื่อกําหนดให 1 อยูในตําแหนงดังภาพ
จากนั้นผูสอนใชคําถามเพื่อชวยใหผูเรียนสรุปคําตอบไดดังนี้
1
ตําแหนงที่ 2
ตําแหนงที่ 1
ตําแหนงที่ 4
ตําแหนงที่ 5
ตําแหนงที่ 6
ตําแหนงที่ 3
1
2
6
43
5
2
3
5
61
4
3
1
4
52
6
79
คําถามที่ 1 ผูสอนถามผูเรียนวา มีวิธีเลือกเขียนจํานวน 1 - 6 ในตําแหนงที่กําหนด
ใหในภาพไดกี่วิธีจงอธิบาย
คําตอบ 6 วิธีคือ จะเขียนจํานวน 1 , 2 , 3 , 4 , 5 หรือ 6 จํานวนใดก็ได
คําถามที่ 2 เมื่อผูเรียนเลือกจํานวนที่ตองการมาหนึ่งจํานวนและเขียนลงใน
ตําแหนงที่กําหนดใหในภาพ แลวผูเรียนจะเลือกเขียนจํานวนที่อยูใน
ตําแหนงที่อยูในดานตรงกันขามไดกี่วิธี เพราะเหตุใด
คําตอบ 1 วิธี เพราะจะตองเลือกจํานวนที่นําไปบวกกับจํานวนที่เลือกไว
แลวใหมีผลบวกเทากับ 7 เชน
คําถามที่ 3 เมื่อเลือกจํานวนไปแลวสองจํานวน ผูเรียนจะเลือกจํานวนมาเขียนในตําแหนง
ที่สาม และตําแหนงที่หกไดกี่วิธี
คําตอบ จะตองเลือกจํานวนใดจํานวนหนึ่งจากจํานวนที่เหลือ 4 จํานวน หรือเลือกได
4 วิธี มาเขียนในตําแหนงที่สาม และเลือกจํานวนที่นํามาบวกกับจํานวนที่อยูใน
ตําแหนงที่สาม แลวมีผลบวกเทากับ 7 มาเขียนในตําแหนงที่หกไดอีก 1 วิธี
1
6
ตําแหนงที่ 1
ตําแหนงที่ 5
1
6
ตําแหนงที่ 3
ตําแหนงที่ 6
80
คําถามที่ 4 จากจํานวนที่เหลือผูเรียนจะเลือกจํานวนมาเขียนในตําแหนงที่สอง และ
ตําแหนงที่สี่ไดกี่วิธี
คําตอบ จะตองเลือกจํานวนใดจํานวนหนึ่งจากจํานวนที่เหลือ 2 จํานวน หรือเลือกได
2 วิธี มาเขียนในตําแหนงที่สองและนําจํานวนที่เหลือมาเขียนในตําแหนงที่สี่
ไดอีก 1 วิธี ตัวอยางเชน
ถาใหจํานวน 1 อยูในตําแหนงที่หนึ่ง ในตําแหนงที่หา จะตองเลือก 6 ซึ่ง
เลือกได 1 วิธี
ในตําแหนงที่สามจะเลือก 2 , 3 , 4 หรือ 5 ก็ไดรวม 4 วิธี เชน
ถาเลือก 2 ในตําแหนงที่สามจะตองเลือก 5 มาเขียนในตําแหนงที่หก
1
6
1
2
6
5
81
ในตําแหนงที่สองจะมีจํานวนใหเลือก คือ จํานวนที่เหลืออีก 2 จํานวนคือ 3
หรือ 4 ซึ่งเขียนไดทั้งหมดสองวิธีดังนี้
หรือ
จากคําตอบที่ไดผูสอนและผูเรียนชวยกันเขียนขอสรุปในตารางดังนี้
ตําแหนงที่ 1 2 3 4 5 6
จํานวนวิธีที่เลือก 6 2 4 1 1 1
ผูสอนถามผูเรียนวา จํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวน 1 ถึง 6 บนลูกบาศก
เพื่อใหผลบวกของจํานวนที่อยูบนดานตรงขามเทากับ 7 มีทั้งหมดเทาใด
ผูเรียนควรสรุปคําตอบโดยใชคําตอบที่ไดจากการทํากิจกรรมประกอบของแตละกลุม
ซึ่งคําตอบเทากับ 48 หรือ 6 × 2 × 4 วิธี
3 4 4 3
82
ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. เมือง ก. เมือง ข. และเมือง ค. มีถนนเชื่อมระหวางเมืองทั้งสามดังรูป
จงหาจํานวนวิธีที่จะเลือกเสนทางจากเมือง ก. ไปเมือง ค.
2. รานอาหารแหงหนึ่งจัดรายการอาหารไวดังนี้
อาหารคาว 8 ชนิด
อาหารหวาน 5 ชนิด
ผลไม 3 ชนิด
เครื่องดื่ม 3 ชนิด
ถาตองการจัดรายการอาหารที่มีอาหารคาว อาหารหวาน ผลไม และเครื่องดื่ม อยางละ
1 ชนิด จะจัดรายการอาหารที่แตกตางกันไดทั้งหมดกี่วิธี
3. 1) จงเขียนแผนภาพตนไม เพื่อแสดงบุตรชาย หรือหญิงของครอบครัวที่มีบุตร
สองคนและ
(1) มีบุตรคนแรกเปนชาย
(2) มีบุตรคนแรกเปนหญิง
2) จงหาความนาจะเปนที่ครอบครัวหนึ่งจะมีบุตรสามคนโดยที่
(1) บุตรทั้งสามเปนบุตรชาย
(2) เปนบุตรชายอยางนอย 1 คน
(3) ไมมีบุตรชายเลย
•
•
•ก.
ข.
ค.
83
4. หยิบแผนปายสามแผนทีละแผนออกจากกลองโดยไมใสคืน แผนปายสามแผนเขียนอักษร
ไวดังนี้
แผนที่ 1 เขียนอักษร ช
แผนที่ 2 เขียนอักษร น
แผนที่ 3 เขียนอักษร ว
จงหาความนาจะเปนที่แผนปายที่หยิบไดครั้งที่ 1, 2 และ 3 จะอานวา “ชวน”
5.
ทอดลูกเตาทรงสี่หนาสองลูกที่มีดานแตละดานเปนรูปสามเหลี่ยมดานเทาและมีตัวเลข
1, 2, 3 และ 4 เขียนไวบนหนาลูกเตาหนาละหนึ่งจํานวน
1) จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดที่ผลบวกของแตมที่อยูบนหนาที่สัมผัสกับพื้นจะเทากับ
2, 3, 4, 5, 6, 7 หรือ 8
ผลบวก 2 3 4 5 6 7 8
จํานวนวิธี
2) จงหาความนาจะเปนที่ผลบวกของแตมนอยกวา 4
3) จงหาความนาจะเปนที่ผลบวกของแตมมีคาไมเกิน 4
4) จงหาความนาจะเปนที่ผลบวกของแตมไมเทากับ 5
5) จงหาความนาจะเปนที่ผลบวกของแตมเทากับ 2 หรือ 3
84
เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. ถากําหนดให a, b และ c แทนเสนทางแตละเสนทางจากเมือง ก ไปเมือง ข และ
x, y แทนเสนทางแตละเสนทางจากเมือง ข ไปเมือง ค จะแสดงการเดินทางจากเมือง ก
ไปเมือง ค ดังภาพ
เมือง ก เมือง ข เมือง ค เสนทาง
สรุปวา จํานวนวิธีที่จะเลือกเสนทางจากเมือง ก ไปเมือง ค มีทั้งหมด 3 × 2 หรือ 6 วิธี
2. มีวิธีจัดอาหารไดทั้งหมด 8 × 5 × 3 × 3 หรือ 360 วิธี
a
b
c
x
y
x
y
x
y
ax
ay
bx
by
cx
cy
•
•ก
ข
คa
b
c
x
y
85
3. 1) บุตรคนแรก บุตรคนที่สอง บุตรคนแรก บุตรคนที่สอง
(1) (2)
2) บุตรคนแรก บุตรคนที่สอง บุตรคนที่สาม
ให E1, E2 และ E3 แทนเหตุการณในขอ (1), (2) และ (3)
S = {(ช, ช, ช), (ช, ช, ญ), (ช, ญ, ช), (ช, ญ, ญ),
(ญ, ช, ช), (ญ, ช, ญ), (ญ, ญ, ช), (ญ, ญ, ญ)}
E1 = {(ช, ช, ช)}
E2 = {(ช, ช, ช), (ช, ช, ญ), (ช, ญ, ช), (ช, ญ, ญ), (ญ, ช, ช),
(ญ, ช, ญ), (ญ, ญ, ช)}
E3 = {(ญ, ญ, ญ)}
(1) P(E1) = 1
8
(2) P(E2) = 7
8
(3) P(E3) = 1
8
ช
ญ
ช
ช
ญ
ช
ช
ญ
ช
ญ
ช
ญ
ญ
ช
ญ
ช
ญ
ช
ญ
ญ
86
4. จํานวนวิธีที่จะหยิบแผนปายสามแผนทีละแผนมีไดทั้งหมด 3 × 2 × 1 หรือ 6 วิธี
จํานวนวิธีที่จะหยิบแผนปายครั้งที่ 1, 2 และ 3 แลวไดอักษร ช, ว และ น มีไดทั้งหมด
1 × 1 × 1 หรือ 1 วิธี
ดังนั้น ความนาจะเปนที่แผนปายที่หยิบไดครั้งที่ 1, 2 และ 3 จะอานไดวา “ชวน”
เทากับ 1
6
5. ผลบวกที่จะเกิดจากการทอดลูกเตาสองลูกจะเทากับ 2, 3, 4, 5, 6, 7 หรือ 8
จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะไดผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองลูกเทากับ 4 × 4
หรือ 16 วิธี หรือหาจํานวนวิธีที่จะไดผลบวกทั้งหมดโดยใชตารางดังนี้
1 2 3 4
1 (1, 1) (1, 2) (1, 3) (1, 4)
2 (2, 1) (2, 2) (2, 3) (2, 4)
3 (3, 1) (3, 2) (3, 3) (3, 4)
4 (4, 1) (4, 2) (4, 3) (4, 4)
จากตารางขางตนจะเห็นวา
วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 2 คือ (1, 1) มี 1 วิธี
วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 3 คือ (1, 2), (2, 1) มี 2 วิธี
วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 4 คือ (1, 3), (3, 1), (2, 2) มี 3 วิธี
วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 5 คือ (1, 4), (4, 1), (2, 3), (3, 2) มี 4 วิธี
วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 6 คือ (2, 4), (4, 2), (3, 3) มี 3 วิธี
วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 7 คือ (3, 4), (4, 3) มี 2 วิธี
วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 8 คือ (4, 4) มี 1 วิธี
รวม 16 วิธี
87
ผลบวก 2 3 4 5 6 7 8
จํานวนวิธี 1 2 3 4 3 2 1
ให E1, E2, E3 และ E4 เปนเหตุการณในขอ 2), 3), 4) และ 5)
2) P(E1) = 3
16
3) P(E2) = 6
16
หรือ 3
8
4) P(E3) = 12
16
หรือ 3
4
5) P(E4) = 3
16
เฉลยแบบฝกหัด 2.1
1. เสนทางที่จะขับรถจากกรุงเทพฯ ถึงนครราชสีมาโดยผานลพบุรีที่ตางกันมีทั้งหมด
3 × 4 หรือ 12 เสนทาง
ใชแผนภาพตนไมแสดงเสนทางการเดินทางขางตนไดดังนี้
ให ล1, ล2 และ ล3 แทนถนนจากกรุงเทพฯ ถึงลพบุรีซึ่งมี 3 สาย
ให น1, น2, น3 และ น4 แทนถนนจากลพบุรีถึงนครราชสีมาซึ่งมี 4 สาย
88
น1
น2
น3
น4
น1
น2
น3
น4
น1
น2
น3
น4
จะเห็นไดวามีวิธีเลือกเสนทางจากกรุงเทพฯ ถึงนครราชสีมาโดยผานลพบุรีไดทั้งหมด
12 วิธี คือ (ล1, น1), (ล1, น2), (ล1, น3), (ล1, น4), (ล2, น1), (ล2, น2), (ล2, น3),
(ล2, น4), (ล3, น1), (ล3, น2), (ล3, น3), (ล3, น4)
2. ให ห1, ห2 และ ห3 แทนเหรียญที่ 1, 2 และ 3 ขึ้นหัว
ก1, ก2 และ ก3 แทนเหรียญที่ 1, 2 และ 3 ขึ้นกอย
ผลที่เกิดจากการโยนเหรียญแตละครั้งจะเปนหัวหรือกอย มี 2 วิธี
ดังนั้น การโยนเหรียญสามเหรียญจะไดผลตางกันทั้งหมด 2 × 2 × 2 = 8 วิธี
ล1
ล2
ล3
กรุงเทพฯ
ห1
ก1
ห2
ก2
ห2
ก2
ห3
ก3
ห3
ก3
ห3
ก3
ห3
ก3
89
3. ตองใชเสื้อทั้งหมดเทากับ 4 × 6 × 3 = 72 ตัว
4. คําตอบของขอแรกมีวิธีใหเลือก 2 วิธี
ในแตละวิธีเลือกคําตอบขอแรกจะมีวิธีเลือกคําตอบขอสอง 2 วิธี
ในแตละวิธีที่เลือกคําตอบขอแรกและขอสองจะมีวิธีเลือกคําตอบขอสามได 2 วิธี
ในแตละวิธีที่เลือกคําตอบขอแรกถึงขอสามจะมีวิธีเลือกคําตอบขอสามได 2 วิธี
M M
ในแตละวิธีที่เลือกคําตอบขอแรกถึงขอเกาจะมีวิธีเลือกคําตอบขอสิบ 2 วิธี
ดังนั้น จะมีวิธีตอบขอสอบชุดนี้ไดตาง ๆ กัน 2 ⋅ 2 ⋅ ... ⋅ 2 = 210
= 1024 วิธี
5. หมายเลขโทรศัพทประกอบดวยเลขโดด 9 ตัว ซึ่งไดแก 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9
ตําแหนงที่ 1 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 0
ตําแหนงที่ 2 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 2
ตําแหนงที่ 3 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 3
ตําแหนงที่ 4 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 9
ตําแหนงที่ 5 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 2
ตําแหนงที่ 6, 7, 8 และ 9 แตละตําแหนงอาจเปนเลขโดดตัวใดตัวหนึ่งจาก 0 – 9
ซึ่งเปนไปได 10 วิธี
ดังนั้น หมายเลขโทรศัพทที่หาตัวแรกเปน 02392 มีไดทั้งหมด
1 × 1 × 1 × 1 × 1 × 10 × 10 × 10 × 10 = 10,000 หมายเลข
6. จํานวนวิธีที่จะเขาสนามกีฬาโดยใชประตูใดประตูหนึ่ง มีได 4 วิธี
จํานวนวิธีที่จะออกจากสนามกีฬาโดยใชประตูที่ไมซ้ํากับประตูที่เขามา มีได 3 วิธี
ดังนั้น จํานวนวิธีเขาและออกจากสนามกีฬาแหงนี้มีไดทั้งหมด 4 × 3 = 12 วิธี
7. 1) ผลที่ไดจากการทอดลูกเตาลูกแรกมี 6 วิธี คือ 1, 2, 3, 4, 5, 6 และในแตละ
วิธีของผลที่ไดจากการทอดลูกเตาลูกแรก จํานวนวิธีที่แตมที่ไดตรงกันมีได 1 วิธี
ดังนั้น วิธีที่จะใหจํานวนแตมตรงกันมี 6 × 1 = 6 วิธี
90
2) การที่ผลรวมของแตมบนหนาลูกเตาสองลูกจะเทากับ 10 มี 3 วิธี คือ แตมของ
ลูกเตาลูกแรกเปน 4, 5 หรือ 6 (เพราะแตม 1, 2, 3 ไมมีโอกาสที่จะรวมกับ
แตมของลูกที่สองแลวเทากับ 10) และในแตละวิธีของการทอดลูกเตาลูกแรก
จะไดผลรวมของแตมเทากับ 10 มีเพียง 1 วิธี คือ 4 และ 6, 5 และ 5, 6 และ 4
ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะไดผลรวมของแตมเทากับสิบมีได 3 วิธี
3) ในแตละครั้งที่ปรากฏผลจากการทอดลูกสองลูกพรอมกัน การที่แตมของ
ลูกเตาลูกที่สองจะตางจากลูกแรกมีได 5 วิธี
แตเนื่องจากในการทอดลูกเตาลูกแรกจะปรากฏผลไดทั้งหมด 6 วิธี
ดังนั้น จํานวนวิธีที่แตมของลูกเตาสองลูกตางกันเทากับ 6 × 5 = 30 วิธี
4) จํานวนวิธีที่เกิดผลลัพธทั้งหมดในการทอดลูกเตา 2 ลูกมี 6 × 6 หรือ 36 วิธี
จํานวนวิธีทั้งหมดที่ผลรวมของแตมเทากับสิบมี 3 วิธีคือ 4 + 6, 5 + 5, 6 + 4
จํานวนวิธีทั้งหมดที่ผลรวมของแตมเทากับสิบเอ็ดมี 2 วิธี คือ 5 + 6, 6 + 5
จํานวนวิธีทั้งหมดที่ผลรวมของแตมเทากับสิบสองมี 1 วิธี คือ 6 + 6
จะไดวา จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะไดผลลัพธมากกวาหรือเทากับสิบจะเทากับ
3 + 2 + 1 หรือ 6 วิธี
ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะไดผลรวมของแตมนอยกวาสิบมี 36 – 6 หรือ 30 วิธี
8. เลขโดดในหลักทั้งสี่ตางเปนสมาชิกของเซต S = {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9}
1) ในหลักพันจะมีเลขโดดที่เปนไปได 9 วิธี คือ เปนสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของเซต S
ก็ได ยกเวน 0
ในหลักรอยจะมีเลขโดดที่เปนไปได 10 วิธี คือ เปนสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของเซต S
ในหลักสิบจะมีเลขโดดเปนไปได 10 วิธี คือ เปนสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของเซต S
ในหลักหนวยจะมีเลขโดดที่เปนไปได 10 วิธี คือ เปนสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของเซต S
ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนเต็มบวกซึ่งมีสี่หลักมีทั้งหมดเทากับ
9 × 10 × 10 × 10 หรือ 9,000 วิธี
91
2) จํานวนคี่ใด ๆ จะตองมีหลักหนวยเปน 1, 3, 5, 7, 9 ซึ่งมีได 5 วิธี
ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนคี่บวกซึ่งเปนจํานวนที่มีสี่หลักมีทั้งหมด
9 × 10 × 10 × 5 = 4,500 วิธี
3) จํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนเต็มบวกที่มีสี่หลักและมีหลักหนวยเปน 0
มีทั้งหมด 9 × 10 × 10 × 1 = 900 วิธี
9. ทะเบียนรถยนตประกอบดวยพยัญชนะ 1 ตัว และเลขโดดอีก 4 ตัว
ดังนั้น จํานวนทะเบียนรถที่จะมีไดทั้งหมด 44 × 104
ทะเบียน
แตถาคิดวาหมายเลข 0000 ซึ่งมีทั้งหมด 44 รายการ กองทะเบียนจะไมออก
ทะเบียนให จะมีทะเบียนรถยนตไดทั้งหมด 44(104
– 1) ทะเบียน
ในกรณีที่กองทะเบียนรถยนตเปลี่ยนระบบใหมโดยใชตัวเลข 1 ถึง 9 นําหนา
พยัญชนะและตามดวยเลขโดด 4 ตัว
ดังนั้น ในระบบใหมกองทะเบียนจะออกทะเบียนไดทั้งหมด (9)(44)(104
– 1) ทะเบียน
นั่นคือ กองทะเบียนจะออกหมายเลขทะเบียนรถยนตเพิ่มขึ้นจากเดิมได
9 × 44(104
– 1) – 44(104
– 1) = 44(104
– 1)(9 – 1)
= 352(104
– 1) ทะเบียน
= 3,519,648 ทะเบียน
10. จํานวนทะเบียนที่มีตัวเลข 1 หลัก มีได 9 แบบ (1 – 9)
จํานวนทะเบียนที่มีตัวเลข 2 หลัก มีได 90 แบบ (10 – 99)
จํานวนทะเบียนที่มีตัวเลข 3 หลัก มีได 900 แบบ (100 – 999)
จํานวนทะเบียนที่มีตัวเลข 4 หลัก มีได 9000 แบบ (1000 – 9999)
ดังนั้น จํานวนหมายเลขทะเบียนที่แตกตางกันมีไดทั้งหมด 44 × 44 × 9999
หรือ 19,358,064 ทะเบียน
11. มีวิธีเขียนจํานวนเต็มบวกที่มีสองหลักจากตัวเลข 1 ถึง 7 ได 7 × 7 = 49
92
12. 1) จํานวนคูจะตองมีหลักหนวยเปน 2, 4, 6, 8
เนื่องจากจํานวนคูที่ตองการใหเลือกจากเลขโดด 2 – 9 ซึ่งมีทั้งหมด 8 ตัว
ดังนั้น การเขียนจํานวนคูซึ่งเปนจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักจากเลขโดดที่กําหนด
ใหเขียนไดทั้งหมด 8 × 8 × 4 = 256 วิธี
2) จํานวนคี่จะตองมีหลักหนวยเปน 1, 3, 5, 7
ดังนั้น การเขียนจํานวนคี่ซึ่งเปนจํานวนเต็มบวกที่มีสี่หลักจากเลขโดดที่กําหนด
ใหเขียนไดทั้งหมด 8 × 8 × 8 × 4 = 2,048 วิธี
13. จํานวนวิธีทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการทอดลูกเตาสามลูก มีทั้งหมด 6 × 6 × 6
หรือ 216 วิธี
ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสามที่นอยกวาหรือเทากับ 4 มีทั้งหมด 4 วิธี ดังนี้
แตมบนหนาลูกเตา
ลูกที่ 1 ลูกที่ 2 ลูกที่ 3
ผลรวม
ของแตม
1
1
1
2
1
1
2
1
1
2
1
1
3
4
4
4
ดังนั้น จํานวนวิธีที่ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาสามลูกมากกวาสี่ เทากับ 216 – 4
หรือ 212 วิธี
14. เนื่องจากจํานวนนับที่เปนจํานวนสามหลักที่มากกวา 400 จะตองมีเลขโดดในหลักรอย
เปน 4 หรือ 5 การเขียนจํานวนดังกลาวมีได 2 วิธี
ดังนั้น จํานวนนับที่มีสามหลักที่ตองการจะมีได 2 × 3 × 2 = 12 จํานวน
จํานวนนับที่มีสี่หลักมีได 4 × 3 × 2 ×1 = 24 จํานวน
นั่นคือ จํานวนนับที่มากกวา 400 และเปนจํานวนไมเกินสี่หลักตามตองการ
มีทั้งหมด 12 + 24 = 36 จํานวน
93
เฉลยแบบฝกหัด 2.2
1. มีถุงเทา 4 คู เปนถุงเทาสีดํา 2 คู ใหเปน ด1, ด2 และเปนถุงเทาสีขาว 2 คู
ใหเปน ข1, ข2
ดังนั้น S = {(ด1, ด2), (ด1, ข1), (ด1, ข2), (ด2, ข1), (ด2, ข2), (ข1, ข2)}
E เปนเหตุการณที่จะหยิบถุงเทาสองคูใหไดสีเดียวกัน
นั่นคือ E = {(ด1, ด2), (ข1, ข2)}
ดังนั้น P(E) = 2
6
หรือ 1
3
2. มีนักเรียนทั้งหมด 30 คน เปนนักเรียนชาย 18 คน นักเรียนหญิง 12 คน
1) ความนาจะเปนที่จะจับสลากใบแรกเปนนักเรียนชายเทากับ 18
30
= 3
5
2) ความนาจะเปนที่จะจับสลากใบแรกเปนนักเรียนหญิงเทากับ 12
30
= 2
5
3. มีเบี้ย 6 อัน แตละอันเขียนตัวเลข 3, 4, 7, 9, 10, 11 กํากับไว
1) เบี้ยที่เขียนเปนจํานวนคูไวมีสองอันคือ 4 และ 10
ดังนั้น โอกาสที่จะไดเบี้ยที่มีตัวเลขที่เปนจํานวนคูเทากับ 2
6
หรือ 1
3
2) เบี้ยที่เขียนเปนจํานวนเฉพาะไวมี 3 อัน คือ 3 , 7 และ 11
ดังนั้น โอกาสที่จะไดเบี้ยที่มีตัวเลขที่เปนจํานวนเฉพาะเทากับ 3
6
หรือ 1
2
3) เบี้ยที่เขียนเปนจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว มี 2 อัน คือ 3 และ 9
ดังนั้น โอกาสที่จะไดเบี้ยที่มีตัวเลขที่เปนจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัวเทากับ
2
6
หรือ 1
3
4) เบี้ยที่เขียนตัวเลขที่เปนจํานวนที่เปนกําลังสองสมบูรณมี 2 อัน
คือ 4 และ 9
ดังนั้น โอกาสที่จะไดเบี้ยที่มีตัวเลขที่เปนจํานวนที่เปนกําลังสองสมบูรณ
เทากับ 2
6
หรือ 1
3
94
4. เหรียญบาท 100 เหรียญ แตละเหรียญเขียนตัวเลขกํากับไวตั้งแต 1 ถึง 100
1) ให E1 เปนเหตุการณที่จะสุมเหรียญแลวไดตัวเลขบนเหรียญเปนจํานวนคู
จะได E1 = {2, 4, 6, ..., 98, 100}
P(E1) = 50
100
= 1
2
2) ให E2 เปนเหตุการณที่จะสุมเหรียญแลวไดตัวเลขบนเหรียญเปนจํานวน
ที่มีรากที่สองเปนจํานวนเต็ม
จะได E2 = {1, 4, 9, 16, 25, 36, 49, 64, 81, 100}
P(E2) = 10
100
= 1
10
3) ให E3 เปนเหตุการณที่จะสุมเหรียญแลวไดตัวเลขบนเหรียญเปนจํานวน
ที่หารดวย 5 ลงตัว
จะได E3 = {5, 10, 15, 20, 25, ...., 90, 95, 100}
P(E3) = 20
100
= 1
5
4) เนื่องจาก 1 ถึง 100 มีจํานวนที่เปนจํานวนคี่อยู 50 จํานวน
พิจารณาจํานวนคูที่มีคาตั้งแต 1 ถึง 100 และหารดวย 3 ลงตัว จะพบวา
จํานวนดังกลาวเขียนไดในรูปลําดับเลขคณิต 6, 12, 18, 24, ..., 96
จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 6 และ d = 6
จะได 96 = 6 + (n – 1)6
96 = 6 + 6n – 6
n = 16
ดังนั้น จํานวนคี่หรือจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว ซึ่งมีคาตั้งแต 1 ถึง 100
มีทั้งหมด 50 + 16 หรือ 66 จํานวน
นั่นคือ ความนาจะเปนที่ตัวเลขที่เขียนกํากับเหรียญที่หยิบไดจะเปนจํานวนคี่
หรือจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว เทากับ 66
100
หรือ 33
50
95
5. ในงานปใหมของอําเภอหนึ่ง มีการขายสลากจํานวน 1,000 ใบ
1) ถาซื้อสลาก 1 ใบ ความนาจะเปนที่จะถูกรางวัลที่ 1 เปน 1
1,000
2) ถาซื้อสลาก 10 ใบ ความนาจะเปนที่จะถูกรางวัลที่ 1 เปน 10
1,000
= 1
100
6. 1) 7
20
2) จํานวนนักเรียนที่สวมรองเทาที่เล็กกวาเบอร 8 มี 3 + 12 + 35 หรือ 50 คน
ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะสวมรองเทาขนาดเล็กกวาเบอร 8 เทากับ
50
100
หรือ 1
2
3) จํานวนนักเรียนที่สวมรองเทาเบอร 8 หรือ 9 มี 27 + 16 = 43 คน
ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะสวมรองเทาขนาดเบอร 8 หรือเบอร 9
เทากับ 43
100
4) จํานวนนักเรียนที่สวมรองเทาเบอร 5 หรือ 10 มี 3 + 7 หรือ 10 คน
ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะสวมรองเทาขนาดเบอร 5 หรือเบอร 10
เทากับ 1
10
5) จํานวนนักเรียนที่สวมรองเทาใหญกวาเบอร 7 มี 27 + 16 + 7 หรือ 50 คน
ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะสวมรองเทาขนาดเบอร ใหญกวาเบอร 7
เทากับ 50
100
หรือ 1
2
7. ใหหลอดไฟที่ดี 3 หลอด แทนดวย ด1, ด2 และ ด3
หลอดไฟที่เสีย 2 หลอด แทนดวย ส1 และ ส2
ถาหยิบหลอดไฟสองหลอดจะปรากฏผลไดทั้งหมด 10 วิธี ดังนี้
ด1 และ ด2 * ด2 และ ส1
ด1 และ ด3 * ด2 และ ส2
ด2 และ ด3 * ด3 และ ส1
* ด1 และ ส1 * ด3 และ ส2
* ด1 และ ส2 ส1 และ ส2
จากผลขางตนจะพบวา ความนาจะเปนที่จะหยิบไดหลอดดีและหลอดเสีย
อยางละ 1 หลอด เทากับ 6
10
หรือ 3
5
96
8. ถุงใบหนึ่งมีลูกปงปองสีแดง 15 ลูก สีขาว 1 ลูก สีเหลือง 1 ลูก สีเขียว 1 ลูก
สีฟา 1 ลูก และสีดํา 1 ลูก รวมทั้งหมด 20 ลูก
1) ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีแดงเทากับ 15
20
หรือ 3
4
2) ความนาจะเปนที่จะหยิบไมไดลูกบอลสีดําเทากับ 19
20
3) ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีดําหรือสีขาว 2
20
หรือ 1
10
9. ความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มน้ําผลไมเทากับ 1
4
หรือ 0.25
ความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มนมเทากับ 2
5
หรือ 0.4
ความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มน้ํานมถั่วเหลืองเทากับ 1
20
หรือ 0.05
ความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มน้ําอัดลมเทากับ 3
10
หรือ 0.3
1) เนื่องจากความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มนมเทากับ 0.4
ซึ่งมีคามากที่สุด
ดังนั้น นมเปนเครื่องดื่มที่ขายดีที่สุด
2) เนื่องจากความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มน้ํานมถั่วเหลือง
เทากับ 0.05 ซึ่งมีคานอยที่สุด
ดังนั้น น้ํานมถั่วเหลืองเปนเครื่องดื่มที่ขายไดนอยที่สุด
3) เมื่อเรียงลําดับคาของความนาจะเปนขางตน จะพบวา ความนิยมของเครื่องดื่ม
ที่ขายดีมากที่สุดไปนอยที่สุดเปนดังนี้
นม น้ําอัดลม น้ําผลไม และน้ํานมถั่วเหลือง
10. 1) ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่ตัวเลข 1 เทากับ 1
10
2) ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่ตัวเลข 6 เทากับ 2
10
หรือ 1
5
3) ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่จํานวนคู เทากับ 6
10
หรือ 3
5
4) ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่จํานวนคี่ เทากับ 4
10
หรือ 2
5
5) ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่จํานวนเฉพาะเทากับ 5
10
หรือ 1
2
6) ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่จํานวนที่มีคามากกวา 4 เทากับ 4
10
หรือ 2
5

More Related Content

What's hot

ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
Prachoom Rangkasikorn
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนWan Ngamwongwan
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
kanjana2536
 
ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 07
 ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 07 ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 07
ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 07
menton00
 
งาน Tomtam
งาน Tomtamงาน Tomtam
งาน Tomtam
tammatura
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
อนุชิต ไชยชมพู
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
menton00
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อแผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
tassanee chaicharoen
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
Janchai Pokmoonphon
 
การแปรผันไม่อยากอย่างที่คิด
การแปรผันไม่อยากอย่างที่คิดการแปรผันไม่อยากอย่างที่คิด
การแปรผันไม่อยากอย่างที่คิดI'am Son
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
Aun Wny
 
Function
FunctionFunction
Function
Prae Samart
 
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติแบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
Nalai Rinrith
 
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
วิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมsawed kodnara
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังการคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 07
 ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 07 ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 07
ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 07
 
งาน Tomtam
งาน Tomtamงาน Tomtam
งาน Tomtam
 
แสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็นแสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็น
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อแผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
การแปรผันไม่อยากอย่างที่คิด
การแปรผันไม่อยากอย่างที่คิดการแปรผันไม่อยากอย่างที่คิด
การแปรผันไม่อยากอย่างที่คิด
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
Function
FunctionFunction
Function
 
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติแบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
 
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
 
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังการคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 

Similar to Basic m5-1-chapter2

แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docคณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
amppbbird
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
พิทักษ์ ทวี
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2krutew Sudarat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
Jirathorn Buenglee
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
พิทักษ์ ทวี
 
งานคอม อลิตา
งานคอม  อลิตางานคอม  อลิตา
งานคอม อลิตาalita122
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
KruGift Girlz
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
พิทักษ์ ทวี
 

Similar to Basic m5-1-chapter2 (20)

Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docคณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
Headpon1
Headpon1Headpon1
Headpon1
 
งานคอม อลิตา
งานคอม  อลิตางานคอม  อลิตา
งานคอม อลิตา
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

Basic m5-1-chapter2

  • 1. บทที่ 2 ความนาจะเปน ( 18 ชั่วโมง ) เนื่องจากความนาจะเปนเปนเรื่องที่จะชวยใหผูเรียนรูจักการแกปญหาที่เกี่ยวของกับ การคาดการณบางอยาง ดังนั้น การศึกษาเรื่องนี้จะชวยใหผูเรียนสามารถนําความรูในเรื่องนี้ ไปชวยในการตัดสินใจไดอยางมีหลักเกณฑมากขึ้น ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. หาจํานวนผลลัพธที่อาจเกิดขึ้นของเหตุการณโดยใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับและ แผนภาพตนไมอยางงายได 2. อธิบายการทดลองสุม เหตุการณ ความนาจะเปนของเหตุการณ และหาความนาจะเปน ของเหตุการณที่กําหนดใหได 3. นําความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนไปใชในการคาดการณและชวยในการตัดสินใจและ แกปญหาได ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ทางดานความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดาน ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรมแกปญหา หรือคําถาม ที่เสริมสรางทักษะกระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยาง เปนระบบ มีระเบียบวินัยมีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบมีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่น ในตัวเอง
  • 2. 72 ขอเสนอแนะ 1. ในการใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับหาคําตอบของโจทยปญหานั้นผูสอน ควรใหผูเรียนอานโจทยใหเขาใจวาในปญหานั้นกําหนดเงื่อนไขอะไรบาง การพิจารณาเงื่อนไข ของปญหาจะชวยใหสามารถกําหนดขั้นตอนในการแกปญหา ซึ่งจะชวยใหสามารถหาคําตอบ ไดงายขึ้น ดังตัวอยางตอไปนี้ ปญหาที่ 1 จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนบวก โดยที่ เลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากันไดทั้งสิ้นกี่จํานวน วิธีคิด จากโจทยปญหาไดเงื่อนไข 3 ขอ คือ 1) ใหใชเลขโดดได 6 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 2) จํานวนที่ตองการเปนจํานวนบวกที่มีสามหลัก 3) เลขโดดในแตละหลักของแตละจํานวนที่ตองการ ตองไมซ้ํากัน จากเงื่อนไขทั้งสามขอนี้นํามาพิจารณาประกอบการใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับ การนับ เพื่อพิจารณาวาจะเขียนจํานวนที่ตองการไดกี่จํานวน โดยพิจารณาวิธีที่จะเขียน เลขโดดในหลักตาง ๆ คือ หลักหนวย หลักสิบ และหลักรอย เนื่องจากการเขียนจํานวนที่มี สามหลักนั้น หลักรอยตองไมใชเลขโดด 0 สวนหลักอื่น ๆ นั้นจะใชเลขโดดใดก็ไดใน 6 ตัว ที่กําหนด การเริ่มแกปญหาจึงควรเริ่มดวยการหาจํานวนวิธีที่จะเขียนเลขโดดในหลักรอย เพราะมีขอจํากัดมากกวาหลักอื่น ๆ ดังนั้น วิธีหาคําตอบปญหาขางตน ผูสอนอาจแนะนํา ใหผูเรียนหาคําตอบตามขั้นตอนดังนี้ วิธีที่ 1 (1) ใหผูเรียนหาจํานวนวิธีที่จะเขียนเลขโดดในหลักรอย ซึ่งเทากับ 5 วิธี (2) ใหผูเรียนหาวาในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักรอย จะเขียนเลขโดด ในหลักสิบไดกี่วิธี ซึ่งจะไดคําตอบเทากับ 5 วิธี คือ ใชเลขโดด 5 ตัว ที่เหลือ (3) ใหผูเรียนหาวาในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักรอยและหลักสิบ จะเขียน เลขโดดในหลักหนวยไดกี่วิธี ซึ่งจะไดคําตอบเทากับ 4 วิธี คือ ใชเลขโดด 4 ตัว ที่เหลือ
  • 3. 73 จากนั้นจึงใหผูเรียนใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ จะไดวา จํานวนเต็มบวก ที่มีสามหลักที่เขียนโดยใชเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่เลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากัน มีทั้งสิ้น 5 × 5 × 4 = 100 จํานวน วิธีหาคําตอบขางตนเปนเพียงวิธีหนึ่งเทานั้น สําหรับผูเรียนที่มีความสามารถทาง คณิตศาสตรผูสอนอาจแนะนําใหลองหาคําตอบโดยวิธีอื่น ๆ ก็ได เชน พิจารณาโดยเริ่มจาก การเขียนหลักหนวยกอน แตเนื่องจากจะมีปญหาวา เหลือ 0 อยูหรือไม จึงแยกกรณีพิจารณา ดังตอไปนี้ วิธีที่ 2 ถาเริ่มเขียนตัวเลขในหลักหนวยกอน แยกกรณีพิจารณาไดดังนี้ (1) หาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนบวก และมี 0 อยูในหลักหนวยเขียนเลขโดดใน หลักสิบได 5 วิธี แตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักสิบ เขียนเลขโดดในหลักรอยได 4 วิธี ดังนั้น จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนบวก และมี 0 อยูในหลักหนวย และใชเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่เลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากัน ได 1 × 5 × 4 = 20 จํานวน (2) หาจํานวนที่มีสามหลักที่มี 0 อยูในหลักสิบ ในทํานองเดียวกับขอ (1) จะไดวา จํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักในขอนี้ มีทั้งหมด 20 จํานวน (3) หาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนบวกและไมมี 0 ปรากฏอยูเลย จะไดวา มีทั้งหมด 5 × 4 × 3 = 60 จํานวน จาก กรณีที่ (1), (2) และ (3) จะได จํานวนที่แตกตางกันทั้งหมด ดังนั้น จํานวน ที่มีสามหลักที่เปนบวก ซึ่งไดจากการใชเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 เขียน โดยเลขโดดใน แตละหลักไมซ้ํากัน มีทั้งสิ้น 20 + 20 + 60 = 100 จํานวน
  • 4. 74 ปญหาที่ 2 จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนบวกและเปน จํานวนคี่ โดยที่เลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากัน ไดกี่จํานวน วิธีคิด เงื่อนไขของปญหานี้เหมือนของปญหาที่ 1 แตเพิ่มเงื่อนไขอีกหนึ่งขอ คือ จํานวนที่ตองการตองเปนจํานวนคี่ เงื่อนไขนี้มีผลตอจํานวนวิธีเขียนเลขโดดใน หลักหนวย ถาเริ่มหาคําตอบโดยพิจารณาจํานวนวิธีที่จะเขียนเลขโดดในหลักรอย กอนเชนเดียวกับ ในการแกปญหาที่ 1 จะพบวา เมื่อจะพิจารณาวา เลขโดดใน หลักหนวยมีไดกี่วิธีจะมีปญหาเพราะใน 5 วิธีที่เขียนเลขโดดในหลักรอยนั้นมี 3 วิธี ที่ใช 1, 3 และ 5 ไปแลว ดังนั้น วิธีหาคําตอบของปญหานี้ จึงควรพิจารณาวิธีเขียน เลขโดดในหลักหนวยกอน แลวจึงพิจารณาจํานวนวิธีการเขียนเลขโดดในหลักรอย จากนั้นจึงไปพิจารณาจํานวนวิธีเขียนเลขโดดในหลักสิบเปนอันดับสุดทายดังนี้ วิธีทํา เขียนเลขโดดในหลักหนวยไดตาง ๆ กัน 3 วิธี (คือเลขโดด 1, 3, 5) ในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักหนวย เขียนเลขโดดในหลักรอยได 4 วิธี (2, 4 และเลขโดดที่เปนจํานวนคี่ที่เหลืออีก 2 ตัว) ในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักหนวยและหลักรอย เขียนเลขโดดในหลักสิบ ได 4 วิธี (เลขโดดที่เหลือ 4 ตัวจากทั้งหมด 6 ตัว) ดังนั้น การใชเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 เขียนจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลัก ที่เปนจํานวนคี่ที่มีเลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากัน จะเขียนไดทั้งหมด 3 × 4 × 4 = 48 จํานวน ปญหาที่ 3 จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 จะเขียนจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู และเลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากัน ไดกี่จํานวน วิธีคิด ปญหาที่ 3 นี้ ถาพิจารณาไมรอบคอบอาจจะสรุปวาใชวิธีการในทํานองเดียวกับที่ใช ในการหาคําตอบปญหาที่ 2 คือ พิจารณาจํานวนวิธีเขียนเลขโดดในหลักหนวย หลักรอย และหลักสิบ ตามลําดับ แตวิธีดังกลาวมีปญหาเพราะเลขโดดที่อาจใชใน หลักหนวยมี 3 ตัว คือ 0, 2 และ 4 การที่เลขโดด 0 อาจถูกใชหรือไมถูกใชในการ เขียนเลขโดดในหลักหนวยมีผลตอการพิจารณาจํานวนวิธีเขียนเลขโดดในหลักรอย การหาคําตอบจึงอาจทําไดโดยการแยกกรณีพิจารณา เมื่อใช 0 ในหลักหนวย และเมื่อไมไดใช 0 ในหลักหนวยดังนี้
  • 5. 75 วิธีทํา แยกกรณีและพิจารณาดังนี้ 1. เมื่อเลขโดดในหลักหนวยเปน 0 เขียนเลขโดดในหลักรอยได 5 วิธี ในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักรอย เขียนเลขโดดในหลักสิบได 4 วิธี ดังนั้น จํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักที่หลักหนวยเปน 0 ที่เขียนโดยใช เลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 และเลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากันมี 1 × 5 × 4 = 20 จํานวน 2. เมื่อเลขโดดในหลักหนวยไมใช 0 เขียนเลขโดดในหลักหนวยได 2 วิธี (คือ 2 หรือ 4) ในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักหนวย เขียนเลขโดดในหลักรอยได 4 วิธี (เลขโดดที่เหลือไมใชศูนย) ในแตละวิธีที่เขียนเลขโดดในหลักหนวยและเลขโดดในหลักรอย เขียนเลขโดดในหลักสิบได 4 วิธี (เลขโดดที่ยังไมไดเขียนทั้งหมด) ดังนั้น จํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูที่หลักหนวยไมเปน 0 และเขียนโดยใชเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 และเลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากัน มี 2 × 4 × 4 = 32 จํานวน ดังนั้น การใชเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 เขียนจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลัก ที่เปนจํานวนคูโดยเลขโดดในแตละหลักไมซ้ํากันเขียนไดทั้งหมด 20 + 32 = 52 จํานวน หมายเหตุ ถาปญหาที่ 1, 2 และ 3 เปนปญหาที่ถามตอเนื่องกัน ดังนั้น การหา คําตอบของปญหาที่ 3 อาจใชคําตอบของปญหาที่ 1 และ 2 ชวย โดยใชคําตอบ ของปญหาที่ 2 ลบออกจากคําตอบของปญหาที่ 1 ก็ได
  • 6. 76 2. ในการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับการนับจํานวนวิธี บางกรณีก็ใชเฉพาะการคูณ บางกรณีก็ใชการบวกดวย ซึ่งผูสอนควรอธิบายใหผูเรียนเขาใจลักษณะของโจทยที่จะตอง ใชการคูณหรือการบวก การกระทําใด ๆ ที่ยังไมสิ้นสุดการคํานวณหาจํานวนวิธีสําหรับการ กระทํานั้น ๆ เราใชการคูณ แตถาการกระทําใด ๆ สามารถแยกไดเปนหลายกรณีและแตละ กรณีสิ้นสุดลงแลว ในการคํานวณหาจํานวนวิธีสําหรับการกระทํานั้นเราใชการบวกจํานวน วิธีในแตละกรณีเขาดวยกัน ดังจะเห็นไดจากตัวอยางขางตนที่ใหหาจํานวนที่มีสามหลักที่เปน จํานวนคู เราแยกเปนจํานวนคูที่ลงทายดวย 0 ซึ่งมี 20 จํานวน และจํานวนคูที่ไมลงทายดวย 0 ซึ่งมี 32 จํานวน เมื่อการคํานวณหาจํานวนวิธีทั้งสองกรณีสิ้นสุดลงแลว เมื่อเราตองการ ทราบวา จํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูมีกี่จํานวน เราจึงนําจํานวนวิธีที่หาได ในแตละกรณีมาบวกกันกลาวคือ มี 20 + 32 = 52 จํานวน ซึ่งจะเห็นวาในการคํานวณหา จํานวนคูดังกลาวในแตละกรณีนั้น แตละขั้นตอนเปนการกระทําที่ตอเนื่องกัน เราจึงใชวิธี คูณดังไดกลาวแลวในกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ
  • 7. 77 กิจกรรมเสนอแนะ กิจกรรมที่ 1 จุดประสงค เพื่อใหผูเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาเรื่องกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ ลักษณะกิจกรรม 1) ผูสอนแบงกลุมผูเรียนใหปฏิบัติในเรื่องเดียวกันโดยกําหนดให เนื้อหาของแตละกลุมตางกัน 2) ผูสอนและผูเรียนชวยกันสรุปผลจากกิจกรรมของแตละกลุม อุปกรณ กระดาษตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีพื้นที่รูปละ 1 ตารางหนวย ตอกัน จํานวน 6 รูป ดังรูปที่ (1) และเมื่อพับกระดาษ จะไดลูกบาศกดังรูปที่ (2) รูปที่ (1) รูปที่ (2) กิจกรรม ผูสอนใหผูเรียนหาจํานวนวิธีที่จะเขียนตัวเลข 1 , 2 , 3 , 4 , 5 และ 6 แตละตัวลงบนดานแตละดานของลูกบาศกเพื่อใหผลบวกของจํานวนที่อยูบน ดานตรงขามกันเทากับ 7 ผูสอนอาจใหขอแนะนําโดยใชคําถามดังนี้ ตัวอยางคําถาม 1) มีจํานวน 2 จํานวนใดที่มีผลบวกเทากับ 7 (ผูเรียนควรตอบไดวามี 1 + 6 , 2 + 5 และ 3 + 4) 2) ผูสอนใหผูเรียนพับกระดาษในรูปที่ (1) ใหเปนลูกบาศก ดานใดที่อยู ตรงขามกัน ใหกําหนดตําแหนงของดานที่อยูตรงกันขามไวดังรูปตอไปนี้
  • 8. 78 ดานที่อยูตรงขามกันมีทั้งหมด 3 คู ไดแก ดานที่มีรูป ในตําแหนงที่ 1 และ 5 ดานที่มีรูป ในตําแหนงที่ 2 และ 4 และ ดานที่มีรูป ในตําแหนงที่ 3 และ 6 เมื่อทราบวา มีดานใดบางที่อยูตรงขามกันแลว จึงใหผูเรียนเขียนจํานวนลงบน แตละดาน เพื่อใหผลบวกของจํานวนที่อยูบนดานตรงขามกันมีคาเทากับ 7 ตัวอยางวิธีเขียนจํานวนบนรูปที่ (1) เพื่อใหผลบวกของจํานวนที่อยูบนดาน ตรงขามกันของลูกบาศกมีคาเทากับ 7 หมายเหตุ ผูสอนอาจจะแบงนักเรียนออกเปนกลุม ๆ โดยใหแตละกลุมหาจํานวนวิธี ทั้งหมดที่มีจํานวนในตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งเปน 1, 2, 3, ... หรือ 6 เชน ใหกลุมที่ 1 หาจํานวนวิธีทั้งหมดเมื่อกําหนดให 1 อยูในตําแหนงดังภาพ จากนั้นผูสอนใชคําถามเพื่อชวยใหผูเรียนสรุปคําตอบไดดังนี้ 1 ตําแหนงที่ 2 ตําแหนงที่ 1 ตําแหนงที่ 4 ตําแหนงที่ 5 ตําแหนงที่ 6 ตําแหนงที่ 3 1 2 6 43 5 2 3 5 61 4 3 1 4 52 6
  • 9. 79 คําถามที่ 1 ผูสอนถามผูเรียนวา มีวิธีเลือกเขียนจํานวน 1 - 6 ในตําแหนงที่กําหนด ใหในภาพไดกี่วิธีจงอธิบาย คําตอบ 6 วิธีคือ จะเขียนจํานวน 1 , 2 , 3 , 4 , 5 หรือ 6 จํานวนใดก็ได คําถามที่ 2 เมื่อผูเรียนเลือกจํานวนที่ตองการมาหนึ่งจํานวนและเขียนลงใน ตําแหนงที่กําหนดใหในภาพ แลวผูเรียนจะเลือกเขียนจํานวนที่อยูใน ตําแหนงที่อยูในดานตรงกันขามไดกี่วิธี เพราะเหตุใด คําตอบ 1 วิธี เพราะจะตองเลือกจํานวนที่นําไปบวกกับจํานวนที่เลือกไว แลวใหมีผลบวกเทากับ 7 เชน คําถามที่ 3 เมื่อเลือกจํานวนไปแลวสองจํานวน ผูเรียนจะเลือกจํานวนมาเขียนในตําแหนง ที่สาม และตําแหนงที่หกไดกี่วิธี คําตอบ จะตองเลือกจํานวนใดจํานวนหนึ่งจากจํานวนที่เหลือ 4 จํานวน หรือเลือกได 4 วิธี มาเขียนในตําแหนงที่สาม และเลือกจํานวนที่นํามาบวกกับจํานวนที่อยูใน ตําแหนงที่สาม แลวมีผลบวกเทากับ 7 มาเขียนในตําแหนงที่หกไดอีก 1 วิธี 1 6 ตําแหนงที่ 1 ตําแหนงที่ 5 1 6 ตําแหนงที่ 3 ตําแหนงที่ 6
  • 10. 80 คําถามที่ 4 จากจํานวนที่เหลือผูเรียนจะเลือกจํานวนมาเขียนในตําแหนงที่สอง และ ตําแหนงที่สี่ไดกี่วิธี คําตอบ จะตองเลือกจํานวนใดจํานวนหนึ่งจากจํานวนที่เหลือ 2 จํานวน หรือเลือกได 2 วิธี มาเขียนในตําแหนงที่สองและนําจํานวนที่เหลือมาเขียนในตําแหนงที่สี่ ไดอีก 1 วิธี ตัวอยางเชน ถาใหจํานวน 1 อยูในตําแหนงที่หนึ่ง ในตําแหนงที่หา จะตองเลือก 6 ซึ่ง เลือกได 1 วิธี ในตําแหนงที่สามจะเลือก 2 , 3 , 4 หรือ 5 ก็ไดรวม 4 วิธี เชน ถาเลือก 2 ในตําแหนงที่สามจะตองเลือก 5 มาเขียนในตําแหนงที่หก 1 6 1 2 6 5
  • 11. 81 ในตําแหนงที่สองจะมีจํานวนใหเลือก คือ จํานวนที่เหลืออีก 2 จํานวนคือ 3 หรือ 4 ซึ่งเขียนไดทั้งหมดสองวิธีดังนี้ หรือ จากคําตอบที่ไดผูสอนและผูเรียนชวยกันเขียนขอสรุปในตารางดังนี้ ตําแหนงที่ 1 2 3 4 5 6 จํานวนวิธีที่เลือก 6 2 4 1 1 1 ผูสอนถามผูเรียนวา จํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวน 1 ถึง 6 บนลูกบาศก เพื่อใหผลบวกของจํานวนที่อยูบนดานตรงขามเทากับ 7 มีทั้งหมดเทาใด ผูเรียนควรสรุปคําตอบโดยใชคําตอบที่ไดจากการทํากิจกรรมประกอบของแตละกลุม ซึ่งคําตอบเทากับ 48 หรือ 6 × 2 × 4 วิธี 3 4 4 3
  • 12. 82 ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 1. เมือง ก. เมือง ข. และเมือง ค. มีถนนเชื่อมระหวางเมืองทั้งสามดังรูป จงหาจํานวนวิธีที่จะเลือกเสนทางจากเมือง ก. ไปเมือง ค. 2. รานอาหารแหงหนึ่งจัดรายการอาหารไวดังนี้ อาหารคาว 8 ชนิด อาหารหวาน 5 ชนิด ผลไม 3 ชนิด เครื่องดื่ม 3 ชนิด ถาตองการจัดรายการอาหารที่มีอาหารคาว อาหารหวาน ผลไม และเครื่องดื่ม อยางละ 1 ชนิด จะจัดรายการอาหารที่แตกตางกันไดทั้งหมดกี่วิธี 3. 1) จงเขียนแผนภาพตนไม เพื่อแสดงบุตรชาย หรือหญิงของครอบครัวที่มีบุตร สองคนและ (1) มีบุตรคนแรกเปนชาย (2) มีบุตรคนแรกเปนหญิง 2) จงหาความนาจะเปนที่ครอบครัวหนึ่งจะมีบุตรสามคนโดยที่ (1) บุตรทั้งสามเปนบุตรชาย (2) เปนบุตรชายอยางนอย 1 คน (3) ไมมีบุตรชายเลย • • •ก. ข. ค.
  • 13. 83 4. หยิบแผนปายสามแผนทีละแผนออกจากกลองโดยไมใสคืน แผนปายสามแผนเขียนอักษร ไวดังนี้ แผนที่ 1 เขียนอักษร ช แผนที่ 2 เขียนอักษร น แผนที่ 3 เขียนอักษร ว จงหาความนาจะเปนที่แผนปายที่หยิบไดครั้งที่ 1, 2 และ 3 จะอานวา “ชวน” 5. ทอดลูกเตาทรงสี่หนาสองลูกที่มีดานแตละดานเปนรูปสามเหลี่ยมดานเทาและมีตัวเลข 1, 2, 3 และ 4 เขียนไวบนหนาลูกเตาหนาละหนึ่งจํานวน 1) จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดที่ผลบวกของแตมที่อยูบนหนาที่สัมผัสกับพื้นจะเทากับ 2, 3, 4, 5, 6, 7 หรือ 8 ผลบวก 2 3 4 5 6 7 8 จํานวนวิธี 2) จงหาความนาจะเปนที่ผลบวกของแตมนอยกวา 4 3) จงหาความนาจะเปนที่ผลบวกของแตมมีคาไมเกิน 4 4) จงหาความนาจะเปนที่ผลบวกของแตมไมเทากับ 5 5) จงหาความนาจะเปนที่ผลบวกของแตมเทากับ 2 หรือ 3
  • 14. 84 เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 1. ถากําหนดให a, b และ c แทนเสนทางแตละเสนทางจากเมือง ก ไปเมือง ข และ x, y แทนเสนทางแตละเสนทางจากเมือง ข ไปเมือง ค จะแสดงการเดินทางจากเมือง ก ไปเมือง ค ดังภาพ เมือง ก เมือง ข เมือง ค เสนทาง สรุปวา จํานวนวิธีที่จะเลือกเสนทางจากเมือง ก ไปเมือง ค มีทั้งหมด 3 × 2 หรือ 6 วิธี 2. มีวิธีจัดอาหารไดทั้งหมด 8 × 5 × 3 × 3 หรือ 360 วิธี a b c x y x y x y ax ay bx by cx cy • •ก ข คa b c x y
  • 15. 85 3. 1) บุตรคนแรก บุตรคนที่สอง บุตรคนแรก บุตรคนที่สอง (1) (2) 2) บุตรคนแรก บุตรคนที่สอง บุตรคนที่สาม ให E1, E2 และ E3 แทนเหตุการณในขอ (1), (2) และ (3) S = {(ช, ช, ช), (ช, ช, ญ), (ช, ญ, ช), (ช, ญ, ญ), (ญ, ช, ช), (ญ, ช, ญ), (ญ, ญ, ช), (ญ, ญ, ญ)} E1 = {(ช, ช, ช)} E2 = {(ช, ช, ช), (ช, ช, ญ), (ช, ญ, ช), (ช, ญ, ญ), (ญ, ช, ช), (ญ, ช, ญ), (ญ, ญ, ช)} E3 = {(ญ, ญ, ญ)} (1) P(E1) = 1 8 (2) P(E2) = 7 8 (3) P(E3) = 1 8 ช ญ ช ช ญ ช ช ญ ช ญ ช ญ ญ ช ญ ช ญ ช ญ ญ
  • 16. 86 4. จํานวนวิธีที่จะหยิบแผนปายสามแผนทีละแผนมีไดทั้งหมด 3 × 2 × 1 หรือ 6 วิธี จํานวนวิธีที่จะหยิบแผนปายครั้งที่ 1, 2 และ 3 แลวไดอักษร ช, ว และ น มีไดทั้งหมด 1 × 1 × 1 หรือ 1 วิธี ดังนั้น ความนาจะเปนที่แผนปายที่หยิบไดครั้งที่ 1, 2 และ 3 จะอานไดวา “ชวน” เทากับ 1 6 5. ผลบวกที่จะเกิดจากการทอดลูกเตาสองลูกจะเทากับ 2, 3, 4, 5, 6, 7 หรือ 8 จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะไดผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองลูกเทากับ 4 × 4 หรือ 16 วิธี หรือหาจํานวนวิธีที่จะไดผลบวกทั้งหมดโดยใชตารางดังนี้ 1 2 3 4 1 (1, 1) (1, 2) (1, 3) (1, 4) 2 (2, 1) (2, 2) (2, 3) (2, 4) 3 (3, 1) (3, 2) (3, 3) (3, 4) 4 (4, 1) (4, 2) (4, 3) (4, 4) จากตารางขางตนจะเห็นวา วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 2 คือ (1, 1) มี 1 วิธี วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 3 คือ (1, 2), (2, 1) มี 2 วิธี วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 4 คือ (1, 3), (3, 1), (2, 2) มี 3 วิธี วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 5 คือ (1, 4), (4, 1), (2, 3), (3, 2) มี 4 วิธี วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 6 คือ (2, 4), (4, 2), (3, 3) มี 3 วิธี วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 7 คือ (3, 4), (4, 3) มี 2 วิธี วิธีที่ผลบวกจะเทากับ 8 คือ (4, 4) มี 1 วิธี รวม 16 วิธี
  • 17. 87 ผลบวก 2 3 4 5 6 7 8 จํานวนวิธี 1 2 3 4 3 2 1 ให E1, E2, E3 และ E4 เปนเหตุการณในขอ 2), 3), 4) และ 5) 2) P(E1) = 3 16 3) P(E2) = 6 16 หรือ 3 8 4) P(E3) = 12 16 หรือ 3 4 5) P(E4) = 3 16 เฉลยแบบฝกหัด 2.1 1. เสนทางที่จะขับรถจากกรุงเทพฯ ถึงนครราชสีมาโดยผานลพบุรีที่ตางกันมีทั้งหมด 3 × 4 หรือ 12 เสนทาง ใชแผนภาพตนไมแสดงเสนทางการเดินทางขางตนไดดังนี้ ให ล1, ล2 และ ล3 แทนถนนจากกรุงเทพฯ ถึงลพบุรีซึ่งมี 3 สาย ให น1, น2, น3 และ น4 แทนถนนจากลพบุรีถึงนครราชสีมาซึ่งมี 4 สาย
  • 18. 88 น1 น2 น3 น4 น1 น2 น3 น4 น1 น2 น3 น4 จะเห็นไดวามีวิธีเลือกเสนทางจากกรุงเทพฯ ถึงนครราชสีมาโดยผานลพบุรีไดทั้งหมด 12 วิธี คือ (ล1, น1), (ล1, น2), (ล1, น3), (ล1, น4), (ล2, น1), (ล2, น2), (ล2, น3), (ล2, น4), (ล3, น1), (ล3, น2), (ล3, น3), (ล3, น4) 2. ให ห1, ห2 และ ห3 แทนเหรียญที่ 1, 2 และ 3 ขึ้นหัว ก1, ก2 และ ก3 แทนเหรียญที่ 1, 2 และ 3 ขึ้นกอย ผลที่เกิดจากการโยนเหรียญแตละครั้งจะเปนหัวหรือกอย มี 2 วิธี ดังนั้น การโยนเหรียญสามเหรียญจะไดผลตางกันทั้งหมด 2 × 2 × 2 = 8 วิธี ล1 ล2 ล3 กรุงเทพฯ ห1 ก1 ห2 ก2 ห2 ก2 ห3 ก3 ห3 ก3 ห3 ก3 ห3 ก3
  • 19. 89 3. ตองใชเสื้อทั้งหมดเทากับ 4 × 6 × 3 = 72 ตัว 4. คําตอบของขอแรกมีวิธีใหเลือก 2 วิธี ในแตละวิธีเลือกคําตอบขอแรกจะมีวิธีเลือกคําตอบขอสอง 2 วิธี ในแตละวิธีที่เลือกคําตอบขอแรกและขอสองจะมีวิธีเลือกคําตอบขอสามได 2 วิธี ในแตละวิธีที่เลือกคําตอบขอแรกถึงขอสามจะมีวิธีเลือกคําตอบขอสามได 2 วิธี M M ในแตละวิธีที่เลือกคําตอบขอแรกถึงขอเกาจะมีวิธีเลือกคําตอบขอสิบ 2 วิธี ดังนั้น จะมีวิธีตอบขอสอบชุดนี้ไดตาง ๆ กัน 2 ⋅ 2 ⋅ ... ⋅ 2 = 210 = 1024 วิธี 5. หมายเลขโทรศัพทประกอบดวยเลขโดด 9 ตัว ซึ่งไดแก 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 ตําแหนงที่ 1 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 0 ตําแหนงที่ 2 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 2 ตําแหนงที่ 3 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 3 ตําแหนงที่ 4 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 9 ตําแหนงที่ 5 มีได 1 วิธีคือ เลขโดด 2 ตําแหนงที่ 6, 7, 8 และ 9 แตละตําแหนงอาจเปนเลขโดดตัวใดตัวหนึ่งจาก 0 – 9 ซึ่งเปนไปได 10 วิธี ดังนั้น หมายเลขโทรศัพทที่หาตัวแรกเปน 02392 มีไดทั้งหมด 1 × 1 × 1 × 1 × 1 × 10 × 10 × 10 × 10 = 10,000 หมายเลข 6. จํานวนวิธีที่จะเขาสนามกีฬาโดยใชประตูใดประตูหนึ่ง มีได 4 วิธี จํานวนวิธีที่จะออกจากสนามกีฬาโดยใชประตูที่ไมซ้ํากับประตูที่เขามา มีได 3 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีเขาและออกจากสนามกีฬาแหงนี้มีไดทั้งหมด 4 × 3 = 12 วิธี 7. 1) ผลที่ไดจากการทอดลูกเตาลูกแรกมี 6 วิธี คือ 1, 2, 3, 4, 5, 6 และในแตละ วิธีของผลที่ไดจากการทอดลูกเตาลูกแรก จํานวนวิธีที่แตมที่ไดตรงกันมีได 1 วิธี ดังนั้น วิธีที่จะใหจํานวนแตมตรงกันมี 6 × 1 = 6 วิธี
  • 20. 90 2) การที่ผลรวมของแตมบนหนาลูกเตาสองลูกจะเทากับ 10 มี 3 วิธี คือ แตมของ ลูกเตาลูกแรกเปน 4, 5 หรือ 6 (เพราะแตม 1, 2, 3 ไมมีโอกาสที่จะรวมกับ แตมของลูกที่สองแลวเทากับ 10) และในแตละวิธีของการทอดลูกเตาลูกแรก จะไดผลรวมของแตมเทากับ 10 มีเพียง 1 วิธี คือ 4 และ 6, 5 และ 5, 6 และ 4 ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะไดผลรวมของแตมเทากับสิบมีได 3 วิธี 3) ในแตละครั้งที่ปรากฏผลจากการทอดลูกสองลูกพรอมกัน การที่แตมของ ลูกเตาลูกที่สองจะตางจากลูกแรกมีได 5 วิธี แตเนื่องจากในการทอดลูกเตาลูกแรกจะปรากฏผลไดทั้งหมด 6 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีที่แตมของลูกเตาสองลูกตางกันเทากับ 6 × 5 = 30 วิธี 4) จํานวนวิธีที่เกิดผลลัพธทั้งหมดในการทอดลูกเตา 2 ลูกมี 6 × 6 หรือ 36 วิธี จํานวนวิธีทั้งหมดที่ผลรวมของแตมเทากับสิบมี 3 วิธีคือ 4 + 6, 5 + 5, 6 + 4 จํานวนวิธีทั้งหมดที่ผลรวมของแตมเทากับสิบเอ็ดมี 2 วิธี คือ 5 + 6, 6 + 5 จํานวนวิธีทั้งหมดที่ผลรวมของแตมเทากับสิบสองมี 1 วิธี คือ 6 + 6 จะไดวา จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะไดผลลัพธมากกวาหรือเทากับสิบจะเทากับ 3 + 2 + 1 หรือ 6 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะไดผลรวมของแตมนอยกวาสิบมี 36 – 6 หรือ 30 วิธี 8. เลขโดดในหลักทั้งสี่ตางเปนสมาชิกของเซต S = {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9} 1) ในหลักพันจะมีเลขโดดที่เปนไปได 9 วิธี คือ เปนสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของเซต S ก็ได ยกเวน 0 ในหลักรอยจะมีเลขโดดที่เปนไปได 10 วิธี คือ เปนสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของเซต S ในหลักสิบจะมีเลขโดดเปนไปได 10 วิธี คือ เปนสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของเซต S ในหลักหนวยจะมีเลขโดดที่เปนไปได 10 วิธี คือ เปนสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของเซต S ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนเต็มบวกซึ่งมีสี่หลักมีทั้งหมดเทากับ 9 × 10 × 10 × 10 หรือ 9,000 วิธี
  • 21. 91 2) จํานวนคี่ใด ๆ จะตองมีหลักหนวยเปน 1, 3, 5, 7, 9 ซึ่งมีได 5 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนคี่บวกซึ่งเปนจํานวนที่มีสี่หลักมีทั้งหมด 9 × 10 × 10 × 5 = 4,500 วิธี 3) จํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนเต็มบวกที่มีสี่หลักและมีหลักหนวยเปน 0 มีทั้งหมด 9 × 10 × 10 × 1 = 900 วิธี 9. ทะเบียนรถยนตประกอบดวยพยัญชนะ 1 ตัว และเลขโดดอีก 4 ตัว ดังนั้น จํานวนทะเบียนรถที่จะมีไดทั้งหมด 44 × 104 ทะเบียน แตถาคิดวาหมายเลข 0000 ซึ่งมีทั้งหมด 44 รายการ กองทะเบียนจะไมออก ทะเบียนให จะมีทะเบียนรถยนตไดทั้งหมด 44(104 – 1) ทะเบียน ในกรณีที่กองทะเบียนรถยนตเปลี่ยนระบบใหมโดยใชตัวเลข 1 ถึง 9 นําหนา พยัญชนะและตามดวยเลขโดด 4 ตัว ดังนั้น ในระบบใหมกองทะเบียนจะออกทะเบียนไดทั้งหมด (9)(44)(104 – 1) ทะเบียน นั่นคือ กองทะเบียนจะออกหมายเลขทะเบียนรถยนตเพิ่มขึ้นจากเดิมได 9 × 44(104 – 1) – 44(104 – 1) = 44(104 – 1)(9 – 1) = 352(104 – 1) ทะเบียน = 3,519,648 ทะเบียน 10. จํานวนทะเบียนที่มีตัวเลข 1 หลัก มีได 9 แบบ (1 – 9) จํานวนทะเบียนที่มีตัวเลข 2 หลัก มีได 90 แบบ (10 – 99) จํานวนทะเบียนที่มีตัวเลข 3 หลัก มีได 900 แบบ (100 – 999) จํานวนทะเบียนที่มีตัวเลข 4 หลัก มีได 9000 แบบ (1000 – 9999) ดังนั้น จํานวนหมายเลขทะเบียนที่แตกตางกันมีไดทั้งหมด 44 × 44 × 9999 หรือ 19,358,064 ทะเบียน 11. มีวิธีเขียนจํานวนเต็มบวกที่มีสองหลักจากตัวเลข 1 ถึง 7 ได 7 × 7 = 49
  • 22. 92 12. 1) จํานวนคูจะตองมีหลักหนวยเปน 2, 4, 6, 8 เนื่องจากจํานวนคูที่ตองการใหเลือกจากเลขโดด 2 – 9 ซึ่งมีทั้งหมด 8 ตัว ดังนั้น การเขียนจํานวนคูซึ่งเปนจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักจากเลขโดดที่กําหนด ใหเขียนไดทั้งหมด 8 × 8 × 4 = 256 วิธี 2) จํานวนคี่จะตองมีหลักหนวยเปน 1, 3, 5, 7 ดังนั้น การเขียนจํานวนคี่ซึ่งเปนจํานวนเต็มบวกที่มีสี่หลักจากเลขโดดที่กําหนด ใหเขียนไดทั้งหมด 8 × 8 × 8 × 4 = 2,048 วิธี 13. จํานวนวิธีทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการทอดลูกเตาสามลูก มีทั้งหมด 6 × 6 × 6 หรือ 216 วิธี ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสามที่นอยกวาหรือเทากับ 4 มีทั้งหมด 4 วิธี ดังนี้ แตมบนหนาลูกเตา ลูกที่ 1 ลูกที่ 2 ลูกที่ 3 ผลรวม ของแตม 1 1 1 2 1 1 2 1 1 2 1 1 3 4 4 4 ดังนั้น จํานวนวิธีที่ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาสามลูกมากกวาสี่ เทากับ 216 – 4 หรือ 212 วิธี 14. เนื่องจากจํานวนนับที่เปนจํานวนสามหลักที่มากกวา 400 จะตองมีเลขโดดในหลักรอย เปน 4 หรือ 5 การเขียนจํานวนดังกลาวมีได 2 วิธี ดังนั้น จํานวนนับที่มีสามหลักที่ตองการจะมีได 2 × 3 × 2 = 12 จํานวน จํานวนนับที่มีสี่หลักมีได 4 × 3 × 2 ×1 = 24 จํานวน นั่นคือ จํานวนนับที่มากกวา 400 และเปนจํานวนไมเกินสี่หลักตามตองการ มีทั้งหมด 12 + 24 = 36 จํานวน
  • 23. 93 เฉลยแบบฝกหัด 2.2 1. มีถุงเทา 4 คู เปนถุงเทาสีดํา 2 คู ใหเปน ด1, ด2 และเปนถุงเทาสีขาว 2 คู ใหเปน ข1, ข2 ดังนั้น S = {(ด1, ด2), (ด1, ข1), (ด1, ข2), (ด2, ข1), (ด2, ข2), (ข1, ข2)} E เปนเหตุการณที่จะหยิบถุงเทาสองคูใหไดสีเดียวกัน นั่นคือ E = {(ด1, ด2), (ข1, ข2)} ดังนั้น P(E) = 2 6 หรือ 1 3 2. มีนักเรียนทั้งหมด 30 คน เปนนักเรียนชาย 18 คน นักเรียนหญิง 12 คน 1) ความนาจะเปนที่จะจับสลากใบแรกเปนนักเรียนชายเทากับ 18 30 = 3 5 2) ความนาจะเปนที่จะจับสลากใบแรกเปนนักเรียนหญิงเทากับ 12 30 = 2 5 3. มีเบี้ย 6 อัน แตละอันเขียนตัวเลข 3, 4, 7, 9, 10, 11 กํากับไว 1) เบี้ยที่เขียนเปนจํานวนคูไวมีสองอันคือ 4 และ 10 ดังนั้น โอกาสที่จะไดเบี้ยที่มีตัวเลขที่เปนจํานวนคูเทากับ 2 6 หรือ 1 3 2) เบี้ยที่เขียนเปนจํานวนเฉพาะไวมี 3 อัน คือ 3 , 7 และ 11 ดังนั้น โอกาสที่จะไดเบี้ยที่มีตัวเลขที่เปนจํานวนเฉพาะเทากับ 3 6 หรือ 1 2 3) เบี้ยที่เขียนเปนจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว มี 2 อัน คือ 3 และ 9 ดังนั้น โอกาสที่จะไดเบี้ยที่มีตัวเลขที่เปนจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัวเทากับ 2 6 หรือ 1 3 4) เบี้ยที่เขียนตัวเลขที่เปนจํานวนที่เปนกําลังสองสมบูรณมี 2 อัน คือ 4 และ 9 ดังนั้น โอกาสที่จะไดเบี้ยที่มีตัวเลขที่เปนจํานวนที่เปนกําลังสองสมบูรณ เทากับ 2 6 หรือ 1 3
  • 24. 94 4. เหรียญบาท 100 เหรียญ แตละเหรียญเขียนตัวเลขกํากับไวตั้งแต 1 ถึง 100 1) ให E1 เปนเหตุการณที่จะสุมเหรียญแลวไดตัวเลขบนเหรียญเปนจํานวนคู จะได E1 = {2, 4, 6, ..., 98, 100} P(E1) = 50 100 = 1 2 2) ให E2 เปนเหตุการณที่จะสุมเหรียญแลวไดตัวเลขบนเหรียญเปนจํานวน ที่มีรากที่สองเปนจํานวนเต็ม จะได E2 = {1, 4, 9, 16, 25, 36, 49, 64, 81, 100} P(E2) = 10 100 = 1 10 3) ให E3 เปนเหตุการณที่จะสุมเหรียญแลวไดตัวเลขบนเหรียญเปนจํานวน ที่หารดวย 5 ลงตัว จะได E3 = {5, 10, 15, 20, 25, ...., 90, 95, 100} P(E3) = 20 100 = 1 5 4) เนื่องจาก 1 ถึง 100 มีจํานวนที่เปนจํานวนคี่อยู 50 จํานวน พิจารณาจํานวนคูที่มีคาตั้งแต 1 ถึง 100 และหารดวย 3 ลงตัว จะพบวา จํานวนดังกลาวเขียนไดในรูปลําดับเลขคณิต 6, 12, 18, 24, ..., 96 จาก an = a1 + (n – 1)d เมื่อ a1 = 6 และ d = 6 จะได 96 = 6 + (n – 1)6 96 = 6 + 6n – 6 n = 16 ดังนั้น จํานวนคี่หรือจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว ซึ่งมีคาตั้งแต 1 ถึง 100 มีทั้งหมด 50 + 16 หรือ 66 จํานวน นั่นคือ ความนาจะเปนที่ตัวเลขที่เขียนกํากับเหรียญที่หยิบไดจะเปนจํานวนคี่ หรือจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว เทากับ 66 100 หรือ 33 50
  • 25. 95 5. ในงานปใหมของอําเภอหนึ่ง มีการขายสลากจํานวน 1,000 ใบ 1) ถาซื้อสลาก 1 ใบ ความนาจะเปนที่จะถูกรางวัลที่ 1 เปน 1 1,000 2) ถาซื้อสลาก 10 ใบ ความนาจะเปนที่จะถูกรางวัลที่ 1 เปน 10 1,000 = 1 100 6. 1) 7 20 2) จํานวนนักเรียนที่สวมรองเทาที่เล็กกวาเบอร 8 มี 3 + 12 + 35 หรือ 50 คน ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะสวมรองเทาขนาดเล็กกวาเบอร 8 เทากับ 50 100 หรือ 1 2 3) จํานวนนักเรียนที่สวมรองเทาเบอร 8 หรือ 9 มี 27 + 16 = 43 คน ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะสวมรองเทาขนาดเบอร 8 หรือเบอร 9 เทากับ 43 100 4) จํานวนนักเรียนที่สวมรองเทาเบอร 5 หรือ 10 มี 3 + 7 หรือ 10 คน ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะสวมรองเทาขนาดเบอร 5 หรือเบอร 10 เทากับ 1 10 5) จํานวนนักเรียนที่สวมรองเทาใหญกวาเบอร 7 มี 27 + 16 + 7 หรือ 50 คน ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะสวมรองเทาขนาดเบอร ใหญกวาเบอร 7 เทากับ 50 100 หรือ 1 2 7. ใหหลอดไฟที่ดี 3 หลอด แทนดวย ด1, ด2 และ ด3 หลอดไฟที่เสีย 2 หลอด แทนดวย ส1 และ ส2 ถาหยิบหลอดไฟสองหลอดจะปรากฏผลไดทั้งหมด 10 วิธี ดังนี้ ด1 และ ด2 * ด2 และ ส1 ด1 และ ด3 * ด2 และ ส2 ด2 และ ด3 * ด3 และ ส1 * ด1 และ ส1 * ด3 และ ส2 * ด1 และ ส2 ส1 และ ส2 จากผลขางตนจะพบวา ความนาจะเปนที่จะหยิบไดหลอดดีและหลอดเสีย อยางละ 1 หลอด เทากับ 6 10 หรือ 3 5
  • 26. 96 8. ถุงใบหนึ่งมีลูกปงปองสีแดง 15 ลูก สีขาว 1 ลูก สีเหลือง 1 ลูก สีเขียว 1 ลูก สีฟา 1 ลูก และสีดํา 1 ลูก รวมทั้งหมด 20 ลูก 1) ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีแดงเทากับ 15 20 หรือ 3 4 2) ความนาจะเปนที่จะหยิบไมไดลูกบอลสีดําเทากับ 19 20 3) ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีดําหรือสีขาว 2 20 หรือ 1 10 9. ความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มน้ําผลไมเทากับ 1 4 หรือ 0.25 ความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มนมเทากับ 2 5 หรือ 0.4 ความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มน้ํานมถั่วเหลืองเทากับ 1 20 หรือ 0.05 ความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มน้ําอัดลมเทากับ 3 10 หรือ 0.3 1) เนื่องจากความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มนมเทากับ 0.4 ซึ่งมีคามากที่สุด ดังนั้น นมเปนเครื่องดื่มที่ขายดีที่สุด 2) เนื่องจากความนาจะเปนของเหตุการณที่นักเรียนจะดื่มน้ํานมถั่วเหลือง เทากับ 0.05 ซึ่งมีคานอยที่สุด ดังนั้น น้ํานมถั่วเหลืองเปนเครื่องดื่มที่ขายไดนอยที่สุด 3) เมื่อเรียงลําดับคาของความนาจะเปนขางตน จะพบวา ความนิยมของเครื่องดื่ม ที่ขายดีมากที่สุดไปนอยที่สุดเปนดังนี้ นม น้ําอัดลม น้ําผลไม และน้ํานมถั่วเหลือง 10. 1) ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่ตัวเลข 1 เทากับ 1 10 2) ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่ตัวเลข 6 เทากับ 2 10 หรือ 1 5 3) ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่จํานวนคู เทากับ 6 10 หรือ 3 5 4) ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่จํานวนคี่ เทากับ 4 10 หรือ 2 5 5) ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่จํานวนเฉพาะเทากับ 5 10 หรือ 1 2 6) ความนาจะเปนที่เข็มจะชี้ที่จํานวนที่มีคามากกวา 4 เทากับ 4 10 หรือ 2 5