SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
กระบวนการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ ดร . จันทิมา  แสงเลิศอุทัย  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ขั้นตอนการวิจัย 1.  กำหนดปัญหา 2.  ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.  นิยามปัญหา 4.  ตั้งสมมติฐานของการวิจัย 5.  ออกแบบวิธีการวิจัย  5.1   ประชากรและวิธีสุ่ม 5.2   เครื่องมือการวิจัย 5.3   แบบแผนการวิจัย 5.4   การวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนการวิจัย 6.  สุ่มตัวอย่าง 7.  สร้างเครื่องมือวิจัยและตรวจสอบคุณภาพ 8.  เก็บข้อมูล 10 .  เขียนรายงานการวิจัย 9 .  วิเคราะห์ข้อมูล
เครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลการเรียนรู้
แนวคิดการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ระยะที่  1 การตรวจสอบก่อนการนำเครื่องมือไปใช้วัด 1.1  ความ ตรง  คือ  คุณลักษณะที่เครื่องมือสามารถวัดพฤติกรรมได้ตรงตามเนื้อหาสาระ และจุดประสงค์ของการวัด 1.2  ความเป็นปรนัย  คือ  ความชัดเจน รัดกุมของคำถาม  สื่อความหมายได้ตรงกัน  มีคำตอบที่แน่นอน  และมีเกณฑ์การพิจารณาคะแนนเป็นมาตรฐานเดียวกัน 1.3  ความ ถูกต้องตามเทคนิค  คือ  โครงสร้างโดยรวมของเครื่องมือ  มีลักษณะถูกต้องตามรูปแบบที่ดีของเครื่องมือชนิดนั้น
ระยะที่  2 การตรวจสอบหลังจากการนำเครื่องมือไปใช้วัด 2.1  ค่า ดัชนี ความยาก คือ ค่าที่แสดงให้ทราบถึงความยาก - ง่าย  ของคำถามแต่ละข้อ ว่ามีมากน้อยอยู่ในระดับใด  ยอมรับได้ตามเกณฑ์หรือไม่  ใช้พิจารณากับข้อคำถามในแบบทดสอบเท่านั้น 2.2  ค่า ดัชนีอำนาจจำแนก   คือ  เป็นค่าที่แสดงให้ทราบถึงคุณลักษณะ  ที่ข้อคำถามแต่ละข้อ  สามารถจำแนกผู้เรียนออกตามพฤติกรรมที่แตกต่างกันได้  นิยมใช้พิจารณากับข้อคำถามในแบบทดสอบ   2.3  ความเที่ยง คือ คุณลักษณะของเครื่องมือที่ทำให้ได้ผลของการวัดอย่างคงที่แน่นอนหรือคงเส้นคงวา
แผนภูมิสรุปแนวคิดในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียน การตรวจสอบ ระยะที่  1 ก่อนใช้เครื่องมือวัดผล ระยะที่  2 หลังใช้เครื่องมือวัดผล วิธีเชิงปริมาณ 1.  ค่าความยาก  ( เฉพาะข้อสอบ ) 2.  ค่าอำนาจจำแนก ( เฉพาะข้อสอบ ) 3.  ค่าความเที่ยงหรือความเชื่อมั่น วิธีเชิงเหตุผล 1.  ความตรง 2.  ความเป็นปรนัย 3.  ความถูกต้องตามเทคนิค
การตรวจสอบคุณภาพ ( แบบทดสอบ ) ร่างข้อคำถาม IOC ผู้เชี่ยวชาญ วิพากษ์ กลุ่มคล้ายคลึง ทดลองทำ Try out ความเที่ยง / ความเชื่อมั่น ประสิทธิภาพตัวลวง อำนาจจำแนก ความยากง่าย หลักการ เขียนข้อความ คำตอบ ภาษา ความตรง / ความเที่ยงตรง ปรับปรุงแก้ไข
การตรวจสอบคุณภาพ  ( แบบสอบถาม ) ร่างข้อคำถาม IOC ผู้เชี่ยวชาญ วิพากษ์ กลุ่มคล้ายคลึง ทดลองทำ Try out ความเที่ยง  หรือความเชื่อมั่น หลักการ เขียนข้อความ คำตอบ ภาษา ความตรง  หรือความเที่ยงตรง ปรับปรุงแก้ไข
นำไปทดลองใช้ นิยามคุณลักษณะที่ต้องการวัดให้ชัดเจน การสร้างเครื่องมือ ดี ดำเนินการสร้าง นำไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข นำไปใช้ในสถานการณ์จริง ไม่ดี
การเลือกเครื่องมือวัดให้  ตรง ความรู้ ความเข้าใจ พฤติกรรมทางสมอง ความรู้สึกนึกคิด ความเห็น ข้อเท็จจริงที่พบ ทักษะการปฏิบัติ คุณธรรม หรือธรรมลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ แบบทดสอบ แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ แบบประเมินการปฏิบัติ แบบตรวจผลงาน แบบสังเกตพฤติกรรม แบบสอบถาม
ข้อเตือนใจ ,[object Object],[object Object]
การเลือกเครื่องมือวัดให้ ตรง จะใช้อะไรขึ้นอยู่กับสิ่งที่ต้องการวัด เครื่องมือวัดในการวิจัย
กระบวนการ ในการสร้างเครื่องมือ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ผู้เชี่ยวชาญวิพากษ์ IOC Try out กลุ่มที่คล้ายคลึงประชากร
นำไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ เพื่อ พิจารณาความตรงของเครื่องมือว่าจะสามารถวัดได้ ในสิ่งที่ต้องการวัดหรือไม่  โดย การประเมินความสอดคล้อง และใช้ดัชนีความสอดคล้องเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา
IOC (Index of Item-objective Congruence) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
 
 
 
 
 
การวิเคราะห์ค่า  p  ของข้อสอบ สูตร
การแปลความหมาย ค่า  p  ต่ำกว่า  0.20   แสดงว่า  ข้อทดสอบยากมาก ( ยากเกินไป ) ค่า  p  = 0.20-0.39   แสดงว่า  ข้อทดสอบค่อนข้างยาก ค่า  p =  0.40-0.59   แสดงว่า  ข้อสอบยากปานกลาง ค่า  p =  0.60-0.80   แสดงว่า  ข้อสอบค่อนข้างง่าย ค่า  p  มากกว่า  0.80  แสดงว่า  ข้อสอบง่ายมาก ( ง่ายเกินไป )
เมื่อ r แทน  ค่าดัชนีอำนาจจำแนก N แทน  จำนวนคนสอบทั้งหมด n แทน  จำนวนคนสอบเพียง 50%  หรือ  33% H แทน  จำนวนคนตอบข้อนั้นจากกลุ่มสูง L แทน  จำนวนคนตอบข้อนั้นจากกลุ่มต่ำ สูตร
โจทก์  ผู้สอบ  40  คน  ใช้เทคนิค  50%  แบ่งเป็นกลุ่มสูง - ต่ำ กลุ่มละ  20  คน ข้อ  1   กลุ่มสูงตอบถูก  8  คน  กลุ่มต่ำตอบถูก  4  คน ข้อ  2   กลุ่มสูงตอบถูก  7  คน  กลุ่มต่ำตอบถูก  12  คน
การแปลความหมาย ค่า  r  ติดลบ   แสดงว่า  ข้อสอบมีอำนาจจำแนกผิดใช้ไม่ได้   ค่า  r  = 0.00-0.19   แสดงว่า  ข้อสอบมีอำนาจจำแนกต่ำ ค่า  r =  0.20-0.39   แสดงว่า  ข้อสอบมีอำนาจจำแนกปานกลาง ค่า  r =  0.40-0.59   แสดงว่า  ข้อสอบมีอำนาจจำแนกค่อนข้างสูง ค่า  r  ตั้งแต่   0.60  ขึ้นไป  แสดงว่า  ข้อสอบมีอำนาจจำแนกสูง
ข้อตกลงเบื้องต้น  :  จำนวนข้อทดสอบไม่น้อยกว่า  20  ข้อ  ข้อสอบทุกข้อมีความเป็นเอกพันธุ์  คือวัดคุณสมบัติใกล้เคียงกันและมีค่าความยากใกล้เคียงกัน  โดยสูตร  KR-20  และสูตร  KR-21  มีรูปดังนี้ เมื่อ  r tt   แทน  สัมประสิทธิ์ความเที่ยง k  แทน  จำนวนข้อสอบทั้งฉบับ p  แทน  สัดส่วนจำนวนคนตอบแต่ละข้อถูก q  แทน  สัดส่วนจำนวนคนตอบแต่ละข้อผิด  (1- p ) S x 2  แทน  ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับ วิธีของคูเดอร์ - ริชาร์ดสัน ( Kuder - Richardson )
KR 21   เมื่อ  แทน  ค่าเฉลี่ยคะแนนรวมทั้งฉบับ สูตร  KR 21   จะคำนวณได้รวดเร็วกว่า  แต่จะให้ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงต่ำกว่า  KR 20 มีข้อตกลงเบื้องต้นว่าข้อสอบแต่ละข้อต้องมีความยากเท่ากันหรือใกล้เคียงกัน
สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบัค  สามารถใช้ประมาณค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของแบบทดสอบหรือแบบวัดใด ๆ ที่ไม่ได้กำหนดคะแนน  0 , 1  สูตรที่ใช้คำนวณของคะแนนรายข้อและคะแนนรวมทั้งฉบับเป็นหลัก เมื่อ  α   แทน  สัมประสิทธิ์ความเที่ยง k  แทน  จำนวนข้อสอบทั้งฉบับ S i 2   แทน  แทนความแปรปรวนของคะแนนรายข้อ S x 2   แทน  ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับ วิธีของครอนบัค  ( Lee J. Cornbach )
นำไปทดลองใช้ เพื่อ พิจารณาความเชื่อมั่น ( ความเที่ยง )  ของแบบสอบถาม โดยใช้วิธีการ หาความเชื่อมั่นแบบแอลฟา  ( α-   coefficient )
 
 
 
 
การวิเคราะห์ข้อสอบโดย  ( B-Index ) และการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัย
[object Object],คุณสมบัติของโปรแกรม สามารถวิเคราะห์ข้อสอบจำแนกเป็นรายจุดประสงค์และวิเคราะห์เป็นรายข้อ สามารถวิเคราะห์ตัวเลือกได้ทุกตัวเลือกและบ่งชี้คุณภาพของตัวเลือกทุกข้อ
[object Object],คุณสมบัติของโปรแกรม  ( ต่อ ) วิเคราะห์หาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ทั้งฉบับ
[object Object],[object Object],[object Object],เงื่อนไขสำคัญของการใช้โปรแกรม  B-Index
[object Object],[object Object],แนวคิดการวิเคราะห์ดัชนีจำแนก  (B-Index) n1 กลุ่มผ่านเกณฑ์ กลุ่มไม่ผ่านเกณฑ์ n2
[object Object],กลุ่มผ่านเกณฑ์ กลุ่มไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวนที่ตอบถูก  U จำนวนที่ตอบถูก  L เช่น   กลุ่ม  n1  ตอบถูก  80  คน กลุ่ม  n2  ไม่มีใครตอบถูกเลย  ( 0  คน ) ดังนั้น U = 80 , L = 0
3.  หาสัดส่วนกลุ่มผ่านเกณฑ์  ( n1 )  และกลุ่มไม่ผ่านเกณฑ์  ( n2 )  ที่ตอบถูกมาหักลบกัน  ค่าที่ได้คือ  ค่าดัชนีจำแนก  B (B-Index) =  ค่าดัชนีจำแนก  B (B-Index) สัดส่วนของกลุ่มผ่านที่ตอบถูก  =  สัดส่วนของกลุ่มไม่ผ่านที่ตอบถูก  =  ค่าดัชนีจำแนก  B(B-Index)  =  1.00-0.00 = 1.00
[object Object]
ดัชนีอำนาจจำแนก ตัวเลขที่บ่งชี้คุณภาพของข้อสอบแต่ละข้อว่ามีความ สามารถจำแนกผู้ที่เข้าสอบที่มีความรู้ความสามารถจริงหรือผ่านจุดประสงค์อย่างแท้จริงและผู้ที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถหรือไม่ผ่านจุดประสงค์  ออกจากกันได้หรือไม่เพียงใด
ดัชนีความยาก ตัวเลขสัดส่วนที่บ่งบอกถึงความยากของข้อสอบแต่ละข้อโดยคิดเปรียบเทียบกับค่าคะแนนที่ได้จริงของทั้ง  2   กลุ่มเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดที่เป็นไปได้ของทั้ง  2  กลุ่ม
การใช้งานโปรแกรม  B-Index  ในการวิเคราะห์ข้อสอบแบบเลือกตอบ
 
 
 
 
 
 
 
 
การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัย  เป็นข้อสอบที่การตรวจให้คะแนนไม่ใช่แบบ  0-1  และการให้คะแนนแต่ละข้อจะไม่เท่ากัน  และผลการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัยจะบ่งชี้ข้อมูลที่สำคัญ  3  ประการเช่นเดียวกับการวิเคราะห์แบบ  0-1  คือ  แนวคิดและหลักการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัย ค่าดัชนีอำนาจจำแนกของข้อสอบแต่ละข้อ ค่าดัชนีความยากของข้อสอบแต่ละข้อ ค่าดัชนีความเชื่อมั่นของข้อสอบทั้งฉบับ
กระบวนการในการวิเคราะห์ นำข้อสอบไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง ตรวจให้คะแนนแต่ละข้อแต่ละฉบับ  ( แต่ละคน ) รวมคะแนนของข้อสอบแต่ละฉบับ เรียงคะแนนสูงสุดไปยังต่ำสุด คัดเลือกเอากลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดเรียงลงมา  จำนวนร้อยละ  25   ของจำนวนทั้งหมด
กระบวนการในการวิเคราะห์  ( ต่อ ) ในทำนองเดียวกันคัดเลือกกลุ่มต่ำคัดเลือกกลุ่มต่ำมาร้อยละ  25  เช่นเดียวกัน นำข้อมูลไปหาค่าดัชนีความยาก นำข้อมูลไปหาค่าดัชนีอำนาจจำแนก คำนวณความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ
คุณสมบัติของโปรแกรม ในการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัยโดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นสามารถรายงานผลการวิเคราะห์ได้ดังนี้คือ 1.  ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ  ( Index of Discriminant ) 2.  ค่าความยากของข้อสอบรายข้อ  ( Index of Difficulty ) 3.  ค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบทั้งฉบับ  ( Coefficient Alpha )
โปรแกรม การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัย
 
 
 
 
ขั้นตอนการวิจัย 1.  กำหนดปัญหา 2.  ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.  นิยามปัญหา 4.  ตั้งสมมติฐานของการวิจัย 5.  ออกแบบวิธีการวิจัย  5.1   ประชากรและวิธีสุ่ม 5.2   เครื่องมือการวิจัย 5.3   แบบแผนการวิจัย 5.4   การวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนการวิจัย 6.  สุ่มตัวอย่าง 7.  สร้างเครื่องมือวิจัยและตรวจสอบคุณภาพ 8.  เก็บข้อมูล 10 .  เขียนรายงานการวิจัย 9 .  วิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการวิจัย 1.  กำหนดปัญหา  วิเคราะห์สภาพปัญหาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 2.  ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์จุดเด่นจุดด้อยและกำหนดวิธีการที่ใช้แก้ปัญหา 3.  สร้างและตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรม 4.  นำนวัตกรรมไปใช้และเก็บข้อมูล 5.  วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
ความหมายของสัญลักษณ์ที่ใช้ X O 1 O 2 E C คือ คือ คือ คือ คือ การจัดกระทำ  (Treatment) การวัด หรือการสังเกตก่อนให้  X การวัด หรือการสังเกตหลังให้  X กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ,[object Object],การทดสอบที  ( t-test Independent Sample )  ใช้ในกรณีการทดสอบค่าเฉลี่ย  2  กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน  เช่น  คะแนนสอบก่อน / หลังการใช้นวัตกรรมของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
รูปแบบของการวิจัย รูปแบบที่  1  กลุ่มทดลองกลุ่มเดียว  วัดผลเฉพาะหลังการทดลอง ผังการทดลอง  E-group  X  O 2E แนวทางการวิเคราะห์ผลการทดลอง  หลังจากทำการวัดผลภายหลังการทดลองได้แล้ว   นำผลการวัดมาเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้  เช่น  ภายหลังการทดลองนักเรียนจะต้องได้คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  70 เทียบกับเกณฑ์
รูปแบบที่  2  กลุ่มทดลองกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง   แนวทางการวิเคราะห์ผลการทดลอง  รูปแบบการทดลองในแบบที่  2  จะใช้การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนผลการวัดก่อนและหลังการทดลองหรือการใช้นวัตกรรม  หรือนำผลการใช้นวัตกรรมหรือผลคะแนนหลังการทดลองไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ผังการทดลอง  E-group  O 1E   X  O 2E สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การทดสอบที  ( t-test Dependent Sample )
รูปแบบที่  3  กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่ไม่เท่าเทียมกัน  วัดผลเฉพาะหลังการทดลอง แนวทางการวิเคราะห์ผลการทดลอง  รูปแบบที่  3  จะใช้การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนผลการวัดหลังการทดลองหรือการใช้นวัตกรรมของกลุ่มทดลองเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม  หรือนำผลการใช้นวัตกรรมหรือผลคะแนนหลังการทดลองของกลุ่มทดลองไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ผังการทดลอง  E-group  X  O 2E   C-group  _  O 2C   สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การทดสอบที  ( t-test Independent Sample)
รูปแบบที่  4  กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่ไม่เท่าเทียมกัน  วัดผลก่อนและหลังการทดลอง แนวทางการวิเคราะห์ผลการทดลอง  รูปแบบที่  4   จะใช้การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนผลการวัดหลังการทดลองหรือการใช้นวัตกรรมของกลุ่มทดลองเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม  และใช้การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนและหลังการทดลอง  ( Posttest  เปรียบเทียบ   Pretest )  ซึ่งจะทำให้ทราบถึงพัฒนาการของผู้เรียน  หรือนำผลการใช้นวัตกรรมหรือผลคะแนนหลังการทดลองของกลุ่มทดลองไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ผังการทดลอง  E-group  O 1E   X  O 2E   C-group  O 1C   _  O 2C   สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การทดสอบที  ( t-test dependent sample )  และ  t-test Independent Sample
The END
เลือกเครื่องมือให้ถูกชนิด สร้างเครื่องมือให้มีคุณภาพ ใช้เก็บข้อมูล ได้ข้อมูลถูกต้อง

More Related Content

What's hot

การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
NU
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
Nitinop Tongwassanasong
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
Saiiew
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
NU
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
Aimy Blythe
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
Sani Satjachaliao
 
การประเมินโครงการ
การประเมินโครงการการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการ
rbsupervision
 

What's hot (19)

การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysisการวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัย
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่ ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
การประเมินโครงการ
การประเมินโครงการการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการ
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
Chapt3
Chapt3Chapt3
Chapt3
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 

Similar to การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)

การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
pattya0207
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
Taew Nantawan
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
Suriya Phongsiang
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
othanatoso
 
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียนวัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
piromnsw2
 
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
Rut' Np
 
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptxPAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
orioman1
 

Similar to การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา) (20)

การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
 
8บทที่4
8บทที่4 8บทที่4
8บทที่4
 
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
Chi square
Chi squareChi square
Chi square
 
E8
E8E8
E8
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียนวัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
วัดประเมินผลระดับชั้นเรียน
 
สถิติStat
สถิติStatสถิติStat
สถิติStat
 
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
 
Item analysis
Item analysisItem analysis
Item analysis
 
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptxPAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
 
Concepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptx
Concepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptxConcepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptx
Concepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptx
 
ppt
pptppt
ppt
 

การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)

  • 1. กระบวนการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ ดร . จันทิมา แสงเลิศอุทัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 2. ขั้นตอนการวิจัย 1. กำหนดปัญหา 2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3. นิยามปัญหา 4. ตั้งสมมติฐานของการวิจัย 5. ออกแบบวิธีการวิจัย 5.1 ประชากรและวิธีสุ่ม 5.2 เครื่องมือการวิจัย 5.3 แบบแผนการวิจัย 5.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
  • 3. ขั้นตอนการวิจัย 6. สุ่มตัวอย่าง 7. สร้างเครื่องมือวิจัยและตรวจสอบคุณภาพ 8. เก็บข้อมูล 10 . เขียนรายงานการวิจัย 9 . วิเคราะห์ข้อมูล
  • 4.
  • 6. แนวคิดการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ระยะที่ 1 การตรวจสอบก่อนการนำเครื่องมือไปใช้วัด 1.1 ความ ตรง คือ คุณลักษณะที่เครื่องมือสามารถวัดพฤติกรรมได้ตรงตามเนื้อหาสาระ และจุดประสงค์ของการวัด 1.2 ความเป็นปรนัย คือ ความชัดเจน รัดกุมของคำถาม สื่อความหมายได้ตรงกัน มีคำตอบที่แน่นอน และมีเกณฑ์การพิจารณาคะแนนเป็นมาตรฐานเดียวกัน 1.3 ความ ถูกต้องตามเทคนิค คือ โครงสร้างโดยรวมของเครื่องมือ มีลักษณะถูกต้องตามรูปแบบที่ดีของเครื่องมือชนิดนั้น
  • 7. ระยะที่ 2 การตรวจสอบหลังจากการนำเครื่องมือไปใช้วัด 2.1 ค่า ดัชนี ความยาก คือ ค่าที่แสดงให้ทราบถึงความยาก - ง่าย ของคำถามแต่ละข้อ ว่ามีมากน้อยอยู่ในระดับใด ยอมรับได้ตามเกณฑ์หรือไม่ ใช้พิจารณากับข้อคำถามในแบบทดสอบเท่านั้น 2.2 ค่า ดัชนีอำนาจจำแนก คือ เป็นค่าที่แสดงให้ทราบถึงคุณลักษณะ ที่ข้อคำถามแต่ละข้อ สามารถจำแนกผู้เรียนออกตามพฤติกรรมที่แตกต่างกันได้ นิยมใช้พิจารณากับข้อคำถามในแบบทดสอบ 2.3 ความเที่ยง คือ คุณลักษณะของเครื่องมือที่ทำให้ได้ผลของการวัดอย่างคงที่แน่นอนหรือคงเส้นคงวา
  • 8. แผนภูมิสรุปแนวคิดในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียน การตรวจสอบ ระยะที่ 1 ก่อนใช้เครื่องมือวัดผล ระยะที่ 2 หลังใช้เครื่องมือวัดผล วิธีเชิงปริมาณ 1. ค่าความยาก ( เฉพาะข้อสอบ ) 2. ค่าอำนาจจำแนก ( เฉพาะข้อสอบ ) 3. ค่าความเที่ยงหรือความเชื่อมั่น วิธีเชิงเหตุผล 1. ความตรง 2. ความเป็นปรนัย 3. ความถูกต้องตามเทคนิค
  • 9. การตรวจสอบคุณภาพ ( แบบทดสอบ ) ร่างข้อคำถาม IOC ผู้เชี่ยวชาญ วิพากษ์ กลุ่มคล้ายคลึง ทดลองทำ Try out ความเที่ยง / ความเชื่อมั่น ประสิทธิภาพตัวลวง อำนาจจำแนก ความยากง่าย หลักการ เขียนข้อความ คำตอบ ภาษา ความตรง / ความเที่ยงตรง ปรับปรุงแก้ไข
  • 10. การตรวจสอบคุณภาพ ( แบบสอบถาม ) ร่างข้อคำถาม IOC ผู้เชี่ยวชาญ วิพากษ์ กลุ่มคล้ายคลึง ทดลองทำ Try out ความเที่ยง หรือความเชื่อมั่น หลักการ เขียนข้อความ คำตอบ ภาษา ความตรง หรือความเที่ยงตรง ปรับปรุงแก้ไข
  • 11. นำไปทดลองใช้ นิยามคุณลักษณะที่ต้องการวัดให้ชัดเจน การสร้างเครื่องมือ ดี ดำเนินการสร้าง นำไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข นำไปใช้ในสถานการณ์จริง ไม่ดี
  • 12. การเลือกเครื่องมือวัดให้ ตรง ความรู้ ความเข้าใจ พฤติกรรมทางสมอง ความรู้สึกนึกคิด ความเห็น ข้อเท็จจริงที่พบ ทักษะการปฏิบัติ คุณธรรม หรือธรรมลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ แบบทดสอบ แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ แบบประเมินการปฏิบัติ แบบตรวจผลงาน แบบสังเกตพฤติกรรม แบบสอบถาม
  • 13.
  • 15.
  • 16. นำไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ เพื่อ พิจารณาความตรงของเครื่องมือว่าจะสามารถวัดได้ ในสิ่งที่ต้องการวัดหรือไม่ โดย การประเมินความสอดคล้อง และใช้ดัชนีความสอดคล้องเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา
  • 17.
  • 18.  
  • 19.  
  • 20.  
  • 21.  
  • 22.  
  • 23. การวิเคราะห์ค่า p ของข้อสอบ สูตร
  • 24. การแปลความหมาย ค่า p ต่ำกว่า 0.20 แสดงว่า ข้อทดสอบยากมาก ( ยากเกินไป ) ค่า p = 0.20-0.39 แสดงว่า ข้อทดสอบค่อนข้างยาก ค่า p = 0.40-0.59 แสดงว่า ข้อสอบยากปานกลาง ค่า p = 0.60-0.80 แสดงว่า ข้อสอบค่อนข้างง่าย ค่า p มากกว่า 0.80 แสดงว่า ข้อสอบง่ายมาก ( ง่ายเกินไป )
  • 25. เมื่อ r แทน ค่าดัชนีอำนาจจำแนก N แทน จำนวนคนสอบทั้งหมด n แทน จำนวนคนสอบเพียง 50% หรือ 33% H แทน จำนวนคนตอบข้อนั้นจากกลุ่มสูง L แทน จำนวนคนตอบข้อนั้นจากกลุ่มต่ำ สูตร
  • 26. โจทก์ ผู้สอบ 40 คน ใช้เทคนิค 50% แบ่งเป็นกลุ่มสูง - ต่ำ กลุ่มละ 20 คน ข้อ 1 กลุ่มสูงตอบถูก 8 คน กลุ่มต่ำตอบถูก 4 คน ข้อ 2 กลุ่มสูงตอบถูก 7 คน กลุ่มต่ำตอบถูก 12 คน
  • 27. การแปลความหมาย ค่า r ติดลบ แสดงว่า ข้อสอบมีอำนาจจำแนกผิดใช้ไม่ได้ ค่า r = 0.00-0.19 แสดงว่า ข้อสอบมีอำนาจจำแนกต่ำ ค่า r = 0.20-0.39 แสดงว่า ข้อสอบมีอำนาจจำแนกปานกลาง ค่า r = 0.40-0.59 แสดงว่า ข้อสอบมีอำนาจจำแนกค่อนข้างสูง ค่า r ตั้งแต่ 0.60 ขึ้นไป แสดงว่า ข้อสอบมีอำนาจจำแนกสูง
  • 28. ข้อตกลงเบื้องต้น : จำนวนข้อทดสอบไม่น้อยกว่า 20 ข้อ ข้อสอบทุกข้อมีความเป็นเอกพันธุ์ คือวัดคุณสมบัติใกล้เคียงกันและมีค่าความยากใกล้เคียงกัน โดยสูตร KR-20 และสูตร KR-21 มีรูปดังนี้ เมื่อ r tt แทน สัมประสิทธิ์ความเที่ยง k แทน จำนวนข้อสอบทั้งฉบับ p แทน สัดส่วนจำนวนคนตอบแต่ละข้อถูก q แทน สัดส่วนจำนวนคนตอบแต่ละข้อผิด (1- p ) S x 2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับ วิธีของคูเดอร์ - ริชาร์ดสัน ( Kuder - Richardson )
  • 29. KR 21 เมื่อ แทน ค่าเฉลี่ยคะแนนรวมทั้งฉบับ สูตร KR 21 จะคำนวณได้รวดเร็วกว่า แต่จะให้ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงต่ำกว่า KR 20 มีข้อตกลงเบื้องต้นว่าข้อสอบแต่ละข้อต้องมีความยากเท่ากันหรือใกล้เคียงกัน
  • 30. สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบัค สามารถใช้ประมาณค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของแบบทดสอบหรือแบบวัดใด ๆ ที่ไม่ได้กำหนดคะแนน 0 , 1 สูตรที่ใช้คำนวณของคะแนนรายข้อและคะแนนรวมทั้งฉบับเป็นหลัก เมื่อ α แทน สัมประสิทธิ์ความเที่ยง k แทน จำนวนข้อสอบทั้งฉบับ S i 2 แทน แทนความแปรปรวนของคะแนนรายข้อ S x 2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับ วิธีของครอนบัค ( Lee J. Cornbach )
  • 31. นำไปทดลองใช้ เพื่อ พิจารณาความเชื่อมั่น ( ความเที่ยง ) ของแบบสอบถาม โดยใช้วิธีการ หาความเชื่อมั่นแบบแอลฟา ( α- coefficient )
  • 32.  
  • 33.  
  • 34.  
  • 35.  
  • 36. การวิเคราะห์ข้อสอบโดย ( B-Index ) และการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัย
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42. 3. หาสัดส่วนกลุ่มผ่านเกณฑ์ ( n1 ) และกลุ่มไม่ผ่านเกณฑ์ ( n2 ) ที่ตอบถูกมาหักลบกัน ค่าที่ได้คือ ค่าดัชนีจำแนก B (B-Index) = ค่าดัชนีจำแนก B (B-Index) สัดส่วนของกลุ่มผ่านที่ตอบถูก = สัดส่วนของกลุ่มไม่ผ่านที่ตอบถูก = ค่าดัชนีจำแนก B(B-Index) = 1.00-0.00 = 1.00
  • 43.
  • 46. การใช้งานโปรแกรม B-Index ในการวิเคราะห์ข้อสอบแบบเลือกตอบ
  • 47.  
  • 48.  
  • 49.  
  • 50.  
  • 51.  
  • 52.  
  • 53.  
  • 54.  
  • 56. ข้อสอบแบบอัตนัย เป็นข้อสอบที่การตรวจให้คะแนนไม่ใช่แบบ 0-1 และการให้คะแนนแต่ละข้อจะไม่เท่ากัน และผลการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัยจะบ่งชี้ข้อมูลที่สำคัญ 3 ประการเช่นเดียวกับการวิเคราะห์แบบ 0-1 คือ แนวคิดและหลักการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัย ค่าดัชนีอำนาจจำแนกของข้อสอบแต่ละข้อ ค่าดัชนีความยากของข้อสอบแต่ละข้อ ค่าดัชนีความเชื่อมั่นของข้อสอบทั้งฉบับ
  • 57. กระบวนการในการวิเคราะห์ นำข้อสอบไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง ตรวจให้คะแนนแต่ละข้อแต่ละฉบับ ( แต่ละคน ) รวมคะแนนของข้อสอบแต่ละฉบับ เรียงคะแนนสูงสุดไปยังต่ำสุด คัดเลือกเอากลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดเรียงลงมา จำนวนร้อยละ 25 ของจำนวนทั้งหมด
  • 58. กระบวนการในการวิเคราะห์ ( ต่อ ) ในทำนองเดียวกันคัดเลือกกลุ่มต่ำคัดเลือกกลุ่มต่ำมาร้อยละ 25 เช่นเดียวกัน นำข้อมูลไปหาค่าดัชนีความยาก นำข้อมูลไปหาค่าดัชนีอำนาจจำแนก คำนวณความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ
  • 59. คุณสมบัติของโปรแกรม ในการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัยโดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นสามารถรายงานผลการวิเคราะห์ได้ดังนี้คือ 1. ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ ( Index of Discriminant ) 2. ค่าความยากของข้อสอบรายข้อ ( Index of Difficulty ) 3. ค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบทั้งฉบับ ( Coefficient Alpha )
  • 61.  
  • 62.  
  • 63.  
  • 64.  
  • 65. ขั้นตอนการวิจัย 1. กำหนดปัญหา 2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3. นิยามปัญหา 4. ตั้งสมมติฐานของการวิจัย 5. ออกแบบวิธีการวิจัย 5.1 ประชากรและวิธีสุ่ม 5.2 เครื่องมือการวิจัย 5.3 แบบแผนการวิจัย 5.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
  • 66. ขั้นตอนการวิจัย 6. สุ่มตัวอย่าง 7. สร้างเครื่องมือวิจัยและตรวจสอบคุณภาพ 8. เก็บข้อมูล 10 . เขียนรายงานการวิจัย 9 . วิเคราะห์ข้อมูล
  • 67. กระบวนการวิจัย 1. กำหนดปัญหา วิเคราะห์สภาพปัญหาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 2. ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์จุดเด่นจุดด้อยและกำหนดวิธีการที่ใช้แก้ปัญหา 3. สร้างและตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรม 4. นำนวัตกรรมไปใช้และเก็บข้อมูล 5. วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
  • 68. ความหมายของสัญลักษณ์ที่ใช้ X O 1 O 2 E C คือ คือ คือ คือ คือ การจัดกระทำ (Treatment) การวัด หรือการสังเกตก่อนให้ X การวัด หรือการสังเกตหลังให้ X กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม
  • 69.
  • 70. รูปแบบของการวิจัย รูปแบบที่ 1 กลุ่มทดลองกลุ่มเดียว วัดผลเฉพาะหลังการทดลอง ผังการทดลอง E-group X O 2E แนวทางการวิเคราะห์ผลการทดลอง หลังจากทำการวัดผลภายหลังการทดลองได้แล้ว นำผลการวัดมาเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ เช่น ภายหลังการทดลองนักเรียนจะต้องได้คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 เทียบกับเกณฑ์
  • 71. รูปแบบที่ 2 กลุ่มทดลองกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง แนวทางการวิเคราะห์ผลการทดลอง รูปแบบการทดลองในแบบที่ 2 จะใช้การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนผลการวัดก่อนและหลังการทดลองหรือการใช้นวัตกรรม หรือนำผลการใช้นวัตกรรมหรือผลคะแนนหลังการทดลองไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ผังการทดลอง E-group O 1E X O 2E สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การทดสอบที ( t-test Dependent Sample )
  • 72. รูปแบบที่ 3 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่ไม่เท่าเทียมกัน วัดผลเฉพาะหลังการทดลอง แนวทางการวิเคราะห์ผลการทดลอง รูปแบบที่ 3 จะใช้การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนผลการวัดหลังการทดลองหรือการใช้นวัตกรรมของกลุ่มทดลองเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม หรือนำผลการใช้นวัตกรรมหรือผลคะแนนหลังการทดลองของกลุ่มทดลองไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ผังการทดลอง E-group X O 2E C-group _ O 2C สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การทดสอบที ( t-test Independent Sample)
  • 73. รูปแบบที่ 4 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่ไม่เท่าเทียมกัน วัดผลก่อนและหลังการทดลอง แนวทางการวิเคราะห์ผลการทดลอง รูปแบบที่ 4 จะใช้การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนผลการวัดหลังการทดลองหรือการใช้นวัตกรรมของกลุ่มทดลองเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม และใช้การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนและหลังการทดลอง ( Posttest เปรียบเทียบ Pretest ) ซึ่งจะทำให้ทราบถึงพัฒนาการของผู้เรียน หรือนำผลการใช้นวัตกรรมหรือผลคะแนนหลังการทดลองของกลุ่มทดลองไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ผังการทดลอง E-group O 1E X O 2E C-group O 1C _ O 2C สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การทดสอบที ( t-test dependent sample ) และ t-test Independent Sample

Editor's Notes

  1. d