SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3
วงกลม (21 ชั่วโมง)
3.1 วงกลม (1 ชั่วโมง)
3.2 มุมที่จุดศูนยกลางและมุมในสวนโคงของวงกลม (6 ชั่วโมง)
3.3 คอรด (7 ชั่วโมง)
3.4 เสนสัมผัสวงกลม (7 ชั่วโมง)
เนื้อหาในบทนี้มีจุดมุงหมายใหนักเรียนรูจักสมบัติของวงกลมในรูปของทฤษฎีบท ในการพิสูจน
ทฤษฎีบทอาศัยความรูพื้นฐานที่นักเรียนเคยเรียนมาแลวเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม
เสนขนาน รูปสามเหลี่ยมคลาย และทฤษฎีบทเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม สาระที่เสนอไว
สวนใหญอยูในรูปของกิจกรรมที่ใหนักเรียนศึกษาสมบัติของวงกลม เพื่อนําไปสูทฤษฎีบทซึ่งบางทฤษฎีบท
ไดมีการพิสูจนไว บางทฤษฎีบทไมไดแสดงการพิสูจนแตมีคําถามที่นําไปสูการพิสูจนได และบาง
ทฤษฎีบทก็ใหนักเรียนยอมรับโดยไมมีการพิสูจน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมที่ใหนักเรียนเห็นการนําสมบัติ
ของวงกลมไปใชในการสรางและใชแกปญหาที่กําหนดได
การจัดการเรียนการสอนที่อยูในรูปของกิจกรรม ครูควรใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง เพื่อฝกให
นักเรียนมีความสามารถในการสรางขอความคาดการณเกี่ยวกับสมบัติทางเรขาคณิต สําหรับการพิสูจน
ทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมใหอยูในดุลพินิจของครูวาควรใหนักเรียนพิสูจน หรือใหนักเรียนยอมรับ
ทฤษฎีบทนั้นไปใชอางอิงไดโดยไมจําเปนตองพิสูจนอยางเปนทางการก็ได
การเขียนเหตุผลอางอิงในแตละขั้นตอนของการพิสูจน ครูอาจใหนักเรียนเขียนเหตุผลเหลานั้นอยาง
สมบูรณหรือเขียนอยางยอที่ไดสาระครบถวนก็ได สําหรับแนวคิดในการใหเหตุผลที่แสดงไวในสวนเฉลย
คําตอบของกิจกรรมหรือแบบฝกหัด ไดเขียนไวในลักษณะรวบลัดขั้นตอน ถาครูเนนการเขียนพิสูจนอยาง
เปนระบบ ควรใหนักเรียนเขียนขั้นตอนเพิ่มเติมตามเหตุและผลที่ควรจะเปน อยางไรก็ตามแนวคิดที่ใหไว
ในสวนเฉลยเปนเพียงแนวคิดหนึ่งในการหาคําตอบ นักเรียนอาจมีแนวคิดที่แตกตางก็ได สําหรับแบบฝกหัด
มีทั้งอยูในแตละกิจกรรมและอยูในชุดแบบฝกหัด ครูควรเลือกใหนักเรียนทําตามความเหมาะสมกับ
ความสามารถของนักเรียนและเวลา
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
ใชสมบัติเกี่ยวกับวงกลมในการใหเหตุผลและแกปญหาที่กําหนดใหได
46
แนวทางในการจัดการเรียนรู
3.1 วงกลม (1 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถระบุสวนตาง ๆ ที่กําหนดใหเกี่ยวกับวงกลมได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวงกลมที่ปรากฏอยูในสิ่งแวดลอมรอบตัว อาจใหนักเรียน
ชวยกันยกตัวอยางวัสดุหรือสิ่งที่มีลักษณะเปนวงกลม เพื่อโยงไปสูความหมายของวงกลม เมื่อกลาวถึง
วงกลมซึ่งเปนรูปเรขาคณิตรูปหนึ่ง จะเรียกชื่อวาวงกลมโดยไมมีคําวารูปนําหนาเหมือนชื่อรูปเรขาคณิต
อื่น ๆ เชน รูปสามเหลี่ยม หรือรูปสี่เหลี่ยม
2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแนะนําสวนตาง ๆ ของวงกลม ครูควรแนะนําทีละ
ชุด โดยแนะนําชุดที่เปนเสนตรงหรือสวนของเสนตรงที่เกี่ยวของกับวงกลม เชน คอรด เสนสัมผัส
วงกลม แลวตรวจสอบความเขาใจโดยใหนักเรียนทํากิจกรรม “บอกไดไหม” ตอจากนั้นจึงแนะนําชุดของ
มุมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวงกลม เชน มุมที่จุดศูนยกลาง มุมในสวนโคงของวงกลม และใชกิจกรรม
“ยังบอกไดไหม” ตรวจสอบความเขาใจอีกครั้ง สําหรับความหมายของสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลาง
หรือรองรับมุมในสวนโคงของวงกลมไมไดใหความหมายไวเปนกิจลักษณะ ครูควรอธิบายและชี้ใหเห็นวา
สวนโคงดังกลาวมีจุดปลายอยูบนแขนทั้งสองของมุมที่กลาวถึง เชน
BAC
∧
เปนมุมในสวนโคงของวงกลม ซึ่งมี BC อยูตรงขามมุม
เปนสวนโคงที่รองรับมุม BAC
∧
สังเกตไดวา จุด B และจุด C
อยูบนวงกลม จุด B อยูบนแขน AB และจุด C อยูบนแขน
AC
3. การทบทวนและแนะนําเกี่ยวกับสวนตาง ๆ ของวงกลมในหัวขอนี้ มีเจตนาเพียงเพื่อให
นักเรียนเขาใจและเปนพื้นฐานในการศึกษาสาระในหัวขอตอ ๆ ไป ครูไมควรนําสาระในหัวขอนี้ไปวัดผล
B
C
A
47
3.2 มุมที่จุดศูนยกลางและมุมในสวนโคงของวงกลม (6 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถนําทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมที่เกี่ยวกับมุมที่จุดศูนยกลางและ
มุมในสวนโคงของวงกลมไปใชได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. สาระสวนใหญในหัวขอนี้เสนอไวในรูปของกิจกรรมเชนกิจกรรม “มุมในครึ่งวงกลม”
ครูควรใหนักเรียนไดปฏิบัติกิจกรรมจริง ๆ และเขียนขอความคาดการณที่นักเรียนคนพบจากกิจกรรม
สําหรับการพิสูจนยืนยันขอความคาดการณในกิจกรรมนี้ไดกลาวไวในรูปของทฤษฏีบท ครูอาจให
นักเรียนชวยกันบอกแนวคิดในการพิสูจนบนกระดานดํา และบอกเหตุผลโดยใชการอธิบายดวยวาจาแทน
การเขียน หลังจากนั้นจึงใหนักเรียนศึกษารายละเอียดของการพิสูจนในหนังสือเรียนอีกครั้งก็ได
2. สําหรับตัวอยางที่ 1 แสดงใหนักเรียนเห็นวาโจทยปญหาเกี่ยวกับการคํานวณหาขนาดของมุม
ที่กําหนดให ถาตองการแสดงเหตุผลประกอบจะทําไดอยางไร
สําหรับโจทยปญหาที่ใหหาขนาดของมุมที่กําหนดใหในทุก ๆ เรื่องของบทนี้ ในกรณีที่ไม
ตองแสดงเหตุผล ครูอาจแนะนําใหนักเรียนเขียนขนาดของมุมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการคํานวณหาคําตอบไว
ในรูป เพื่อครูจะไดตรวจสอบรองรอยการคิดคํานวณและการนําสมบัติของวงกลมมาใชวาถูกตองหรือไม
เชน
กําหนดให AB เปนเสนผานศูนยกลางของวงกลม O และ
ACO
∧
= 35o
จงหาขนาดของ OBC
∧
จากรูป จะเห็นแนวคิดของนักเรียนที่มีรองรอยของขนาดของมุม
ตาง ๆ ที่เกี่ยวของกันตามสมบัติทางเรขาคณิตที่นํามาใช ซึ่งจะ
ทําใหได OBC
∧
= 55o
3. การดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนในกิจกรรมอื่น ๆ เชนกิจกรรม “มุมที่จุดศูนยกลาง”
หรือ “มุมในสวนโคงของวงกลม” ก็อาจจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในทํานองเดียวกับกิจกรรม
“มุมในครึ่งวงกลม”
สําหรับการพิสูจนวาขอความคาดการณ “มุมที่จุดศูนยกลาง จะมีขนาดเปนสองเทาของ
ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน”
ถาครูเห็นสมควรใหนักเรียนพิสูจน ครูอาจแนะนําแนวคิดในการพิสูจน ในกรณีที่มุมใน
สวนโคงมีลักษณะเปนดังรูป ก และรูป ค ดังนี้
35o
C
O
A B
55o
55o
48
ลาก CO ใหตัดวงกลมที่จุด E
จะได 1
∧
= 2
∧
+ 3
∧
= 2(2
∧
) --------- 1
4
∧
= 5
∧
+ 6
∧
= 2(5
∧
) --------- 2
จาก 1 + 2 จะได 1
∧
+ 4
∧
= 2(2
∧
+5
∧
)
ดังนั้น ในรูป ก AOB
∧
= 2(ACB
∧
) และในรูป ค มุมกลับ AOB = 2(ACB
∧
)
ในกรณีที่มุมในสวนโคงมีลักษณะดังรูป ข ครูอาจแนะนําแนวคิดในการพิสูจน ดังนี้
โดยลาก CO ใหตัดวงกลมที่จุด D
จะได 1
∧
= 2
∧
+ 3
∧
= 2(2
∧
) ------ 1
1
∧
+ 4
∧
= (2
∧
+5
∧
)+ 6
∧
= 2(2
∧
+5
∧
)
= 2(2
∧
)+ 2(5
∧
) ------ 2
จาก 2 – 1 จะได 4
∧
= 2(5
∧
)
ดังนั้น AOB
∧
= 2(ACB
∧
)
4. สําหรับแบบฝกหัด 3.2 ข ขอ 2 เปนสมบัติที่ครูควรใหนักเรียนพิสูจน และแนะนําให
นักเรียนจดจําทฤษฎีบทนี้ไปใชในการใหเหตุผลอางอิงตอไป
สําหรับแบบฝกหัดขอ 3 หลังจากพิสูจนขอความดังกลาวแลว ครูควรใหนักเรียนสรุปเปน
สมบัติของวงกลมที่สามารถนําไปใชอางอิงไดเชนกัน อาจใหจดบันทึกเปนทฤษฎีบทดังนี้
ในวงกลมวงหนึ่ง ถาตอดานใดดานหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมออกไป ขนาดของ
มุมภายนอกจะเทากับขนาดของมุมภายในที่อยูตรงขาม
A
B
O
C
2 5
641
3
E
รูป ก
1
A
E
B
C
O
4 6
523
รูป ค
(ขนาดของมุมภายนอกของ
รูปสามเหลี่ยมเทากับผลบวก
ของมุมภายในที่ไมใชมุมประชิด
ของมุมภายนอกนั้น)
(เหตุผลเชนเดียว
กันกับขางตน)
OD
B3
A
1 4 2 5
6
C
รูป ข
49
3.3 คอรด (7 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถนําทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมที่เกี่ยวกับคอรดและสวนโคงของ
วงกลมไปใชได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. สาระในกิจกรรม “คอรดและสวนโคงของวงกลม” เสนอไวในรูปคําถามซึ่งมีคําตอบนําไปสู
การใหเหตุผลเพื่อการพิสูจนยืนยันทฤษฎีบทที่เกี่ยวของได ครูอาจใหนักเรียนสํารวจ ตอบคําถามและ
ชวยกันสรุปเปนขอความคาดการณ แลวใหนักเรียนพิสูจนทฤษฎีบทนั้นเปนการบานก็ได
2. สําหรับกิจกรรม “รูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลม” มีเจตนาใหนักเรียนไดนํา
ความรูเกี่ยวกับความสัมพันธของมุมที่จุดศูนยกลาง สวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางและคอรดมาใชใน
การสรางรูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาบางรูปแนบในวงกลมและการใหเหตุผลยืนยัน ครูอาจใหนักเรียน
รวมกันอภิปรายหาขอสรุปเพื่อตอบคําถามหลังกิจกรรมการสราง
3. สําหรับกิจกรรม “คอรดกับจุดศูนยกลางของวงกลม” การพิสูจนในกิจกรรมขอ 1 และ
ขอ 2 ทําไดงาย ครูอาจใหนักเรียนพิสูจนเปนการบานและนํามาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียนอีกครั้งก็ได
4. การพิสูจนสมบัติของวงกลมเกี่ยวกับจุดศูนยกลางของวงกลมที่อยูบนเสนตรงที่ตั้งฉากและ
แบงครึ่งคอรดของวงกลมคอนขางเขาใจยาก ครูควรนํามาอภิปรายในชั้นเรียนและชี้ใหนักเรียนเห็นวา
สมบัติดังกลาวนี้มีประโยชนในการนําไปใชแกปญหาเกี่ยวกับการหาตําแหนงของจุดศูนยกลางของวงกลม
ในกิจกรรม “หาจุดศูนยกลาง” ตอไป
สําหรับกิจกรรมการหาจุดศูนยกลางของวงกลมที่กําหนดคอรดสองคอรดขนานกัน ครูอาจ
เพิ่มเติมความรูโดยใชคําถามใหนักเรียนคิดวา ในกรณีเชนนี้ในทางปฏิบัติจะทําอยางไรจึงจะทราบตําแหนง
ของจุดศูนยกลางของวงกลม
คําตอบของนักเรียนอาจเปนดังนี้
จากรูปที่มี AB // CD และ EF ตั้งฉากและแบงครึ่ง
AB และ CD อาจลาก AD แลวสรางเสนตรง
ตั้งฉากและแบงครึ่ง AD จะไดจุดตัดของเสนตรง
กับ EF เปนจุดศูนยกลางของวงกลม
F
AB
C D
E
50
5. สําหรับกิจกรรม “วงกลมผานจุดที่กําหนด” มีเจตนาใหเปนกิจกรรมสํารวจ ครูควรให
นักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง เพื่อใหไดขอสรุปที่สําคัญตามที่เสนอไวทายกิจกรรมนี้
6. กิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” เปนกิจกรรมที่ตองการใหนักเรียนเห็นการนําความรูจาก
กิจกรรม “หาจุดศูนยกลาง” ไปใชในการสรางวงกลมลอมรูปสามเหลี่ยม ครูอาจตั้งคําถามแลวให
นักเรียนชวยกันสรางและใหเหตุผลรวมกันในชั้นเรียนก็ได
7. กิจกรรม “รูปสี่เหลี่ยมแนบในวงกลม” เปนกิจกรรมที่ตองการใหนักเรียนทราบทฤษฎีบท
ของวงกลมที่นาสนใจอีกทฤษฎีบทหนึ่งซึ่งเปนบทกลับของทฤษฎีบทที่กลาววา “ผลบวกของขนาดของ
มุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา” ครูควรนํามาอธิบายและชี้ใหเห็นวาแนวคิด
ในการพิสูจนจะแตกตางจากแนวการพิสูจนที่นักเรียนคุนเคย คือใหเหตุผลเพื่อแสดงวาผลที่ตองการเปนจริง
แตในการพิสูจนบทกลับนี้จะพิสูจนโดยสมมติใหผลที่ตองการพิสูจนเปนเท็จ แลวใหเหตุผลจนเกิดขอ
ขัดแยงกับสิ่งที่กําหนดใหหรือสิ่งที่ทราบวาเปนจริง จึงไดขอสรุปวา ที่สมมติใหผลที่ตองการพิสูจนเปน
เท็จนั้นเปนไปไมได ดังนั้นผลที่ตองการจึงเปนจริง การพิสูจนลักษณะนี้เปนการพิสูจนทางออม
8. สําหรับกิจกรรม “คอรดที่ยาวเทากัน” หลังจากครูใหนักเรียนตอบคําถามและชวยกันสรุป
คําตอบที่จะนําไปสูการพิสูจนแลว ครูอาจใหนักเรียนเขียนการพิสูจนอีกครั้งเปนการบานดวยก็ได
9. สําหรับแบบฝกหัด 3.3 ค ขอ 6 หลังจากนักเรียนพิสูจนแลว ครูควรแนะนําใหนักเรียน
ทราบวา เราสามารถนําสมบัตินี้ไปใชอางอิงในการใหเหตุผลตอไปได
3.4 เสนสัมผัสวงกลม (7 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถนําทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมที่เกี่ยวกับเสนสัมผัสวงกลมไปใชได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเสนสัมผัสวงกลมและรัศมี ครูควรนําทฤษฏีบทที่
เปนประโยคเงื่อนไขและบทกลับของประโยคเงื่อนไขทั้งสองประโยคมาอธิบายและทําความเขาใจแนวการ
พิสูจน เนื่องจากแนวการพิสูจนบทกลับเปนการพิสูจนทางออมซึ่งอาจเปนเรื่องที่เขาใจยากสําหรับนักเรียน
บางคน
2. สําหรับสาระเกี่ยวกับการสรางเสนสัมผัสวงกลมแสดงใหเห็นการสราง 2 แบบคือ แบบ
กําหนดจุดสัมผัสบนวงกลมมาใหและกําหนดจุดภายนอกวงกลมมาให ซึ่งเปนความรูที่นักเรียนควรทราบ
ครูอาจใหนักเรียนเขียนการพิสูจนยืนยันการสรางดวย ทั้งนี้เพราะในแบบฝกหัดที่กําหนดใหสรางเสนสัมผัส
ไมไดใหมีการพิสูจน
3. สําหรับกิจกรรม “ลองคิดดู” มีเจตนาใหนักเรียนไดฝกคิดวิเคราะหและใชความรูทาง
เรขาคณิต พีชคณิตและการวัดมาเชื่อมโยงในการแกปญหา ครูอาจใหนักเรียนคิดและนําเสนอแนวคิดบน
ปายนิเทศก็ได
51
4. สําหรับกิจกรรม “นารู” มีเจตนาใหเปนความรูเพิ่มเติมและใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยง
ความรูโดยนําสมบัติของวงกลมมาใชในการอธิบายทางภูมิศาสตรเกี่ยวกับการกําหนดตําแหนงของเสนรุง
ครูอาจใหนักเรียนศึกษาดวยตนเองก็ได
5. สําหรับกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” มีเจตนาใหนักเรียนเห็นการนําความรู
เกี่ยวกับเสนสัมผัสวงกลมและรัศมีมาใชในการวิเคราะหการสรางวงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูอาจเขียนรูปที่ตองการสรางอยางคราว ๆ ซึ่งเปนรูป
ที่มีวงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยมกอน แลวใชคําถามใหนักเรียนคิดวิเคราะหยอนจากผลที่ตองการไปสู
จุดเริ่มตนของการสราง ดังตัวอยางคําถามตอไปนี้
1) ถาจุด D, E และ F เปนจุดสัมผัสของวงกลม แลว OD, OE และ OF ตอง
เกี่ยวของกับวงกลม O อยางไรบาง [แตละสวนของเสนตรงเปนรัศมีของวงกลม O
มีความยาวเทากัน และตั้งฉากกับกับเสนสัมผัส]
2) ถาตองการใหมีผลวา OD = OE เหตุที่จะทําใหเกิดผลดังกลาว ควรไดจากความรู
เรื่องใด [ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม]
3) ถาใชความรูเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม สิ่งที่จะใชเปนเงื่อนไข
ในการพิจารณา 3 ประการนาจะมีอะไรบาง [BD = BE, BO = BO และ
DBO
∧
= EBO
∧
]
4) จากเงื่อนไข 3 ประการในขอ 3) มีสิ่งใดที่นักเรียนคิดวายังบอกไมไดวามีความเทากัน
หรือไม [ขนาดของ DBO
∧
และขนาดของ EBO
∧
]
5) นักเรียนสามารถสรางให DBO
∧
= EBO
∧
ไดหรือไม [ได โดยการสรางเสนแบง
ครึ่งมุม]
จากคําถาม 5 ขอขางตน นักเรียนควรเห็นแลววาทําไมการสรางวงกลมแนบในรูป
สามเหลี่ยมจึงตองอาศัยการแบงครึ่งมุมของรูปสามเหลี่ยม
จากนั้นครูจึงใชคําถามตอเนื่อง เชน
E
O
F
A
CB
D
52
6) ถาสรางเฉพาะเสนแบงครึ่งมุม ABC
∧
มุมเดียวจะหาจุดศูนยกลางของวงกลมไดหรือไม
[ไมได]
7) นักเรียนตองสรางเสนแบงครึ่งมุมของรูปสามเหลี่ยมกี่มุม จึงจะไดตําแหนงของ
จุดศูนยกลางของวงกลม [2 มุม]
8) จําเปนตองสรางเสนแบงครึ่งมุมของมุมที่สามอีกหรือไม เพราะเหตุใด
[ไมจําเปน เพราะจากการสรางเสนแบงครึ่งมุม 2 มุมก็สามารถพิสูจนไดแลววา
DO = EO = FO และ DO, EO, FO แตละเสนจะตั้งฉากกับดานทั้งสามของ
รูปสามเหลี่ยม ทําใหสรุปไดวาจุด E, F และ G เปนจุดสัมผัสของวงกลม]
6. ทฤษฎีบทในกิจกรรม “เสนสัมผัสและคอรด” เปนอีกทฤษฏีบทหนึ่งที่มีการนําไปใชมาก
หลังจากนักเรียนตอบคําถามขอ 1 แลว ครูควรใหนักเรียนพิสูจนเปนทฤษฎีบทโดยทํากิจกรรมขอ 2 ดวย
7. สําหรับกิจกรรม “ไกลแคไหน” มีเจตนาใหเห็นการนําความรูเรื่องเสนสัมผัสไปใชเพื่อ
เชื่อมโยงกับความรูทางภูมิศาสตรอีกกิจกรรมหนึ่ง ครูอาจใหนักเรียนศึกษาและทําเปนการบานก็ได แต
ควรไดมีการอภิปรายกันถึงสถานการณปญหาที่ตองการใหเห็นแนวคิดในการหาสูตรการคํานวณ เพื่อใชใน
การคํานวณระยะทางในทางภูมิศาสตรโดยประมาณ ครูไมควรนําเรื่องนี้ไปวัดผล
8. สําหรับกิจกรรม “ระยะรอบโลก” เปนอีกกิจกรรมหนึ่งที่ตองการใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยง
ความรูทางคณิตศาสตรกับภูมิศาสตร ตองการจุดประกายใหนักเรียนเห็นความสามารถของนักคณิตศาสตร
ในอดีตที่มีความคิดสรางสรรค เปนคนชางสังเกต ใฝรู และมีความพยายามในการแกปญหา
นวนิยายเรื่อง 80 วันรอบโลกเสนอไวในกิจกรรมนี้เพื่อเสริมกิจกรรมใหนาสนใจ ภาพยนตร
เรื่องนี้สนุก ตื่นเตน ครูอาจหาภาพยนตรเรื่องนี้มาใหนักเรียนชมก็ได
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบกิจกรรม “บอกไดไหม”
1.
1) หลายเสนนับไมถวน
2) ไมเปน เพราะรัศมีของวงกลมตัดวงกลมที่จุดจุดเดียว
3) หลายเสนนับไมถวน
4) ได
5) หลายเสนนับไมถวน
6) ไมได
53
2.
1) AC
2) AO, BO และ CO
3) AC, BC, CD และ DH
4) AC
5) EF
6) CF
7) ABC และ ADC
คําตอบกิจกรรม “ยังบอกไดไหม”
1. AOB, BOC, AOC,
∧ ∧ ∧
มุมกลับ AOB และมุมกลับ BOC
2. ADC
∧
3. BAC, BAD, CAD, ADB, ADC, BDC, ACD
∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧
และ ABD
∧
4. AB, BC, ABC, ADC, ADB หรือ ACB, BAC หรือ BDC
5. ABC
6. BC, BD, CD, AB, AC และ AD
คําตอบกิจกรรม “มุมในครึ่งวงกลม”
คําตอบในกิจกรรม
4. 90o
5. ใช
คําตอบแบบฝกหัด
1. 25o
2. 55o
3. 37o
54
คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ก
1. 54o
แนวคิดในการใหเหตุผล
1. ABC
∧
= 180 – 90 – 18 = 72o
2. AOD
∧
= ABC
∧
= 72o
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน
และมีเสนตัด แลวมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูบน
ขางเดียวกันของเสนตัด มีขนาดเทากัน)
3. ∆ ADO เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
4. ADO
∧
= DAO
∧
= 180 72
2
−
= 54o
2. แนวคิดในการพิสูจน
1. ABC
∧
= BAD
∧
= CDA
∧
= DCB
∧
= 90o
(มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา)
2. ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
3. แนวคิดในการพิสูจน
1. ∆ ABC ≈ ∆ ADC (ม.ม.ด.)
2. AB = AD (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
คําตอบกิจกรรม “มุมที่จุดศูนยกลาง”
คําตอบในกิจกรรม
3. ได
4. ขนาดของมุมที่จุดศูนยกลางเปนสองเทาของขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย
สวนโคงเดียวกัน
18o
O B
CD
A
A
B
D
C
B
D
C
A
55
6. ได
7. ไดเชนเดียวกัน
8. จากรูป ข ได AOB
∧
= 2(ACB
∧
)
จากรูป ค ได มุมกลับ AOB = 2(ACB
∧
)
9. ใช
คําตอบแบบฝกหัด
1. 45o
2. 55o
3. แตละมุมมีขนาด 40o
4.
1) 200o
2) 160o
3) 80o
4) 180o
5) 180o
คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ข
1. 122.5o
แนวคิดในการใหเหตุผล
1. มุมกลับ AOB = 360 – 115 = 245o
2. มุมกลับ AOB = 2(ACB
∧
) = 245o
(มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ
ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง
เดียวกัน)
3. ACB
∧
= 245
2 = 122.5o
(สมบัติของการเทากัน)
B
115o
C
A
O
56
2. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก DO และ BO
1. DOB
∧
= 2(DAB
∧
) และมุมกลับ DOB = 2(DCB
∧
)
(มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ
ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง
เดียวกัน)
2. 2(DAB
∧
) + 2(DCB
∧
) = DOB
∧
+ มุมกลับ DOB = 360o
3. DAB
∧
+ DCB
∧
= 180o
(สมบัติของการเทากัน)
ในทํานองเดียวกันสามารถพิสูจนไดวา ABC
∧
+ ADC
∧
= 180o
3. แนวคิดในการพิสูจน
1. BAD
∧
+ DCB
∧
= 180o
(ผลบวกของขนาดของมุม
ตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา)
2. DCB
∧
+ BCE
∧
= 180o
(ขนาดของมุมตรง)
3. BCE
∧
= BAD
∧
(สมบัติของการเทากัน)
คําตอบกิจกรรม “มุมในสวนโคงของวงกลม”
คําตอบในกิจกรรม
1. AOC
∧
= 2(ABC
∧
)
2. AOC
∧
= 2(ADC
∧
)
3. ABC
∧
= ADC
∧
4. มุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาดเทากัน
5. ใช
คําตอบแบบฝกหัด
1. 62o
2. 75o
3. 29o
4. 53o
A
O
B
D
C
A
B
D
C
E
57
คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ค
1. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก AO และ CO
1. AOC
∧
= 2(ABC
∧
) และ AOC
∧
= 2(ADC
∧
)
(มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ
ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง
เดียวกัน)
2. 2(ABC
∧
) = 2(ADC
∧
) (สมบัติของการเทากัน)
3. ABC
∧
= ADC
∧
(สมบัติของการเทากัน)
2. 76o
แนวคิดในการใหเหตุผล
1. BCD
∧
= ABC
∧
= 50o
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน
และมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
2. BAD
∧
= BCD
∧
= 50o
(มุมในสวนโคงของวงกลมที่
รองรับดวยสวนโคงเดียวกันจะมีขนาดเทากัน)
3. BAC
∧
= 50 + 26 = 76o
3. 36o
4. แนวคิดในการพิสูจน
พิจารณา ∆ ABX และ ∆ CDX
1. ABX
∧
= CDX
∧
และ BAX
∧
= DCX
∧
(มุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน
จะมีขนาดเทากัน)
2. AXB
∧
= CXD
∧
(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลว
มุมตรงขามมีขนาดเทากัน)
A
B D
C
O
X
B
D
C
A
C
50°
26°
A
D
B
58
3. ∆ ABX ∼ ∆ CDX ----- ขอ 1
(ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของมุมเทากันเปนคู ๆ
สามคู แลวรูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเปนรูปสามเหลี่ยมที่
คลายกัน)
4. BX
DX = AX
CX (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลาย) ----- ขอ 2
5. BX CX⋅ = DX AX⋅
(สมบัติการคูณไขวของอัตราสวน) ----- ขอ 3
คําตอบกิจกรรม “มุมและสวนโคงที่รองรับมุม”
1.
2) ทับกันไดสนิท
3) เทากัน
4) ถามุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมทั้งสองนั้นจะ
ยาวเทากัน
5) ใช
2.
2) ทับกันไดสนิท
3) เทากัน
4) ถามุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมทั้งสองนั้นจะ
ยาวเทากัน
5) ใช
3.
1)
(1) เทากัน
(2) เทากัน
(3) ถามุมในสวนโคงของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมทั้งสองนั้นจะ
ยาวเทากัน
(4) ใช
(5) แนวคิดในการพิสูจน
59
A
B
O
C
D
พิจารณา วงกลม O และวงกลม R ที่เทากันทุกประการ
1. ACB
∧
= EDF
∧
(กําหนดให)
2. AOB
∧
= 2(ACB
∧
) และ ERF
∧
= 2(EDF
∧
)
(มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ
ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง
เดียวกัน)
3. AOB
∧
= ERF
∧
(สมบัติของการเทากัน)
4. m(AB) = m(EF)
(ในวงกลมที่เทากันทุกประการ ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาด
เทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาว
เทากัน)
2) แนวคิดในการพิสูจน
ลาก AO, BO และ DO
1. ACB
∧
= ACD
∧
(กําหนดให)
2. AOB
∧
= 2(ACB
∧
) และ AOD
∧
= 2(ACD
∧
)
(มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ
ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง
เดียวกัน)
3. AOB
∧
= AOD
∧
(สมบัติของการเทากัน)
4. m(AB) = m(AD) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่
จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่
จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน)
คําตอบกิจกรรม “มุมและสวนโคงที่รองรับมุม (ตอ)”
1.
2) ทับกันไดสนิท
3) เทากัน
4) ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงนั้นจะมีขนาด
เทากัน
A
B
O
C
E
F
R
D
60
5) ใช
2.
2) ทับกันไดสนิท
3) เทากัน
4) ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงนั้นจะมีขนาด
เทากัน
5) ใช
3.
1) แนวคิดในการพิสูจน
พิจารณาวงกลม O และวงกลม R ที่เทากันทุกประการ
ลาก AO, BO, DR และ FR
1. m(AB) = m(DF) (กําหนดให)
2. AOB
∧
= DRF
∧
(ในวงกลมที่เทากันทุกประการ
ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวย
สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน)
3. 2(ACB
∧
) = 2(DEF
∧
) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม
จะมีขนาดเปนสองเทาของขนาดของมุมในสวนโคงของ
วงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน)
4. ACB
∧
= DEF
∧
(สมบัติของการเทากัน)
2) แนวคิดในการพิสูจน
ลาก AO, BO และ CO
1. m(AB) = m(AC) (กําหนดให)
2. AOB
∧
= AOC
∧
(ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคง
ยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวยสวนโคงนั้น
จะมีขนาดเทากัน)
3. 2(ACB
∧
) = 2(ABC
∧
) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม
จะมีขนาดเปนสองเทาของขนาดของมุมในสวนโคงของ
วงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน)
4. ACB
∧
= ABC
∧
(สมบัติของการเทากัน)
A
B O
C
A
B
O
C
D
F
R
E
61
คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ง
1. ABC
∧
= 95o
และ BCD
∧
= 82o
แนวคิดในการใหเหตุผล
1. ADC
∧
+ ABC
∧
= 180o
(ผลบวกของขนาดของ
มุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ
180 องศา)
2. ABC
∧
= 180 – 85 = 95o
3. BAD
∧
+ BCD
∧
= 180o
(ผลบวกของขนาดของ
มุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ
180 องศา)
4. BCD
∧
= 180 – 98 = 82o
2. ADB
∧
= 25o
และ AEB
∧
= 25o
แนวคิดในการใหเหตุผล
1. ADB
∧
= ACB
∧
= 25o
(ในวงกลมวงเดียวกัน มุมใน
สวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมี
ขนาดเทากัน)
2. AEB
∧
= ACB
∧
= 25o
(ในวงกลมวงเดียวกัน มุมใน
สวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมี
ขนาดเทากัน)
3. m(DE)
แนวคิดในการใหเหตุผล
1. BAC
∧
= EAD
∧
(กําหนดให)
2. m(BC) = m(DE) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมใน
สวนโคงของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับ
มุมทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน)
B
C
A
D 98o
85o
A
D B
E
25o
C
D
B
E
C
A
62
4. BDC
∧
= 60o
และ CAD
∧
= 50o
5. ADC
∧
= 43o
และ BCD
∧
= 43o
6. AOC
∧
= 70o
และ BOD
∧
= 70o
7. แนวคิดในการพิสูจน
1. m(AD) = m(BC) (กําหนดให)
2. ABD
∧
= CDB
∧
(ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคงยาว
เทากัน แลวมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย
สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน)
3. AB // CD (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให
มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นขนานกัน)
8. แนวคิดในการพิสูจน
1. m(BD) = m(BC) (กําหนดให)
2. m(ADB) = m(ACB) (สวนโคงครึ่งวงกลมของวงกลม
วงเดียวกัน ยาวเทากัน)
3. m(ADB) – m(BD) = m(ACB) – m(BC) หรือ
m(AD) = m(AC) (สมบัติของการเทากัน)
4. ACD
∧
= ADC
∧
(ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคง
ยาวเทากัน แลวมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย
สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน)
5. AD = AC (ถามุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง
มีขนาดเทากัน แลวดานที่อยูตรงขามมุมทั้งสองนั้นจะยาว
เทากัน)
6. ∆ ADC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
9. แนวคิดในการพิสูจน
1. m(AX) = m(DX) (กําหนดให)
2. AOX
∧
= DOX
∧
(ในวงกลมวงเดียวกน ถาสวนโคง
ยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวยสวนโคงนั้น
จะมีขนาดเทากัน)
C
A
B
D
B
C
A
D
BC
A D
O
X
63
3. AOC
∧
= BOD
∧
(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลว
มุมตรงขามมีขนาดเทากัน)
4. AOC
∧
+ AOX
∧
= BOD
∧
+ DOX
∧
(สมบัติของการเทากัน)
5. ∆ COX ≅ ∆ BOX (ด.ม.ด.)
10. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก AO, BO, CO, DO และ EO
1. AOB
∧
+ BOC
∧
+ COD
∧
+ DOE
∧
+ EOA
∧
= 360o
(มุมรอบจุดจุดหนึ่งมีขนาดเทากับ 360 องศา)
2. 2(ADB
∧
) + 2(BEC
∧
) + 2(CAD
∧
) + 2(DBE
∧
) + 2(
∧
ECA)
= 360o
(สมบัติของการเทากัน)
3. ADB
∧
+ BEC
∧
+ CAD
∧
+ DBE
∧
+ ACE
∧
= 180o
(สมบัติของการเทากัน)
4. A
∧
+ B
∧
+C
∧
+D
∧
+E
∧
= 180o
คําตอบกิจกรรม “คอรดและสวนโคงของวงกลม”
1.
1) เทากันทุกประการ เพราะ AO = CO, BO = DO และ AB = CD
ดังนั้น ∆ AOB ≅ ∆ COD (ด.ด.ด.)
2) เทากัน เพราะ มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน
3) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่
รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน
4) เทากัน เพราะ ความยาวของแตละสวนโคงเกิดจากความยาวของเสนรอบวงของวงกลม
ลบดวยความยาวที่เทากันของสวนโคงของวงกลม
5) ใช
6) ใช
B
C
A
D
E
O
64
7) แนวคิดในการพิสูจน
กําหนดให วงกลม O และวงกลม R เทากันทุกประการ
คอรด AB และคอรด DE ยาวเทากัน
ลาก AO, BO, DR และ ER
1. ∆ AOB ≅ ∆ DRE (ด.ด.ด.)
2. AOB
∧
= DRE
∧
(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม
ที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)
3. m(AB) = m(DE) (ในวงกลมที่เทากันทุกประการ
ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับ
มุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน)
4. m(AB)+ m(ACB) = m(DE)+ m(DFE)
(ตางก็มีความยาวเทากับความยาวของเสนรอบวงของวงกลม
ที่เทากันทุกประการ)
5. m(ACB) = m(DFE) (สมบัติของการเทากัน)
2.
1) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่
รองรับดวยสวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน
2) เทากันทุกประการ เพราะ AO = CO, BO = DO และ AOB
∧
= COD
∧
(ด.ม.ด.)
3) AB = CD เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน
4) ใช
5) ใช
6) แนวคิดในการพิสูจน
กําหนดใหวงกลม O และวงกลม R เทากันทุกประการ
และ m(AB) = m(DE)
ลาก AO, BO, DR และ ER
1. m(AB) = m(DE) (กําหนดให)
2. AOB
∧
= DRE
∧
(ในวงกลมที่เทากันทุกประการ
ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวย
สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน)
3. ∆ AOB ≅ ∆ DRE (ด.ม.ด.)
BA
C
O
ED
F
R
BA
C
O
ED
FR
65
4. AB = DE (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
คําตอบกิจกรรม “รูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลม”
คําตอบแบบฝกหัด
1.
1) ยาวเทากัน
2) ตั้งฉากกันและแบงครึ่งซึ่งกันและกัน
3) แนวการสราง
1. สรางวงกลม O ใหมีรัศมียาวเทากับ 10
2 = 5 เซนติเมตร
2. ลาก AB เปนเสนผานศูนยกลาง
3. สราง XY ตั้งฉากกับ AB ที่จุด O ตัดวงกลมที่จุด C และจุด D
4. ลาก AC, BC, BD และ AD
จะได ADBC เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีเสนทแยงมุม AB ยาว 10 เซนติเมตร
A B
C
D
O 5 ซม.
Y
X
66
2.
2) เปน
3)
(1) เปน เพราะ ความยาวของแตละดานเทากับรัศมีของวงกลม
(2) 60o
เพราะ เปนขนาดของมุมภายในแตละมุมของรูปสามเหลี่ยมดานเทา
(3) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน
แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน
(4) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหได
สวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน
(5) 60o
เพราะ FOA
∧
มีขนาดเทากับขนาดของมุมรอบจุด O ลบดวยผลบวก
ของขนาดของมุมในขอ (2) FOA
∧
= 360 – (5 × 60)
(6) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน
แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน
(7) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหได
สวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน
(8) เปน เพราะ ทุกดานมีความยาวเทากัน
(9) 120o
เพราะ แตละมุมมีขนาดเทากับผลบวกของขนาดของมุมภายในสองมุม
ของรูปสามเหลี่ยมดานเทาที่เรียงตอกัน
(10) เปน
4)
(1) 120o
(2) 720o
คําตอบแบบฝกหัด
1) 3 มุม แตละมุมมีขนาด 120o
2) 8 มุม แตละมุมมีขนาด 45o
3) 12 มุม แตละมุมมีขนาด 30o
4) 16 มุม แตละมุมมีขนาด 22.5o
67
คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ก
1. แนวคิดในการพิสูจน
1. m(AB) = m(AC) (กําหนดให)
2. AB = AC (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัด
วงกลม ทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสอง
นั้นจะยาวเทากัน)
3. ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
(มีดานประกอบมุมยอดยาวเทากัน)
2. แนวคิดในการพิสูจน
1. m(AB) = m(BC) (กําหนดให)
2. AB = BC (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัด
วงกลม ทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้น
จะยาวเทากัน)
3. ADB
∧
=
∧
CEB (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคงยาว
เทากัน แลวมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย
สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน)
4. ∆ ABD ≅ ∆ CBE (ม.ม.ด.)
5. BD = BE (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
3. แนวการสราง
1. สรางวงกลม O โดยใชรัศมียาวพอสมควร
2. สราง AOB
∧
และ BOC
∧
ใหแตละมุมมีขนาด 120o
3. ลาก AB, BC และ AC
จะได ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา
C
A
B
A C
D E
O
B
O A
B
C
68
แนวคิดในการพิสูจน
1. AOB
∧
= BOC
∧
= 120o
(จากการสราง)
2. จะได AOC
∧
= 120o
(ขนาดของมุมรอบจุดจุดหนึ่งเทากับ 360 องศา)
3. m(AB) = m(BC) = m(CA) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาด
เทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะ
ยาวเทากัน)
4. AB = BC = CA (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหได
สวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน)
5. ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา
4. แนวการสราง
1. สรางวงกลม O โดยใชรัศมียาวพอสมควร
2. ลากเสนผานศูนยกลาง AE
3. สราง PQ แบงครึ่ง AOE
∧
ตัดวงกลมที่จุด C และจุด G
จะได AOC
∧
= 90o
4. สราง XY แบงครึ่ง AOC
∧
ตัดวงกลมที่จุด B และจุด F
จะได AOB
∧
= 45o
5. สราง MN แบงครึ่ง COE
∧
ตัดวงกลมที่จุด D และจุด H
จะได COD
∧
= 45o
6. ลาก AB, BC, CD, DE, EF, FG, GH และ HA
จะไดรูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทามุมเทา
แนวคิดในการพิสูจน
1. AOB
∧
= BOC
∧
= COD
∧
= DOE
∧
= EOF
∧
= FOG
∧
= GOH
∧
= HOA
∧
= 45o
(จากการสราง และถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขามจะมีขนาดเทากัน)
2. m(AB) = m(BC) = m(CD) = m(DE) = m(EF) = m(FG) = m(GH) = m(HA)
(ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่
จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน)
C
P
D
E
F
G
H
A
B
X
N
Q
Y
M
O
69
3. AB = BC = CD = DE = EF = FG = GH = HA
(ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรด
ทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน)
4. รูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทา (มีดานยาวเทากันทุกดาน)
5. ∆ AOB, ∆ BOC, ∆ COD, ∆ DOE, ∆ EOF, ∆ FOG, ∆ GOH และ ∆ HOA
แตละรูปเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วที่มีมุมยอดขนาด 45 องศา
6. มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วแตละรูปมีขนาดเทากับ 180 45
2
−
= 67.5 องศา
(ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา)
7. ABC
∧
= BCD
∧
= CDE
∧
= DEF
∧
= EFG
∧
= FGH
∧
= GHA
∧
= HAB
∧
= 67.5 × 2 = 135o
8. จะไดรูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทามุมเทา (จากขอ 4 และขอ 7)
5. แนวการสรางและพิสูจนทําไดในทํานองเดียวกับขอ 3 จากรูปการสรางขางลางนี้ จะได
รูป ABCDEFGHIJKL เปนรูปสิบสองเหลี่ยมดานเทามุมเทา
คําตอบกิจกรรม “คอรดกับจุดศูนยกลางของวงกลม”
1. แนวคิดในการพิสูจน
1. ∆ AOX ≅ ∆ BOX (ฉ.ด.ด.)
2. AX = BX (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
BA
O
X
30o
O
A
B
CD
E
F
G
H
I J
K
L
70
2. แนวคิดในการพิสูจน
1. ∆ AOX ≅ ∆ BOX (ด.ด.ด.)
2. AXO
∧
= BXO
∧
(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่
เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)
3. AXB
∧
= AXO
∧
+ BXO
∧
= 180o
(ขนาดของมุมตรง)
4. AXO
∧
= BXO
∧
= 90o
(จากขอ 2 และขอ 3)
คําตอบแบบฝกหัด
1. 16 เซนติเมตร
2. 13 เซนติเมตร
3. 3.9 เซนติเมตร
4.
1) 21 เซนติเมตร
2) มีลักษณะเปนวงกลม
คําตอบกิจกรรม “หาจุดศูนยกลาง”
1. แนวคิด
1. สรางเสนตรง 1 ตั้งฉากและแบงครึ่ง AB
2. สรางเสนตรง 2 ตั้งฉากและแบงครึ่ง BC
3. ใหเสนตรง 1 ตัดกับเสนตรง 2 ที่จุด O
จะไดจุด O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม
BA
O
X
O
1
2
A B
C
71
2.
ถาคอรด AB และคอรด CD ขนานกัน เสนตรง 1
และ 2 ที่เปนเสนตั้งฉากและแบงครึ่งคอรดทั้งสอง
จะทับกันเปนเสนตรงเดียวกัน จึงไมสามารถหาจุดตัด
ที่เปนจุดศูนยกลางของวงกลม
คําตอบกิจกรรม “วงกลมผานจุดที่กําหนด”
1. สรางวงกลมผานจุด A ไดจํานวนวงกลมนับไมถวน และจุดศูนยกลางของวงกลมเหลานั้นเปนจุดตาง ๆ
บนระนาบ
2.
สรางวงกลมผานจุด A และจุด B ไดจํานวนวงกลม
นับไมถวน และจุดศูนยกลางของวงกลมเหลานั้นจะเรียง
อยูบนเสนตรงที่ตั้งฉากและแบงครึ่ง AB
3. ตัวอยางการสราง
สรางวงกลมผานจุด A, B และ C ไดวงเดียวและ
จุดศูนยกลางของวงกลมอยูที่จุดตัดของเสนตรงสองเสน
ซึ่งเปนเสนตรงที่ตั้งฉากและแบงครึ่งสวนของเสนตรง
สองเสนที่เชื่อมสองจุดใด ๆ ของจุด A, B และ C
A B
O1
O2
O3
A B
C
BA
D C
1
2
72
4. สรางไมได
5. สรางไมได
คําตอบกิจกรรม “รูปสี่เหลี่ยมแนบในวงกลม”
1. 180o
เพราะ กําหนดให
2. 180o
เพราะ ผลบวกของขนาดของมุมภายในทั้งสี่มุมของรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ เทากับ 360 องศา
3. 180o
เพราะ ผลบวกของขนาดของมุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ
180 องศา
4. เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน
5. ได เพราะ สมบัติของการเทากัน
คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ข
1. แนวการสรางและแนวการพิสูจน ทําไดในทํานอง
เดียวกันกับกิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม”
ในหนังสือเรียนหนา 121 – 122
2. ใหจุด A, B และ C เปนตําแหนงของโรงเรียน
โรงพยาบาล และทารถประจําทาง ตามลําดับ
เมื่อใชแนวการสราง และแนวการพิสูจนในทํานอง
เดียวกันกับกิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” ใน
หนังสือเรียน หนา 121 – 122
จะไดตําแหนงที่สรางตลาดสดอยูที่จุดศูนยกลางของ
วงกลม ที่ผานจุด A, B และ C
A
B
C
O
F
E
1
2
A
B
C
E
F
O
2
1
73
3. กําหนดจุด A, B และ C บนขอบจานที่จุดเหลานี้ไมอยูใน
แนวเสนตรงเดียวกัน
เมื่อใชแนวการสราง และแนวการพิสูจนในทํานองเดียวกันกับ
กิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” ในหนังสือเรียนหนา
121 – 122
จะไดจุดศูนยกลางของจานซึ่งทําใหหาความยาวของรัศมีของ
จานได ตอจากนั้นจึงใชความยาวของรัศมีหาความยาวของ
เสนรอบจาน
4. แนวคิดในการพิสูจน
1. ODC
∧
= OEC
∧
= 90o
(กําหนดให)
2. ODC
∧
+ OEC
∧
= 180o
(จากขอ 1)
3. ODCE แนบในวงกลมได (ถารูปสี่เหลี่ยมใด ๆ มี
ผลบวกของขนาดของมุมตรงขามเทากับสองมุมฉาก แลว
รูปสี่เหลี่ยมนั้นแนบในวงกลมวงหนึ่งได)
5. แนวคิดในการพิสูจน
1. ให ABD
∧
มีขนาดเปน xo
2. จะได DBC
∧
= 2xo
(กําหนดให)
3. ABD
∧
= ADB
∧
= xo
(มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยม
หนาจั่วมีขนาดเทากัน)
4. DBC
∧
= DCB
∧
= 2xo
(มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยม
หนาจั่วมีขนาดเทากัน)
5. จะได DAB
∧
+ BCD
∧
= (180 – 2x) + 2x = 180o
6. ABCD แนบในวงกลมได (ถารูปสี่เหลี่ยมใด ๆ มี
ผลบวกของขนาดของมุมตรงขามเทากับสองมุมฉาก แลว
รูปสี่เหลี่ยมนั้นแนบในวงกลมวงหนึ่งได)
B
C
D
O
EA
A
(180 – 2x)o
xo 2xo
C
D
B
xo
2xo
A B
C
O
74
คําตอบกิจกรรม “คอรดที่ยาวเทากัน”
1.
1) เทากัน เพราะ สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรด
ที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด
2) เทากัน
3) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน
4) เทากันทุกประการ เพราะ OEB
∧
= OFC
∧
= 90o
, OB = OC และ BE = CF (ฉ.ด.ด.)
5) เทากัน เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน
6) เทากัน
7) ใช
2.
1) เทากันทุกประการ เพราะ OEB
∧
= OFC
∧
= 90o
, OB = OC และ OE = OF
(ฉ.ด.ด.)
2) เทากัน เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน
3) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน
4) เทากัน เพราะ สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใช
เสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด
5) เทากัน เพราะ สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใช
เสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด
6) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน
7) ใช
คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ค
1. 5 เซนติเมตร
2. แนวคิดในการพิสูจน
1. AD = BD (สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของ
วงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง
จะแบงครึ่งคอรด)
2. ∆ ACD ≅ ∆ BCD (ด.ม.ด.)
D BA
C
O
75
D
B
A C
O
F E
P
3. AC = BC (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
4. AC และ BC อยูหางจากจุด O เทากัน
(ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองเสนยาวเทากัน แลวคอรด
ทั้งสองนั้นจะอยูหางจากจุดศูนยกลางของวงกลมเปนระยะ
เทากัน)
3. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก OP
1. OE = OF (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองเสนยาว
เทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะอยูหางจากจุดศูนยกลางของ
วงกลมเปนระยะเทากัน)
2. ∆ OEP ≅ ∆ OFP (ฉ.ด.ด.)
3. EP = FP (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
4. BE = DF (ตางก็ยาวเปนครึ่งหนึ่งของคอรดที่ยาวเทากัน)
5. BE + EP = DF + FP (สมบัติของการเทากัน)
6. BP = DP (สมบัติของการเทากัน)
4. แนวคิดในการพิสูจน
ให O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม ลาก OE และ OF ตั้งฉาก
กับ AB และ CD ที่จุด E และจุด F ตามลําดับ ลาก OP
1. OE = OF (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองเสนยาว
เทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะอยูหางจากจุดศูนยกลางของ
วงกลมเปนระยะเทากัน)
2. ∆ OEP ≅ ∆ OFP (ฉ.ด.ด.)
3. EP = FP (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
4. BE = DF (ตางก็ยาวเปนครึ่งหนึ่งของคอรดที่ยาวเทากัน)
5. EP – BE = FP – DF (สมบัติของการเทากัน)
6. BP = DP (สมบัติของการเทากัน)
B
A
C
D
P
E
F
O
76
5. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก OE และ OF ตั้งฉากกับ AB และ CD ที่จุด E และจุด F
ตามลําดับ ลาก OB และ OD
1. จาก ∆ OEB จะได OB2
= OE2
+EB2
(ทฤษฎีบทพีทาโกรัส)
2. จาก ∆ OFD จะ ได OD2
= OF2
+FD2
(ทฤษฎีบทพีทาโกรัส)
3. OB = OD (รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเทากัน)
4. OB2
= OD2
(สมบัติของการเทากัน)
5. OE2
+ EB2
= OF2
+ FD2
(สมบัติของการไมเทากัน)
6. AB > CD (กําหนดให)
7. AB
2 > CD
2 (สมบัติของการไมเทากัน)
8. EB = AB
2 และ FD = CD
2 (สวนของเสนตรงซึ่งผาน
จุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใช
เสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด)
9. EB > FD (จากขอ 7 และขอ 8)
10. EB2
> FD2
(EB และ FD เปนจํานวนบวก)
11. OE2
< OF2
(จากขอ 5 และขอ 10)
12. OE < OF (OE และ OF เปนจํานวนบวก)
13. AB อยูใกลจุดศูนยกลางของวงกลมมากกวา CD
6. แนวคิดในการพิสูจน
สําหรับกรณีวงกลมวงหนึ่ง
ให O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม AB เปนคอรดที่อยูใกล
จุด O มากกวาคอรด CD ลาก OE และ OF ตั้งฉากกับ AB
และ CD ที่จุด E และจุด F ตามลําดับ ลาก OB และ OD
1. จาก ∆ OEB จะได OB2
= OE2
+EB2
(ทฤษฎีบทพีทาโกรัส)
2. จาก ∆ OFD จะ ได OD2
= OF2
+FD2
(ทฤษฎีบทพีทาโกรัส)
3. OB = OD (รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเทากัน)
4. OB2
= OD2
(สมบัติของการเทากัน)
5. OE2
+ EB2
= OF2
+ FD2
(สมบัติของการเทากัน)
6. OE < OF (กําหนดให)
7. OE2
< OF2
(OE และ OF เปนจํานวนบวก)
D
B
A
C
O
E
F
D
B
A
C
O
E
F
77
8. EB2
> FD2
(จากขอ 5 และขอ 7)
9. EB > FD (EB และ FD เปนจํานวนบวก)
10. 2(EB) > 2(FD) (สมบัติของการไมเทากัน)
11. AB > CD (สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของ
วงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง
จะแบงครึ่งคอรด)
สําหรับกรณีวงกลมที่เทากันทุกประการ จะใชแนวคิดในการพิสูจนทํานองเดียวกัน
คําตอบกิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี”
1. เปน
3. ตั้งฉาก
4. ตั้งฉาก
5. ใช
คําตอบในกิจกรรม
1) PC
2) เปน
คําตอบกิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี (ตอ)”
คําตอบในกิจกรรม
1.
(1) ตั้งฉาก เพราะ ไดสรางให XY ตั้งฉากกับ OB ที่จุด A
(2) เปน เพราะ เสนตรงที่ตั้งฉากกับรัศมีของวงกลมที่จุดจุดหนึ่งบนวงกลม
จะเปนเสนสัมผัสวงกลมที่จุดนั้น
C
B
O
D
X
Y
A
78
2.
(1) เปน
(2) 90o
เพราะ แตละมุมเปนมุมในครึ่งวงกลม R ซึ่งมุมในครึ่งวงกลม
มีขนาด 90 องศา
(3) ตั้งฉาก เพราะ OAX
∧
= 90o
และ OBX
∧
= 90o
(4) สัมผัสวงกลม O เพราะ เสนตรงที่ตั้งฉากกับรัศมีของวงกลมที่จุดจุดหนึ่งบน
วงกลม จะเปนเสนสัมผัสวงกลมที่จุดนั้น
(5) สองจุด
(6) เทากัน เพราะ
OAX
∧
=
∧
OBX = 90o
(จากขอ (2))
OX = OX (OX เปนดานรวม)
AO = BO (รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเทากัน)
จะได ∆ AOX ≅ ∆ BOX (ฉ.ด.ด.)
ดังนั้น AX = BX (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม
ที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน)
คําตอบแบบฝกหัด (หนา 135)
1. แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับในขอ 1 ของ
กิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี (ตอ)” ในหนังสือเรียน
หนา 132 – 133
2. แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับในขอ 2 ของ
กิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี (ตอ)” ในหนังสือเรียน
หนา 132 – 133
P
Q
O R
X
A
B
X
O
A
P
B
A
B
O X
P
Q
R
79
3.
1) 63o
2) 117o
คําตอบแบบฝกหัด 3.4 ก
1. 17 เซนติเมตร
2. 104o
3. 130o
4. 55o
5. 40o
6. 40o
7. แนวคิดในการพิสูจน
1. YAO
∧
= PBO
∧
= 90o
(เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ
รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส)
2. XY // PQ (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให
มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นขนานกัน)
8. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก CO และ DO
1. EX AB⊥ (เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับรัศมีของ
วงกลมที่จุดสัมผัส)
2. EXB
∧
= 90o
(จากขอ 1)
3. CYX
∧
= EXB
∧
= 90o
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน
และมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
4. ∆ CYO ≅ ∆ DYO (ฉ.ด.ด.)
5. COY
∧
= DOY
∧
(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม
ที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)
A B
O
P
Y Q
X
A B
O
C DY
E
X
80
6. m(CE) = m(DE) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่
จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่
จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน)
9. แนวคิดในการพิสูจน
1. BAC
∧
+ CAY
∧
= 90o
(เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ
รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส)
2. ACB
∧
= 90o
(มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา)
3. CAY
∧
+ AYB
∧
= 90o
(ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุม
ของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา)
4. BAC
∧
+ CAY
∧
= CAY
∧
+ AYB
∧
= 90o
(สมบัติของการเทากัน)
5. BAC
∧
= AYB
∧
(สมบัติของการเทากัน)
10. แนวคิดในการพิสูจน
1. ABO
∧
= ACO
∧
= 90o
(เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ
รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส)
2. OA = OA (OA เปนดานรวม)
3. AB = AC (สวนของเสนตรงที่ลากมาจากจุดจุดหนึ่ง
ภายนอกวงกลมมาสัมผัสวงกลมวงเดียวกัน จะยาวเทากัน)
4. ∆ ABO ≅ ∆ ACO (ฉ.ด.ด.)
5. AOB
∧
= AOC
∧
(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่
เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)
11. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก BO และ CO
1. AOB
∧
= AOC
∧
(จากการพิสูจนในขอ 10)
2. BOD
∧
+ AOB
∧
= COD
∧
+ AOC
∧
= 180o
(ขนาดของมุมตรง)
3. BOD
∧
= COD
∧
(สมบัติของการเทากัน)
A
B
O
C
YX
B
C
O
A
A
B
OD
C
81
4. m(BD) = m(CD) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่
จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่
จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน)
5. BD = CD (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองคอรดตัด
วงกลมทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้น
จะยาวเทากัน)
12. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก BO และ CO
1. ∆ BOC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
(มีดานประกอบมุมยอดยาวเทากัน)
2. AOB
∧
= AOC
∧
(จากการพิสูจนในขอ 10)
3. OD ที่แบงครึ่งมุมยอดของ ∆ OBC จะตั้งฉากและแบงครึ่ง
BC (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว)
คําตอบกิจกรรม “ลองคิดดู”
เครื่องหมายกาชาดมีพื้นที่ r2
1
7 2−
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
ตารางหนวย
แนวคิด ลาก DX ตัด OA ที่จุด E จะได
ODE เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ให DE = a จะได OE = a, DX = QX = 2a
จาก ∆ ODE จะได a2
+ a2
=
2
r
4
2a2
=
2
r
4
A
B
O D
C
A
B
C
O
D
Y
XQP
r a E
r
2 a
82
a = r
2 2
หนวย
ฉะนั้น DX = QX = 2a = r
2
หนวย
พื้นที่ของรูปกาชาด = (PY)(DX) + (PQ + XY)(DX) ตารางหนวย
= (DX)(PY + PQ + XY) ตารางหนวย
และจะไดวา PY = 2 2
2 r a− (สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลม
และตั้งฉากกับคอรดที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง
จะแบงครึ่งคอรดนั้น)
PQ + XY = 2 2
2 r a 2a− −
ดังนั้นพื้นที่ของรูปกาชาด = 2a( )2 2 2 2
+2 r a 2 r a 2a− − −
= 2a( )2 2
4 r a 2a− −
= r
2
2
2 r r4 r 8 2
− −
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
2 2
7r4r r
8 22
−
⎛ ⎞
⋅⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
2
4r r 7 r
22 2 2
−
⎛ ⎞
⋅⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
2 2
4 7 r r
4 2−
= r2
1
7 2−
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
ตารางหนวย
คําตอบกิจกรรม “นารู”
14 องศา
83
คําตอบกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม”
คําตอบแบบฝกหัด
1.
แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับกิจกรรม
“วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” ในหนังสือเรียน
หนา 141
2.
แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับกิจกรรม
“วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” ในหนังสือเรียน
หนา 141
6
D
O
CB
A
108
O
Q R
P
C
D
84
จากรูป
ให CE = x หนวย และ BF = y หนวย
y = 6 – x -------- 1
8 – y = 10 – x -------- 2
จะได 8 – (6 – x) = 10 – x
2 + x = 10 – x
2x = 8
x = 4
แทน x ใน 1 จะได
y = 6 – 4
y = 2
เนื่องจากรัศมีของวงกลม O เทากับ y หนวย ( BEOF เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
ดังนั้น รัศมีของวงกลม O เทากับ 2 หนวย
คําตอบกิจกรรม “เสนสัมผัสและคอรด”
1.
1) 90o
2) 90o
3) 90o
4) เทากัน
5) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน
6) เทากัน เพราะ ADB
∧
= ACB
∧
(ในวงกลมวงเดียวกัน มุมในสวนโคงของวงกลมที่
รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาดเทากัน)
2. แนวคิดในการพิสูจน
ลากเสนผานศูนยกลาง AD และลาก CD
1. ACD
∧
= 90o
(มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา)
2. ADC
∧
+ CAD
∧
= 90o
(ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุม
ของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา)
B
C
X YA
D
10 – x
B C
A
D
F
E
O x
y
x6 – x
8 – y
85
3. CAD
∧
+ CAY
∧
= 90o
(เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ
รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส)
4. ADC
∧
+ CAD
∧
= CAD
∧
+ CAY
∧
(สมบัติของการเทากัน)
5. ADC
∧
= CAY
∧
(สมบัติของการเทากัน)
6. ADC
∧
= ABC
∧
(ในวงกลมวงเดียวกัน มุมในสวนโคง
ของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาด
เทากัน)
7. CAY
∧
= ABC
∧
(สมบัติของการเทากัน)
8. ในทํานองเดียวกัน เมื่อลาก BD จะพิสูจนไดวา
BAX
∧
= ACB
∧
คําตอบแบบฝกหัด 3.4 ข
1. BAC
∧
= 65o
และ ACB
∧
= 80o
2. 44o
3. ADC
∧
= 55o
, ABC
∧
= 125o
และ DCB
∧
= 38o
4. 6 หนวย (แนวคิดของการหาคําตอบทํานองเดียวกันกับแนวคิดของการหาคําตอบขอ 2 ของกิจกรรม
“วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม”)
5. 17 เซนติเมตร
แนวคิด
x = 5 – y จะได y = 5 – x
เนื่องจาก BC = 14 – x + 8 – y
จะได BC = 14 – x + 8 – (5 – x)
BC = 17 เซนติเมตร
B O
C
D
Ax
y
y
(14 – x)
(14 – x)
8 – y
8 – y
(5 – y)
Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3

More Related Content

What's hot

ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติmou38
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549
sawed kodnara
 
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์Narasak Sripakdee
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
พิทักษ์ ทวี
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
supamit jandeewong
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
Tutor Ferry
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
sawed kodnara
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
Manas Panjai
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2553
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2553 เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2553
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2553 sawed kodnara
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
KruGift Girlz
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
Khunnawang Khunnawang
 
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองศศิชา ทรัพย์ล้น
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
พัน พัน
 
ป.6.doc
ป.6.docป.6.doc
ป.6.doc
SawitreeHomhuan1
 

What's hot (20)

ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549
 
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2553
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2553 เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2553
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2553
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
 
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
 
ป.6.doc
ป.6.docป.6.doc
ป.6.doc
 

Viewers also liked

ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
kruthanapornkodnara
 
Math resources trigonometric_formulas
Math resources trigonometric_formulasMath resources trigonometric_formulas
Math resources trigonometric_formulas
Er Deepak Sharma
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014Nattakarn Namsawad
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการkrulerdboon
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
ทับทิม เจริญตา
 

Viewers also liked (8)

ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2
 
Math resources trigonometric_formulas
Math resources trigonometric_formulasMath resources trigonometric_formulas
Math resources trigonometric_formulas
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 

Similar to Add m3-2-chapter3

เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
ครู กรุณา
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
ratiporn-hk
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1rdschool
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1rdschool
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1rdschool
 
Analytic geometry1
Analytic geometry1Analytic geometry1
Analytic geometry1
Thanuphong Ngoapm
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์nongyao9
 
Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5guest48c93e
 
Learning management plan 7
Learning management plan 7Learning management plan 7
Learning management plan 7
SucheraSupapimonwan
 
trigo1.pdf
trigo1.pdftrigo1.pdf
trigo1.pdf
Tam Kunjung
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
ทับทิม เจริญตา
 

Similar to Add m3-2-chapter3 (20)

Add m3-2-chapter1
Add m3-2-chapter1Add m3-2-chapter1
Add m3-2-chapter1
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
3pitagorus
3pitagorus3pitagorus
3pitagorus
 
testM3-midterm1
testM3-midterm1testM3-midterm1
testM3-midterm1
 
Analytic geometry1
Analytic geometry1Analytic geometry1
Analytic geometry1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3
 
Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5
 
231213
231213231213
231213
 
Learning management plan 7
Learning management plan 7Learning management plan 7
Learning management plan 7
 
trigo1.pdf
trigo1.pdftrigo1.pdf
trigo1.pdf
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

Add m3-2-chapter3

  • 1. บทที่ 3 วงกลม (21 ชั่วโมง) 3.1 วงกลม (1 ชั่วโมง) 3.2 มุมที่จุดศูนยกลางและมุมในสวนโคงของวงกลม (6 ชั่วโมง) 3.3 คอรด (7 ชั่วโมง) 3.4 เสนสัมผัสวงกลม (7 ชั่วโมง) เนื้อหาในบทนี้มีจุดมุงหมายใหนักเรียนรูจักสมบัติของวงกลมในรูปของทฤษฎีบท ในการพิสูจน ทฤษฎีบทอาศัยความรูพื้นฐานที่นักเรียนเคยเรียนมาแลวเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม เสนขนาน รูปสามเหลี่ยมคลาย และทฤษฎีบทเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม สาระที่เสนอไว สวนใหญอยูในรูปของกิจกรรมที่ใหนักเรียนศึกษาสมบัติของวงกลม เพื่อนําไปสูทฤษฎีบทซึ่งบางทฤษฎีบท ไดมีการพิสูจนไว บางทฤษฎีบทไมไดแสดงการพิสูจนแตมีคําถามที่นําไปสูการพิสูจนได และบาง ทฤษฎีบทก็ใหนักเรียนยอมรับโดยไมมีการพิสูจน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมที่ใหนักเรียนเห็นการนําสมบัติ ของวงกลมไปใชในการสรางและใชแกปญหาที่กําหนดได การจัดการเรียนการสอนที่อยูในรูปของกิจกรรม ครูควรใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง เพื่อฝกให นักเรียนมีความสามารถในการสรางขอความคาดการณเกี่ยวกับสมบัติทางเรขาคณิต สําหรับการพิสูจน ทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมใหอยูในดุลพินิจของครูวาควรใหนักเรียนพิสูจน หรือใหนักเรียนยอมรับ ทฤษฎีบทนั้นไปใชอางอิงไดโดยไมจําเปนตองพิสูจนอยางเปนทางการก็ได การเขียนเหตุผลอางอิงในแตละขั้นตอนของการพิสูจน ครูอาจใหนักเรียนเขียนเหตุผลเหลานั้นอยาง สมบูรณหรือเขียนอยางยอที่ไดสาระครบถวนก็ได สําหรับแนวคิดในการใหเหตุผลที่แสดงไวในสวนเฉลย คําตอบของกิจกรรมหรือแบบฝกหัด ไดเขียนไวในลักษณะรวบลัดขั้นตอน ถาครูเนนการเขียนพิสูจนอยาง เปนระบบ ควรใหนักเรียนเขียนขั้นตอนเพิ่มเติมตามเหตุและผลที่ควรจะเปน อยางไรก็ตามแนวคิดที่ใหไว ในสวนเฉลยเปนเพียงแนวคิดหนึ่งในการหาคําตอบ นักเรียนอาจมีแนวคิดที่แตกตางก็ได สําหรับแบบฝกหัด มีทั้งอยูในแตละกิจกรรมและอยูในชุดแบบฝกหัด ครูควรเลือกใหนักเรียนทําตามความเหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียนและเวลา ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป ใชสมบัติเกี่ยวกับวงกลมในการใหเหตุผลและแกปญหาที่กําหนดใหได
  • 2. 46 แนวทางในการจัดการเรียนรู 3.1 วงกลม (1 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถระบุสวนตาง ๆ ที่กําหนดใหเกี่ยวกับวงกลมได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวงกลมที่ปรากฏอยูในสิ่งแวดลอมรอบตัว อาจใหนักเรียน ชวยกันยกตัวอยางวัสดุหรือสิ่งที่มีลักษณะเปนวงกลม เพื่อโยงไปสูความหมายของวงกลม เมื่อกลาวถึง วงกลมซึ่งเปนรูปเรขาคณิตรูปหนึ่ง จะเรียกชื่อวาวงกลมโดยไมมีคําวารูปนําหนาเหมือนชื่อรูปเรขาคณิต อื่น ๆ เชน รูปสามเหลี่ยม หรือรูปสี่เหลี่ยม 2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแนะนําสวนตาง ๆ ของวงกลม ครูควรแนะนําทีละ ชุด โดยแนะนําชุดที่เปนเสนตรงหรือสวนของเสนตรงที่เกี่ยวของกับวงกลม เชน คอรด เสนสัมผัส วงกลม แลวตรวจสอบความเขาใจโดยใหนักเรียนทํากิจกรรม “บอกไดไหม” ตอจากนั้นจึงแนะนําชุดของ มุมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวงกลม เชน มุมที่จุดศูนยกลาง มุมในสวนโคงของวงกลม และใชกิจกรรม “ยังบอกไดไหม” ตรวจสอบความเขาใจอีกครั้ง สําหรับความหมายของสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลาง หรือรองรับมุมในสวนโคงของวงกลมไมไดใหความหมายไวเปนกิจลักษณะ ครูควรอธิบายและชี้ใหเห็นวา สวนโคงดังกลาวมีจุดปลายอยูบนแขนทั้งสองของมุมที่กลาวถึง เชน BAC ∧ เปนมุมในสวนโคงของวงกลม ซึ่งมี BC อยูตรงขามมุม เปนสวนโคงที่รองรับมุม BAC ∧ สังเกตไดวา จุด B และจุด C อยูบนวงกลม จุด B อยูบนแขน AB และจุด C อยูบนแขน AC 3. การทบทวนและแนะนําเกี่ยวกับสวนตาง ๆ ของวงกลมในหัวขอนี้ มีเจตนาเพียงเพื่อให นักเรียนเขาใจและเปนพื้นฐานในการศึกษาสาระในหัวขอตอ ๆ ไป ครูไมควรนําสาระในหัวขอนี้ไปวัดผล B C A
  • 3. 47 3.2 มุมที่จุดศูนยกลางและมุมในสวนโคงของวงกลม (6 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถนําทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมที่เกี่ยวกับมุมที่จุดศูนยกลางและ มุมในสวนโคงของวงกลมไปใชได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. สาระสวนใหญในหัวขอนี้เสนอไวในรูปของกิจกรรมเชนกิจกรรม “มุมในครึ่งวงกลม” ครูควรใหนักเรียนไดปฏิบัติกิจกรรมจริง ๆ และเขียนขอความคาดการณที่นักเรียนคนพบจากกิจกรรม สําหรับการพิสูจนยืนยันขอความคาดการณในกิจกรรมนี้ไดกลาวไวในรูปของทฤษฏีบท ครูอาจให นักเรียนชวยกันบอกแนวคิดในการพิสูจนบนกระดานดํา และบอกเหตุผลโดยใชการอธิบายดวยวาจาแทน การเขียน หลังจากนั้นจึงใหนักเรียนศึกษารายละเอียดของการพิสูจนในหนังสือเรียนอีกครั้งก็ได 2. สําหรับตัวอยางที่ 1 แสดงใหนักเรียนเห็นวาโจทยปญหาเกี่ยวกับการคํานวณหาขนาดของมุม ที่กําหนดให ถาตองการแสดงเหตุผลประกอบจะทําไดอยางไร สําหรับโจทยปญหาที่ใหหาขนาดของมุมที่กําหนดใหในทุก ๆ เรื่องของบทนี้ ในกรณีที่ไม ตองแสดงเหตุผล ครูอาจแนะนําใหนักเรียนเขียนขนาดของมุมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการคํานวณหาคําตอบไว ในรูป เพื่อครูจะไดตรวจสอบรองรอยการคิดคํานวณและการนําสมบัติของวงกลมมาใชวาถูกตองหรือไม เชน กําหนดให AB เปนเสนผานศูนยกลางของวงกลม O และ ACO ∧ = 35o จงหาขนาดของ OBC ∧ จากรูป จะเห็นแนวคิดของนักเรียนที่มีรองรอยของขนาดของมุม ตาง ๆ ที่เกี่ยวของกันตามสมบัติทางเรขาคณิตที่นํามาใช ซึ่งจะ ทําใหได OBC ∧ = 55o 3. การดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนในกิจกรรมอื่น ๆ เชนกิจกรรม “มุมที่จุดศูนยกลาง” หรือ “มุมในสวนโคงของวงกลม” ก็อาจจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในทํานองเดียวกับกิจกรรม “มุมในครึ่งวงกลม” สําหรับการพิสูจนวาขอความคาดการณ “มุมที่จุดศูนยกลาง จะมีขนาดเปนสองเทาของ ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน” ถาครูเห็นสมควรใหนักเรียนพิสูจน ครูอาจแนะนําแนวคิดในการพิสูจน ในกรณีที่มุมใน สวนโคงมีลักษณะเปนดังรูป ก และรูป ค ดังนี้ 35o C O A B 55o 55o
  • 4. 48 ลาก CO ใหตัดวงกลมที่จุด E จะได 1 ∧ = 2 ∧ + 3 ∧ = 2(2 ∧ ) --------- 1 4 ∧ = 5 ∧ + 6 ∧ = 2(5 ∧ ) --------- 2 จาก 1 + 2 จะได 1 ∧ + 4 ∧ = 2(2 ∧ +5 ∧ ) ดังนั้น ในรูป ก AOB ∧ = 2(ACB ∧ ) และในรูป ค มุมกลับ AOB = 2(ACB ∧ ) ในกรณีที่มุมในสวนโคงมีลักษณะดังรูป ข ครูอาจแนะนําแนวคิดในการพิสูจน ดังนี้ โดยลาก CO ใหตัดวงกลมที่จุด D จะได 1 ∧ = 2 ∧ + 3 ∧ = 2(2 ∧ ) ------ 1 1 ∧ + 4 ∧ = (2 ∧ +5 ∧ )+ 6 ∧ = 2(2 ∧ +5 ∧ ) = 2(2 ∧ )+ 2(5 ∧ ) ------ 2 จาก 2 – 1 จะได 4 ∧ = 2(5 ∧ ) ดังนั้น AOB ∧ = 2(ACB ∧ ) 4. สําหรับแบบฝกหัด 3.2 ข ขอ 2 เปนสมบัติที่ครูควรใหนักเรียนพิสูจน และแนะนําให นักเรียนจดจําทฤษฎีบทนี้ไปใชในการใหเหตุผลอางอิงตอไป สําหรับแบบฝกหัดขอ 3 หลังจากพิสูจนขอความดังกลาวแลว ครูควรใหนักเรียนสรุปเปน สมบัติของวงกลมที่สามารถนําไปใชอางอิงไดเชนกัน อาจใหจดบันทึกเปนทฤษฎีบทดังนี้ ในวงกลมวงหนึ่ง ถาตอดานใดดานหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมออกไป ขนาดของ มุมภายนอกจะเทากับขนาดของมุมภายในที่อยูตรงขาม A B O C 2 5 641 3 E รูป ก 1 A E B C O 4 6 523 รูป ค (ขนาดของมุมภายนอกของ รูปสามเหลี่ยมเทากับผลบวก ของมุมภายในที่ไมใชมุมประชิด ของมุมภายนอกนั้น) (เหตุผลเชนเดียว กันกับขางตน) OD B3 A 1 4 2 5 6 C รูป ข
  • 5. 49 3.3 คอรด (7 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถนําทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมที่เกี่ยวกับคอรดและสวนโคงของ วงกลมไปใชได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. สาระในกิจกรรม “คอรดและสวนโคงของวงกลม” เสนอไวในรูปคําถามซึ่งมีคําตอบนําไปสู การใหเหตุผลเพื่อการพิสูจนยืนยันทฤษฎีบทที่เกี่ยวของได ครูอาจใหนักเรียนสํารวจ ตอบคําถามและ ชวยกันสรุปเปนขอความคาดการณ แลวใหนักเรียนพิสูจนทฤษฎีบทนั้นเปนการบานก็ได 2. สําหรับกิจกรรม “รูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลม” มีเจตนาใหนักเรียนไดนํา ความรูเกี่ยวกับความสัมพันธของมุมที่จุดศูนยกลาง สวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางและคอรดมาใชใน การสรางรูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาบางรูปแนบในวงกลมและการใหเหตุผลยืนยัน ครูอาจใหนักเรียน รวมกันอภิปรายหาขอสรุปเพื่อตอบคําถามหลังกิจกรรมการสราง 3. สําหรับกิจกรรม “คอรดกับจุดศูนยกลางของวงกลม” การพิสูจนในกิจกรรมขอ 1 และ ขอ 2 ทําไดงาย ครูอาจใหนักเรียนพิสูจนเปนการบานและนํามาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียนอีกครั้งก็ได 4. การพิสูจนสมบัติของวงกลมเกี่ยวกับจุดศูนยกลางของวงกลมที่อยูบนเสนตรงที่ตั้งฉากและ แบงครึ่งคอรดของวงกลมคอนขางเขาใจยาก ครูควรนํามาอภิปรายในชั้นเรียนและชี้ใหนักเรียนเห็นวา สมบัติดังกลาวนี้มีประโยชนในการนําไปใชแกปญหาเกี่ยวกับการหาตําแหนงของจุดศูนยกลางของวงกลม ในกิจกรรม “หาจุดศูนยกลาง” ตอไป สําหรับกิจกรรมการหาจุดศูนยกลางของวงกลมที่กําหนดคอรดสองคอรดขนานกัน ครูอาจ เพิ่มเติมความรูโดยใชคําถามใหนักเรียนคิดวา ในกรณีเชนนี้ในทางปฏิบัติจะทําอยางไรจึงจะทราบตําแหนง ของจุดศูนยกลางของวงกลม คําตอบของนักเรียนอาจเปนดังนี้ จากรูปที่มี AB // CD และ EF ตั้งฉากและแบงครึ่ง AB และ CD อาจลาก AD แลวสรางเสนตรง ตั้งฉากและแบงครึ่ง AD จะไดจุดตัดของเสนตรง กับ EF เปนจุดศูนยกลางของวงกลม F AB C D E
  • 6. 50 5. สําหรับกิจกรรม “วงกลมผานจุดที่กําหนด” มีเจตนาใหเปนกิจกรรมสํารวจ ครูควรให นักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง เพื่อใหไดขอสรุปที่สําคัญตามที่เสนอไวทายกิจกรรมนี้ 6. กิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” เปนกิจกรรมที่ตองการใหนักเรียนเห็นการนําความรูจาก กิจกรรม “หาจุดศูนยกลาง” ไปใชในการสรางวงกลมลอมรูปสามเหลี่ยม ครูอาจตั้งคําถามแลวให นักเรียนชวยกันสรางและใหเหตุผลรวมกันในชั้นเรียนก็ได 7. กิจกรรม “รูปสี่เหลี่ยมแนบในวงกลม” เปนกิจกรรมที่ตองการใหนักเรียนทราบทฤษฎีบท ของวงกลมที่นาสนใจอีกทฤษฎีบทหนึ่งซึ่งเปนบทกลับของทฤษฎีบทที่กลาววา “ผลบวกของขนาดของ มุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา” ครูควรนํามาอธิบายและชี้ใหเห็นวาแนวคิด ในการพิสูจนจะแตกตางจากแนวการพิสูจนที่นักเรียนคุนเคย คือใหเหตุผลเพื่อแสดงวาผลที่ตองการเปนจริง แตในการพิสูจนบทกลับนี้จะพิสูจนโดยสมมติใหผลที่ตองการพิสูจนเปนเท็จ แลวใหเหตุผลจนเกิดขอ ขัดแยงกับสิ่งที่กําหนดใหหรือสิ่งที่ทราบวาเปนจริง จึงไดขอสรุปวา ที่สมมติใหผลที่ตองการพิสูจนเปน เท็จนั้นเปนไปไมได ดังนั้นผลที่ตองการจึงเปนจริง การพิสูจนลักษณะนี้เปนการพิสูจนทางออม 8. สําหรับกิจกรรม “คอรดที่ยาวเทากัน” หลังจากครูใหนักเรียนตอบคําถามและชวยกันสรุป คําตอบที่จะนําไปสูการพิสูจนแลว ครูอาจใหนักเรียนเขียนการพิสูจนอีกครั้งเปนการบานดวยก็ได 9. สําหรับแบบฝกหัด 3.3 ค ขอ 6 หลังจากนักเรียนพิสูจนแลว ครูควรแนะนําใหนักเรียน ทราบวา เราสามารถนําสมบัตินี้ไปใชอางอิงในการใหเหตุผลตอไปได 3.4 เสนสัมผัสวงกลม (7 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถนําทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมที่เกี่ยวกับเสนสัมผัสวงกลมไปใชได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเสนสัมผัสวงกลมและรัศมี ครูควรนําทฤษฏีบทที่ เปนประโยคเงื่อนไขและบทกลับของประโยคเงื่อนไขทั้งสองประโยคมาอธิบายและทําความเขาใจแนวการ พิสูจน เนื่องจากแนวการพิสูจนบทกลับเปนการพิสูจนทางออมซึ่งอาจเปนเรื่องที่เขาใจยากสําหรับนักเรียน บางคน 2. สําหรับสาระเกี่ยวกับการสรางเสนสัมผัสวงกลมแสดงใหเห็นการสราง 2 แบบคือ แบบ กําหนดจุดสัมผัสบนวงกลมมาใหและกําหนดจุดภายนอกวงกลมมาให ซึ่งเปนความรูที่นักเรียนควรทราบ ครูอาจใหนักเรียนเขียนการพิสูจนยืนยันการสรางดวย ทั้งนี้เพราะในแบบฝกหัดที่กําหนดใหสรางเสนสัมผัส ไมไดใหมีการพิสูจน 3. สําหรับกิจกรรม “ลองคิดดู” มีเจตนาใหนักเรียนไดฝกคิดวิเคราะหและใชความรูทาง เรขาคณิต พีชคณิตและการวัดมาเชื่อมโยงในการแกปญหา ครูอาจใหนักเรียนคิดและนําเสนอแนวคิดบน ปายนิเทศก็ได
  • 7. 51 4. สําหรับกิจกรรม “นารู” มีเจตนาใหเปนความรูเพิ่มเติมและใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยง ความรูโดยนําสมบัติของวงกลมมาใชในการอธิบายทางภูมิศาสตรเกี่ยวกับการกําหนดตําแหนงของเสนรุง ครูอาจใหนักเรียนศึกษาดวยตนเองก็ได 5. สําหรับกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” มีเจตนาใหนักเรียนเห็นการนําความรู เกี่ยวกับเสนสัมผัสวงกลมและรัศมีมาใชในการวิเคราะหการสรางวงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูอาจเขียนรูปที่ตองการสรางอยางคราว ๆ ซึ่งเปนรูป ที่มีวงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยมกอน แลวใชคําถามใหนักเรียนคิดวิเคราะหยอนจากผลที่ตองการไปสู จุดเริ่มตนของการสราง ดังตัวอยางคําถามตอไปนี้ 1) ถาจุด D, E และ F เปนจุดสัมผัสของวงกลม แลว OD, OE และ OF ตอง เกี่ยวของกับวงกลม O อยางไรบาง [แตละสวนของเสนตรงเปนรัศมีของวงกลม O มีความยาวเทากัน และตั้งฉากกับกับเสนสัมผัส] 2) ถาตองการใหมีผลวา OD = OE เหตุที่จะทําใหเกิดผลดังกลาว ควรไดจากความรู เรื่องใด [ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม] 3) ถาใชความรูเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม สิ่งที่จะใชเปนเงื่อนไข ในการพิจารณา 3 ประการนาจะมีอะไรบาง [BD = BE, BO = BO และ DBO ∧ = EBO ∧ ] 4) จากเงื่อนไข 3 ประการในขอ 3) มีสิ่งใดที่นักเรียนคิดวายังบอกไมไดวามีความเทากัน หรือไม [ขนาดของ DBO ∧ และขนาดของ EBO ∧ ] 5) นักเรียนสามารถสรางให DBO ∧ = EBO ∧ ไดหรือไม [ได โดยการสรางเสนแบง ครึ่งมุม] จากคําถาม 5 ขอขางตน นักเรียนควรเห็นแลววาทําไมการสรางวงกลมแนบในรูป สามเหลี่ยมจึงตองอาศัยการแบงครึ่งมุมของรูปสามเหลี่ยม จากนั้นครูจึงใชคําถามตอเนื่อง เชน E O F A CB D
  • 8. 52 6) ถาสรางเฉพาะเสนแบงครึ่งมุม ABC ∧ มุมเดียวจะหาจุดศูนยกลางของวงกลมไดหรือไม [ไมได] 7) นักเรียนตองสรางเสนแบงครึ่งมุมของรูปสามเหลี่ยมกี่มุม จึงจะไดตําแหนงของ จุดศูนยกลางของวงกลม [2 มุม] 8) จําเปนตองสรางเสนแบงครึ่งมุมของมุมที่สามอีกหรือไม เพราะเหตุใด [ไมจําเปน เพราะจากการสรางเสนแบงครึ่งมุม 2 มุมก็สามารถพิสูจนไดแลววา DO = EO = FO และ DO, EO, FO แตละเสนจะตั้งฉากกับดานทั้งสามของ รูปสามเหลี่ยม ทําใหสรุปไดวาจุด E, F และ G เปนจุดสัมผัสของวงกลม] 6. ทฤษฎีบทในกิจกรรม “เสนสัมผัสและคอรด” เปนอีกทฤษฏีบทหนึ่งที่มีการนําไปใชมาก หลังจากนักเรียนตอบคําถามขอ 1 แลว ครูควรใหนักเรียนพิสูจนเปนทฤษฎีบทโดยทํากิจกรรมขอ 2 ดวย 7. สําหรับกิจกรรม “ไกลแคไหน” มีเจตนาใหเห็นการนําความรูเรื่องเสนสัมผัสไปใชเพื่อ เชื่อมโยงกับความรูทางภูมิศาสตรอีกกิจกรรมหนึ่ง ครูอาจใหนักเรียนศึกษาและทําเปนการบานก็ได แต ควรไดมีการอภิปรายกันถึงสถานการณปญหาที่ตองการใหเห็นแนวคิดในการหาสูตรการคํานวณ เพื่อใชใน การคํานวณระยะทางในทางภูมิศาสตรโดยประมาณ ครูไมควรนําเรื่องนี้ไปวัดผล 8. สําหรับกิจกรรม “ระยะรอบโลก” เปนอีกกิจกรรมหนึ่งที่ตองการใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยง ความรูทางคณิตศาสตรกับภูมิศาสตร ตองการจุดประกายใหนักเรียนเห็นความสามารถของนักคณิตศาสตร ในอดีตที่มีความคิดสรางสรรค เปนคนชางสังเกต ใฝรู และมีความพยายามในการแกปญหา นวนิยายเรื่อง 80 วันรอบโลกเสนอไวในกิจกรรมนี้เพื่อเสริมกิจกรรมใหนาสนใจ ภาพยนตร เรื่องนี้สนุก ตื่นเตน ครูอาจหาภาพยนตรเรื่องนี้มาใหนักเรียนชมก็ได คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบกิจกรรม “บอกไดไหม” 1. 1) หลายเสนนับไมถวน 2) ไมเปน เพราะรัศมีของวงกลมตัดวงกลมที่จุดจุดเดียว 3) หลายเสนนับไมถวน 4) ได 5) หลายเสนนับไมถวน 6) ไมได
  • 9. 53 2. 1) AC 2) AO, BO และ CO 3) AC, BC, CD และ DH 4) AC 5) EF 6) CF 7) ABC และ ADC คําตอบกิจกรรม “ยังบอกไดไหม” 1. AOB, BOC, AOC, ∧ ∧ ∧ มุมกลับ AOB และมุมกลับ BOC 2. ADC ∧ 3. BAC, BAD, CAD, ADB, ADC, BDC, ACD ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ และ ABD ∧ 4. AB, BC, ABC, ADC, ADB หรือ ACB, BAC หรือ BDC 5. ABC 6. BC, BD, CD, AB, AC และ AD คําตอบกิจกรรม “มุมในครึ่งวงกลม” คําตอบในกิจกรรม 4. 90o 5. ใช คําตอบแบบฝกหัด 1. 25o 2. 55o 3. 37o
  • 10. 54 คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ก 1. 54o แนวคิดในการใหเหตุผล 1. ABC ∧ = 180 – 90 – 18 = 72o 2. AOD ∧ = ABC ∧ = 72o (ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีเสนตัด แลวมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูบน ขางเดียวกันของเสนตัด มีขนาดเทากัน) 3. ∆ ADO เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว 4. ADO ∧ = DAO ∧ = 180 72 2 − = 54o 2. แนวคิดในการพิสูจน 1. ABC ∧ = BAD ∧ = CDA ∧ = DCB ∧ = 90o (มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา) 2. ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 3. แนวคิดในการพิสูจน 1. ∆ ABC ≈ ∆ ADC (ม.ม.ด.) 2. AB = AD (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) คําตอบกิจกรรม “มุมที่จุดศูนยกลาง” คําตอบในกิจกรรม 3. ได 4. ขนาดของมุมที่จุดศูนยกลางเปนสองเทาของขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย สวนโคงเดียวกัน 18o O B CD A A B D C B D C A
  • 11. 55 6. ได 7. ไดเชนเดียวกัน 8. จากรูป ข ได AOB ∧ = 2(ACB ∧ ) จากรูป ค ได มุมกลับ AOB = 2(ACB ∧ ) 9. ใช คําตอบแบบฝกหัด 1. 45o 2. 55o 3. แตละมุมมีขนาด 40o 4. 1) 200o 2) 160o 3) 80o 4) 180o 5) 180o คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ข 1. 122.5o แนวคิดในการใหเหตุผล 1. มุมกลับ AOB = 360 – 115 = 245o 2. มุมกลับ AOB = 2(ACB ∧ ) = 245o (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง เดียวกัน) 3. ACB ∧ = 245 2 = 122.5o (สมบัติของการเทากัน) B 115o C A O
  • 12. 56 2. แนวคิดในการพิสูจน ลาก DO และ BO 1. DOB ∧ = 2(DAB ∧ ) และมุมกลับ DOB = 2(DCB ∧ ) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง เดียวกัน) 2. 2(DAB ∧ ) + 2(DCB ∧ ) = DOB ∧ + มุมกลับ DOB = 360o 3. DAB ∧ + DCB ∧ = 180o (สมบัติของการเทากัน) ในทํานองเดียวกันสามารถพิสูจนไดวา ABC ∧ + ADC ∧ = 180o 3. แนวคิดในการพิสูจน 1. BAD ∧ + DCB ∧ = 180o (ผลบวกของขนาดของมุม ตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา) 2. DCB ∧ + BCE ∧ = 180o (ขนาดของมุมตรง) 3. BCE ∧ = BAD ∧ (สมบัติของการเทากัน) คําตอบกิจกรรม “มุมในสวนโคงของวงกลม” คําตอบในกิจกรรม 1. AOC ∧ = 2(ABC ∧ ) 2. AOC ∧ = 2(ADC ∧ ) 3. ABC ∧ = ADC ∧ 4. มุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาดเทากัน 5. ใช คําตอบแบบฝกหัด 1. 62o 2. 75o 3. 29o 4. 53o A O B D C A B D C E
  • 13. 57 คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ค 1. แนวคิดในการพิสูจน ลาก AO และ CO 1. AOC ∧ = 2(ABC ∧ ) และ AOC ∧ = 2(ADC ∧ ) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง เดียวกัน) 2. 2(ABC ∧ ) = 2(ADC ∧ ) (สมบัติของการเทากัน) 3. ABC ∧ = ADC ∧ (สมบัติของการเทากัน) 2. 76o แนวคิดในการใหเหตุผล 1. BCD ∧ = ABC ∧ = 50o (ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) 2. BAD ∧ = BCD ∧ = 50o (มุมในสวนโคงของวงกลมที่ รองรับดวยสวนโคงเดียวกันจะมีขนาดเทากัน) 3. BAC ∧ = 50 + 26 = 76o 3. 36o 4. แนวคิดในการพิสูจน พิจารณา ∆ ABX และ ∆ CDX 1. ABX ∧ = CDX ∧ และ BAX ∧ = DCX ∧ (มุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาดเทากัน) 2. AXB ∧ = CXD ∧ (ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลว มุมตรงขามมีขนาดเทากัน) A B D C O X B D C A C 50° 26° A D B
  • 14. 58 3. ∆ ABX ∼ ∆ CDX ----- ขอ 1 (ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของมุมเทากันเปนคู ๆ สามคู แลวรูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเปนรูปสามเหลี่ยมที่ คลายกัน) 4. BX DX = AX CX (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลาย) ----- ขอ 2 5. BX CX⋅ = DX AX⋅ (สมบัติการคูณไขวของอัตราสวน) ----- ขอ 3 คําตอบกิจกรรม “มุมและสวนโคงที่รองรับมุม” 1. 2) ทับกันไดสนิท 3) เทากัน 4) ถามุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมทั้งสองนั้นจะ ยาวเทากัน 5) ใช 2. 2) ทับกันไดสนิท 3) เทากัน 4) ถามุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมทั้งสองนั้นจะ ยาวเทากัน 5) ใช 3. 1) (1) เทากัน (2) เทากัน (3) ถามุมในสวนโคงของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมทั้งสองนั้นจะ ยาวเทากัน (4) ใช (5) แนวคิดในการพิสูจน
  • 15. 59 A B O C D พิจารณา วงกลม O และวงกลม R ที่เทากันทุกประการ 1. ACB ∧ = EDF ∧ (กําหนดให) 2. AOB ∧ = 2(ACB ∧ ) และ ERF ∧ = 2(EDF ∧ ) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง เดียวกัน) 3. AOB ∧ = ERF ∧ (สมบัติของการเทากัน) 4. m(AB) = m(EF) (ในวงกลมที่เทากันทุกประการ ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาด เทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาว เทากัน) 2) แนวคิดในการพิสูจน ลาก AO, BO และ DO 1. ACB ∧ = ACD ∧ (กําหนดให) 2. AOB ∧ = 2(ACB ∧ ) และ AOD ∧ = 2(ACD ∧ ) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง เดียวกัน) 3. AOB ∧ = AOD ∧ (สมบัติของการเทากัน) 4. m(AB) = m(AD) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่ จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่ จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน) คําตอบกิจกรรม “มุมและสวนโคงที่รองรับมุม (ตอ)” 1. 2) ทับกันไดสนิท 3) เทากัน 4) ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงนั้นจะมีขนาด เทากัน A B O C E F R D
  • 16. 60 5) ใช 2. 2) ทับกันไดสนิท 3) เทากัน 4) ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงนั้นจะมีขนาด เทากัน 5) ใช 3. 1) แนวคิดในการพิสูจน พิจารณาวงกลม O และวงกลม R ที่เทากันทุกประการ ลาก AO, BO, DR และ FR 1. m(AB) = m(DF) (กําหนดให) 2. AOB ∧ = DRF ∧ (ในวงกลมที่เทากันทุกประการ ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวย สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน) 3. 2(ACB ∧ ) = 2(DEF ∧ ) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของขนาดของมุมในสวนโคงของ วงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน) 4. ACB ∧ = DEF ∧ (สมบัติของการเทากัน) 2) แนวคิดในการพิสูจน ลาก AO, BO และ CO 1. m(AB) = m(AC) (กําหนดให) 2. AOB ∧ = AOC ∧ (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคง ยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวยสวนโคงนั้น จะมีขนาดเทากัน) 3. 2(ACB ∧ ) = 2(ABC ∧ ) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของขนาดของมุมในสวนโคงของ วงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน) 4. ACB ∧ = ABC ∧ (สมบัติของการเทากัน) A B O C A B O C D F R E
  • 17. 61 คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ง 1. ABC ∧ = 95o และ BCD ∧ = 82o แนวคิดในการใหเหตุผล 1. ADC ∧ + ABC ∧ = 180o (ผลบวกของขนาดของ มุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา) 2. ABC ∧ = 180 – 85 = 95o 3. BAD ∧ + BCD ∧ = 180o (ผลบวกของขนาดของ มุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา) 4. BCD ∧ = 180 – 98 = 82o 2. ADB ∧ = 25o และ AEB ∧ = 25o แนวคิดในการใหเหตุผล 1. ADB ∧ = ACB ∧ = 25o (ในวงกลมวงเดียวกัน มุมใน สวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมี ขนาดเทากัน) 2. AEB ∧ = ACB ∧ = 25o (ในวงกลมวงเดียวกัน มุมใน สวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมี ขนาดเทากัน) 3. m(DE) แนวคิดในการใหเหตุผล 1. BAC ∧ = EAD ∧ (กําหนดให) 2. m(BC) = m(DE) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมใน สวนโคงของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับ มุมทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน) B C A D 98o 85o A D B E 25o C D B E C A
  • 18. 62 4. BDC ∧ = 60o และ CAD ∧ = 50o 5. ADC ∧ = 43o และ BCD ∧ = 43o 6. AOC ∧ = 70o และ BOD ∧ = 70o 7. แนวคิดในการพิสูจน 1. m(AD) = m(BC) (กําหนดให) 2. ABD ∧ = CDB ∧ (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคงยาว เทากัน แลวมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน) 3. AB // CD (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นขนานกัน) 8. แนวคิดในการพิสูจน 1. m(BD) = m(BC) (กําหนดให) 2. m(ADB) = m(ACB) (สวนโคงครึ่งวงกลมของวงกลม วงเดียวกัน ยาวเทากัน) 3. m(ADB) – m(BD) = m(ACB) – m(BC) หรือ m(AD) = m(AC) (สมบัติของการเทากัน) 4. ACD ∧ = ADC ∧ (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคง ยาวเทากัน แลวมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน) 5. AD = AC (ถามุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง มีขนาดเทากัน แลวดานที่อยูตรงขามมุมทั้งสองนั้นจะยาว เทากัน) 6. ∆ ADC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว 9. แนวคิดในการพิสูจน 1. m(AX) = m(DX) (กําหนดให) 2. AOX ∧ = DOX ∧ (ในวงกลมวงเดียวกน ถาสวนโคง ยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวยสวนโคงนั้น จะมีขนาดเทากัน) C A B D B C A D BC A D O X
  • 19. 63 3. AOC ∧ = BOD ∧ (ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลว มุมตรงขามมีขนาดเทากัน) 4. AOC ∧ + AOX ∧ = BOD ∧ + DOX ∧ (สมบัติของการเทากัน) 5. ∆ COX ≅ ∆ BOX (ด.ม.ด.) 10. แนวคิดในการพิสูจน ลาก AO, BO, CO, DO และ EO 1. AOB ∧ + BOC ∧ + COD ∧ + DOE ∧ + EOA ∧ = 360o (มุมรอบจุดจุดหนึ่งมีขนาดเทากับ 360 องศา) 2. 2(ADB ∧ ) + 2(BEC ∧ ) + 2(CAD ∧ ) + 2(DBE ∧ ) + 2( ∧ ECA) = 360o (สมบัติของการเทากัน) 3. ADB ∧ + BEC ∧ + CAD ∧ + DBE ∧ + ACE ∧ = 180o (สมบัติของการเทากัน) 4. A ∧ + B ∧ +C ∧ +D ∧ +E ∧ = 180o คําตอบกิจกรรม “คอรดและสวนโคงของวงกลม” 1. 1) เทากันทุกประการ เพราะ AO = CO, BO = DO และ AB = CD ดังนั้น ∆ AOB ≅ ∆ COD (ด.ด.ด.) 2) เทากัน เพราะ มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน 3) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่ รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน 4) เทากัน เพราะ ความยาวของแตละสวนโคงเกิดจากความยาวของเสนรอบวงของวงกลม ลบดวยความยาวที่เทากันของสวนโคงของวงกลม 5) ใช 6) ใช B C A D E O
  • 20. 64 7) แนวคิดในการพิสูจน กําหนดให วงกลม O และวงกลม R เทากันทุกประการ คอรด AB และคอรด DE ยาวเทากัน ลาก AO, BO, DR และ ER 1. ∆ AOB ≅ ∆ DRE (ด.ด.ด.) 2. AOB ∧ = DRE ∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม ที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) 3. m(AB) = m(DE) (ในวงกลมที่เทากันทุกประการ ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับ มุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน) 4. m(AB)+ m(ACB) = m(DE)+ m(DFE) (ตางก็มีความยาวเทากับความยาวของเสนรอบวงของวงกลม ที่เทากันทุกประการ) 5. m(ACB) = m(DFE) (สมบัติของการเทากัน) 2. 1) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่ รองรับดวยสวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน 2) เทากันทุกประการ เพราะ AO = CO, BO = DO และ AOB ∧ = COD ∧ (ด.ม.ด.) 3) AB = CD เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน 4) ใช 5) ใช 6) แนวคิดในการพิสูจน กําหนดใหวงกลม O และวงกลม R เทากันทุกประการ และ m(AB) = m(DE) ลาก AO, BO, DR และ ER 1. m(AB) = m(DE) (กําหนดให) 2. AOB ∧ = DRE ∧ (ในวงกลมที่เทากันทุกประการ ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวย สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน) 3. ∆ AOB ≅ ∆ DRE (ด.ม.ด.) BA C O ED F R BA C O ED FR
  • 21. 65 4. AB = DE (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) คําตอบกิจกรรม “รูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลม” คําตอบแบบฝกหัด 1. 1) ยาวเทากัน 2) ตั้งฉากกันและแบงครึ่งซึ่งกันและกัน 3) แนวการสราง 1. สรางวงกลม O ใหมีรัศมียาวเทากับ 10 2 = 5 เซนติเมตร 2. ลาก AB เปนเสนผานศูนยกลาง 3. สราง XY ตั้งฉากกับ AB ที่จุด O ตัดวงกลมที่จุด C และจุด D 4. ลาก AC, BC, BD และ AD จะได ADBC เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีเสนทแยงมุม AB ยาว 10 เซนติเมตร A B C D O 5 ซม. Y X
  • 22. 66 2. 2) เปน 3) (1) เปน เพราะ ความยาวของแตละดานเทากับรัศมีของวงกลม (2) 60o เพราะ เปนขนาดของมุมภายในแตละมุมของรูปสามเหลี่ยมดานเทา (3) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน (4) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหได สวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน (5) 60o เพราะ FOA ∧ มีขนาดเทากับขนาดของมุมรอบจุด O ลบดวยผลบวก ของขนาดของมุมในขอ (2) FOA ∧ = 360 – (5 × 60) (6) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน (7) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหได สวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน (8) เปน เพราะ ทุกดานมีความยาวเทากัน (9) 120o เพราะ แตละมุมมีขนาดเทากับผลบวกของขนาดของมุมภายในสองมุม ของรูปสามเหลี่ยมดานเทาที่เรียงตอกัน (10) เปน 4) (1) 120o (2) 720o คําตอบแบบฝกหัด 1) 3 มุม แตละมุมมีขนาด 120o 2) 8 มุม แตละมุมมีขนาด 45o 3) 12 มุม แตละมุมมีขนาด 30o 4) 16 มุม แตละมุมมีขนาด 22.5o
  • 23. 67 คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ก 1. แนวคิดในการพิสูจน 1. m(AB) = m(AC) (กําหนดให) 2. AB = AC (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัด วงกลม ทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสอง นั้นจะยาวเทากัน) 3. ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว (มีดานประกอบมุมยอดยาวเทากัน) 2. แนวคิดในการพิสูจน 1. m(AB) = m(BC) (กําหนดให) 2. AB = BC (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัด วงกลม ทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้น จะยาวเทากัน) 3. ADB ∧ = ∧ CEB (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคงยาว เทากัน แลวมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน) 4. ∆ ABD ≅ ∆ CBE (ม.ม.ด.) 5. BD = BE (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) 3. แนวการสราง 1. สรางวงกลม O โดยใชรัศมียาวพอสมควร 2. สราง AOB ∧ และ BOC ∧ ใหแตละมุมมีขนาด 120o 3. ลาก AB, BC และ AC จะได ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา C A B A C D E O B O A B C
  • 24. 68 แนวคิดในการพิสูจน 1. AOB ∧ = BOC ∧ = 120o (จากการสราง) 2. จะได AOC ∧ = 120o (ขนาดของมุมรอบจุดจุดหนึ่งเทากับ 360 องศา) 3. m(AB) = m(BC) = m(CA) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาด เทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะ ยาวเทากัน) 4. AB = BC = CA (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหได สวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน) 5. ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา 4. แนวการสราง 1. สรางวงกลม O โดยใชรัศมียาวพอสมควร 2. ลากเสนผานศูนยกลาง AE 3. สราง PQ แบงครึ่ง AOE ∧ ตัดวงกลมที่จุด C และจุด G จะได AOC ∧ = 90o 4. สราง XY แบงครึ่ง AOC ∧ ตัดวงกลมที่จุด B และจุด F จะได AOB ∧ = 45o 5. สราง MN แบงครึ่ง COE ∧ ตัดวงกลมที่จุด D และจุด H จะได COD ∧ = 45o 6. ลาก AB, BC, CD, DE, EF, FG, GH และ HA จะไดรูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทามุมเทา แนวคิดในการพิสูจน 1. AOB ∧ = BOC ∧ = COD ∧ = DOE ∧ = EOF ∧ = FOG ∧ = GOH ∧ = HOA ∧ = 45o (จากการสราง และถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขามจะมีขนาดเทากัน) 2. m(AB) = m(BC) = m(CD) = m(DE) = m(EF) = m(FG) = m(GH) = m(HA) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่ จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน) C P D E F G H A B X N Q Y M O
  • 25. 69 3. AB = BC = CD = DE = EF = FG = GH = HA (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรด ทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน) 4. รูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทา (มีดานยาวเทากันทุกดาน) 5. ∆ AOB, ∆ BOC, ∆ COD, ∆ DOE, ∆ EOF, ∆ FOG, ∆ GOH และ ∆ HOA แตละรูปเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วที่มีมุมยอดขนาด 45 องศา 6. มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วแตละรูปมีขนาดเทากับ 180 45 2 − = 67.5 องศา (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา) 7. ABC ∧ = BCD ∧ = CDE ∧ = DEF ∧ = EFG ∧ = FGH ∧ = GHA ∧ = HAB ∧ = 67.5 × 2 = 135o 8. จะไดรูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทามุมเทา (จากขอ 4 และขอ 7) 5. แนวการสรางและพิสูจนทําไดในทํานองเดียวกับขอ 3 จากรูปการสรางขางลางนี้ จะได รูป ABCDEFGHIJKL เปนรูปสิบสองเหลี่ยมดานเทามุมเทา คําตอบกิจกรรม “คอรดกับจุดศูนยกลางของวงกลม” 1. แนวคิดในการพิสูจน 1. ∆ AOX ≅ ∆ BOX (ฉ.ด.ด.) 2. AX = BX (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) BA O X 30o O A B CD E F G H I J K L
  • 26. 70 2. แนวคิดในการพิสูจน 1. ∆ AOX ≅ ∆ BOX (ด.ด.ด.) 2. AXO ∧ = BXO ∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่ เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) 3. AXB ∧ = AXO ∧ + BXO ∧ = 180o (ขนาดของมุมตรง) 4. AXO ∧ = BXO ∧ = 90o (จากขอ 2 และขอ 3) คําตอบแบบฝกหัด 1. 16 เซนติเมตร 2. 13 เซนติเมตร 3. 3.9 เซนติเมตร 4. 1) 21 เซนติเมตร 2) มีลักษณะเปนวงกลม คําตอบกิจกรรม “หาจุดศูนยกลาง” 1. แนวคิด 1. สรางเสนตรง 1 ตั้งฉากและแบงครึ่ง AB 2. สรางเสนตรง 2 ตั้งฉากและแบงครึ่ง BC 3. ใหเสนตรง 1 ตัดกับเสนตรง 2 ที่จุด O จะไดจุด O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม BA O X O 1 2 A B C
  • 27. 71 2. ถาคอรด AB และคอรด CD ขนานกัน เสนตรง 1 และ 2 ที่เปนเสนตั้งฉากและแบงครึ่งคอรดทั้งสอง จะทับกันเปนเสนตรงเดียวกัน จึงไมสามารถหาจุดตัด ที่เปนจุดศูนยกลางของวงกลม คําตอบกิจกรรม “วงกลมผานจุดที่กําหนด” 1. สรางวงกลมผานจุด A ไดจํานวนวงกลมนับไมถวน และจุดศูนยกลางของวงกลมเหลานั้นเปนจุดตาง ๆ บนระนาบ 2. สรางวงกลมผานจุด A และจุด B ไดจํานวนวงกลม นับไมถวน และจุดศูนยกลางของวงกลมเหลานั้นจะเรียง อยูบนเสนตรงที่ตั้งฉากและแบงครึ่ง AB 3. ตัวอยางการสราง สรางวงกลมผานจุด A, B และ C ไดวงเดียวและ จุดศูนยกลางของวงกลมอยูที่จุดตัดของเสนตรงสองเสน ซึ่งเปนเสนตรงที่ตั้งฉากและแบงครึ่งสวนของเสนตรง สองเสนที่เชื่อมสองจุดใด ๆ ของจุด A, B และ C A B O1 O2 O3 A B C BA D C 1 2
  • 28. 72 4. สรางไมได 5. สรางไมได คําตอบกิจกรรม “รูปสี่เหลี่ยมแนบในวงกลม” 1. 180o เพราะ กําหนดให 2. 180o เพราะ ผลบวกของขนาดของมุมภายในทั้งสี่มุมของรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ เทากับ 360 องศา 3. 180o เพราะ ผลบวกของขนาดของมุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา 4. เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน 5. ได เพราะ สมบัติของการเทากัน คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ข 1. แนวการสรางและแนวการพิสูจน ทําไดในทํานอง เดียวกันกับกิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” ในหนังสือเรียนหนา 121 – 122 2. ใหจุด A, B และ C เปนตําแหนงของโรงเรียน โรงพยาบาล และทารถประจําทาง ตามลําดับ เมื่อใชแนวการสราง และแนวการพิสูจนในทํานอง เดียวกันกับกิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” ใน หนังสือเรียน หนา 121 – 122 จะไดตําแหนงที่สรางตลาดสดอยูที่จุดศูนยกลางของ วงกลม ที่ผานจุด A, B และ C A B C O F E 1 2 A B C E F O 2 1
  • 29. 73 3. กําหนดจุด A, B และ C บนขอบจานที่จุดเหลานี้ไมอยูใน แนวเสนตรงเดียวกัน เมื่อใชแนวการสราง และแนวการพิสูจนในทํานองเดียวกันกับ กิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” ในหนังสือเรียนหนา 121 – 122 จะไดจุดศูนยกลางของจานซึ่งทําใหหาความยาวของรัศมีของ จานได ตอจากนั้นจึงใชความยาวของรัศมีหาความยาวของ เสนรอบจาน 4. แนวคิดในการพิสูจน 1. ODC ∧ = OEC ∧ = 90o (กําหนดให) 2. ODC ∧ + OEC ∧ = 180o (จากขอ 1) 3. ODCE แนบในวงกลมได (ถารูปสี่เหลี่ยมใด ๆ มี ผลบวกของขนาดของมุมตรงขามเทากับสองมุมฉาก แลว รูปสี่เหลี่ยมนั้นแนบในวงกลมวงหนึ่งได) 5. แนวคิดในการพิสูจน 1. ให ABD ∧ มีขนาดเปน xo 2. จะได DBC ∧ = 2xo (กําหนดให) 3. ABD ∧ = ADB ∧ = xo (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยม หนาจั่วมีขนาดเทากัน) 4. DBC ∧ = DCB ∧ = 2xo (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยม หนาจั่วมีขนาดเทากัน) 5. จะได DAB ∧ + BCD ∧ = (180 – 2x) + 2x = 180o 6. ABCD แนบในวงกลมได (ถารูปสี่เหลี่ยมใด ๆ มี ผลบวกของขนาดของมุมตรงขามเทากับสองมุมฉาก แลว รูปสี่เหลี่ยมนั้นแนบในวงกลมวงหนึ่งได) B C D O EA A (180 – 2x)o xo 2xo C D B xo 2xo A B C O
  • 30. 74 คําตอบกิจกรรม “คอรดที่ยาวเทากัน” 1. 1) เทากัน เพราะ สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรด ที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด 2) เทากัน 3) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน 4) เทากันทุกประการ เพราะ OEB ∧ = OFC ∧ = 90o , OB = OC และ BE = CF (ฉ.ด.ด.) 5) เทากัน เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน 6) เทากัน 7) ใช 2. 1) เทากันทุกประการ เพราะ OEB ∧ = OFC ∧ = 90o , OB = OC และ OE = OF (ฉ.ด.ด.) 2) เทากัน เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน 3) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน 4) เทากัน เพราะ สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใช เสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด 5) เทากัน เพราะ สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใช เสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด 6) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน 7) ใช คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ค 1. 5 เซนติเมตร 2. แนวคิดในการพิสูจน 1. AD = BD (สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของ วงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด) 2. ∆ ACD ≅ ∆ BCD (ด.ม.ด.) D BA C O
  • 31. 75 D B A C O F E P 3. AC = BC (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) 4. AC และ BC อยูหางจากจุด O เทากัน (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองเสนยาวเทากัน แลวคอรด ทั้งสองนั้นจะอยูหางจากจุดศูนยกลางของวงกลมเปนระยะ เทากัน) 3. แนวคิดในการพิสูจน ลาก OP 1. OE = OF (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองเสนยาว เทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะอยูหางจากจุดศูนยกลางของ วงกลมเปนระยะเทากัน) 2. ∆ OEP ≅ ∆ OFP (ฉ.ด.ด.) 3. EP = FP (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) 4. BE = DF (ตางก็ยาวเปนครึ่งหนึ่งของคอรดที่ยาวเทากัน) 5. BE + EP = DF + FP (สมบัติของการเทากัน) 6. BP = DP (สมบัติของการเทากัน) 4. แนวคิดในการพิสูจน ให O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม ลาก OE และ OF ตั้งฉาก กับ AB และ CD ที่จุด E และจุด F ตามลําดับ ลาก OP 1. OE = OF (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองเสนยาว เทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะอยูหางจากจุดศูนยกลางของ วงกลมเปนระยะเทากัน) 2. ∆ OEP ≅ ∆ OFP (ฉ.ด.ด.) 3. EP = FP (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) 4. BE = DF (ตางก็ยาวเปนครึ่งหนึ่งของคอรดที่ยาวเทากัน) 5. EP – BE = FP – DF (สมบัติของการเทากัน) 6. BP = DP (สมบัติของการเทากัน) B A C D P E F O
  • 32. 76 5. แนวคิดในการพิสูจน ลาก OE และ OF ตั้งฉากกับ AB และ CD ที่จุด E และจุด F ตามลําดับ ลาก OB และ OD 1. จาก ∆ OEB จะได OB2 = OE2 +EB2 (ทฤษฎีบทพีทาโกรัส) 2. จาก ∆ OFD จะ ได OD2 = OF2 +FD2 (ทฤษฎีบทพีทาโกรัส) 3. OB = OD (รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเทากัน) 4. OB2 = OD2 (สมบัติของการเทากัน) 5. OE2 + EB2 = OF2 + FD2 (สมบัติของการไมเทากัน) 6. AB > CD (กําหนดให) 7. AB 2 > CD 2 (สมบัติของการไมเทากัน) 8. EB = AB 2 และ FD = CD 2 (สวนของเสนตรงซึ่งผาน จุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใช เสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด) 9. EB > FD (จากขอ 7 และขอ 8) 10. EB2 > FD2 (EB และ FD เปนจํานวนบวก) 11. OE2 < OF2 (จากขอ 5 และขอ 10) 12. OE < OF (OE และ OF เปนจํานวนบวก) 13. AB อยูใกลจุดศูนยกลางของวงกลมมากกวา CD 6. แนวคิดในการพิสูจน สําหรับกรณีวงกลมวงหนึ่ง ให O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม AB เปนคอรดที่อยูใกล จุด O มากกวาคอรด CD ลาก OE และ OF ตั้งฉากกับ AB และ CD ที่จุด E และจุด F ตามลําดับ ลาก OB และ OD 1. จาก ∆ OEB จะได OB2 = OE2 +EB2 (ทฤษฎีบทพีทาโกรัส) 2. จาก ∆ OFD จะ ได OD2 = OF2 +FD2 (ทฤษฎีบทพีทาโกรัส) 3. OB = OD (รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเทากัน) 4. OB2 = OD2 (สมบัติของการเทากัน) 5. OE2 + EB2 = OF2 + FD2 (สมบัติของการเทากัน) 6. OE < OF (กําหนดให) 7. OE2 < OF2 (OE และ OF เปนจํานวนบวก) D B A C O E F D B A C O E F
  • 33. 77 8. EB2 > FD2 (จากขอ 5 และขอ 7) 9. EB > FD (EB และ FD เปนจํานวนบวก) 10. 2(EB) > 2(FD) (สมบัติของการไมเทากัน) 11. AB > CD (สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของ วงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด) สําหรับกรณีวงกลมที่เทากันทุกประการ จะใชแนวคิดในการพิสูจนทํานองเดียวกัน คําตอบกิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี” 1. เปน 3. ตั้งฉาก 4. ตั้งฉาก 5. ใช คําตอบในกิจกรรม 1) PC 2) เปน คําตอบกิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี (ตอ)” คําตอบในกิจกรรม 1. (1) ตั้งฉาก เพราะ ไดสรางให XY ตั้งฉากกับ OB ที่จุด A (2) เปน เพราะ เสนตรงที่ตั้งฉากกับรัศมีของวงกลมที่จุดจุดหนึ่งบนวงกลม จะเปนเสนสัมผัสวงกลมที่จุดนั้น C B O D X Y A
  • 34. 78 2. (1) เปน (2) 90o เพราะ แตละมุมเปนมุมในครึ่งวงกลม R ซึ่งมุมในครึ่งวงกลม มีขนาด 90 องศา (3) ตั้งฉาก เพราะ OAX ∧ = 90o และ OBX ∧ = 90o (4) สัมผัสวงกลม O เพราะ เสนตรงที่ตั้งฉากกับรัศมีของวงกลมที่จุดจุดหนึ่งบน วงกลม จะเปนเสนสัมผัสวงกลมที่จุดนั้น (5) สองจุด (6) เทากัน เพราะ OAX ∧ = ∧ OBX = 90o (จากขอ (2)) OX = OX (OX เปนดานรวม) AO = BO (รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเทากัน) จะได ∆ AOX ≅ ∆ BOX (ฉ.ด.ด.) ดังนั้น AX = BX (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม ที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน) คําตอบแบบฝกหัด (หนา 135) 1. แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับในขอ 1 ของ กิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี (ตอ)” ในหนังสือเรียน หนา 132 – 133 2. แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับในขอ 2 ของ กิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี (ตอ)” ในหนังสือเรียน หนา 132 – 133 P Q O R X A B X O A P B A B O X P Q R
  • 35. 79 3. 1) 63o 2) 117o คําตอบแบบฝกหัด 3.4 ก 1. 17 เซนติเมตร 2. 104o 3. 130o 4. 55o 5. 40o 6. 40o 7. แนวคิดในการพิสูจน 1. YAO ∧ = PBO ∧ = 90o (เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส) 2. XY // PQ (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นขนานกัน) 8. แนวคิดในการพิสูจน ลาก CO และ DO 1. EX AB⊥ (เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับรัศมีของ วงกลมที่จุดสัมผัส) 2. EXB ∧ = 90o (จากขอ 1) 3. CYX ∧ = EXB ∧ = 90o (ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) 4. ∆ CYO ≅ ∆ DYO (ฉ.ด.ด.) 5. COY ∧ = DOY ∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม ที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) A B O P Y Q X A B O C DY E X
  • 36. 80 6. m(CE) = m(DE) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่ จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่ จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน) 9. แนวคิดในการพิสูจน 1. BAC ∧ + CAY ∧ = 90o (เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส) 2. ACB ∧ = 90o (มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา) 3. CAY ∧ + AYB ∧ = 90o (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุม ของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา) 4. BAC ∧ + CAY ∧ = CAY ∧ + AYB ∧ = 90o (สมบัติของการเทากัน) 5. BAC ∧ = AYB ∧ (สมบัติของการเทากัน) 10. แนวคิดในการพิสูจน 1. ABO ∧ = ACO ∧ = 90o (เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส) 2. OA = OA (OA เปนดานรวม) 3. AB = AC (สวนของเสนตรงที่ลากมาจากจุดจุดหนึ่ง ภายนอกวงกลมมาสัมผัสวงกลมวงเดียวกัน จะยาวเทากัน) 4. ∆ ABO ≅ ∆ ACO (ฉ.ด.ด.) 5. AOB ∧ = AOC ∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่ เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) 11. แนวคิดในการพิสูจน ลาก BO และ CO 1. AOB ∧ = AOC ∧ (จากการพิสูจนในขอ 10) 2. BOD ∧ + AOB ∧ = COD ∧ + AOC ∧ = 180o (ขนาดของมุมตรง) 3. BOD ∧ = COD ∧ (สมบัติของการเทากัน) A B O C YX B C O A A B OD C
  • 37. 81 4. m(BD) = m(CD) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่ จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่ จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน) 5. BD = CD (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองคอรดตัด วงกลมทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้น จะยาวเทากัน) 12. แนวคิดในการพิสูจน ลาก BO และ CO 1. ∆ BOC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว (มีดานประกอบมุมยอดยาวเทากัน) 2. AOB ∧ = AOC ∧ (จากการพิสูจนในขอ 10) 3. OD ที่แบงครึ่งมุมยอดของ ∆ OBC จะตั้งฉากและแบงครึ่ง BC (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว) คําตอบกิจกรรม “ลองคิดดู” เครื่องหมายกาชาดมีพื้นที่ r2 1 7 2− ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ตารางหนวย แนวคิด ลาก DX ตัด OA ที่จุด E จะได ODE เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ให DE = a จะได OE = a, DX = QX = 2a จาก ∆ ODE จะได a2 + a2 = 2 r 4 2a2 = 2 r 4 A B O D C A B C O D Y XQP r a E r 2 a
  • 38. 82 a = r 2 2 หนวย ฉะนั้น DX = QX = 2a = r 2 หนวย พื้นที่ของรูปกาชาด = (PY)(DX) + (PQ + XY)(DX) ตารางหนวย = (DX)(PY + PQ + XY) ตารางหนวย และจะไดวา PY = 2 2 2 r a− (สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลม และตั้งฉากกับคอรดที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรดนั้น) PQ + XY = 2 2 2 r a 2a− − ดังนั้นพื้นที่ของรูปกาชาด = 2a( )2 2 2 2 +2 r a 2 r a 2a− − − = 2a( )2 2 4 r a 2a− − = r 2 2 2 r r4 r 8 2 − − ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 2 7r4r r 8 22 − ⎛ ⎞ ⋅⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 4r r 7 r 22 2 2 − ⎛ ⎞ ⋅⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 2 4 7 r r 4 2− = r2 1 7 2− ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ตารางหนวย คําตอบกิจกรรม “นารู” 14 องศา
  • 39. 83 คําตอบกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” คําตอบแบบฝกหัด 1. แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” ในหนังสือเรียน หนา 141 2. แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” ในหนังสือเรียน หนา 141 6 D O CB A 108 O Q R P C D
  • 40. 84 จากรูป ให CE = x หนวย และ BF = y หนวย y = 6 – x -------- 1 8 – y = 10 – x -------- 2 จะได 8 – (6 – x) = 10 – x 2 + x = 10 – x 2x = 8 x = 4 แทน x ใน 1 จะได y = 6 – 4 y = 2 เนื่องจากรัศมีของวงกลม O เทากับ y หนวย ( BEOF เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส) ดังนั้น รัศมีของวงกลม O เทากับ 2 หนวย คําตอบกิจกรรม “เสนสัมผัสและคอรด” 1. 1) 90o 2) 90o 3) 90o 4) เทากัน 5) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน 6) เทากัน เพราะ ADB ∧ = ACB ∧ (ในวงกลมวงเดียวกัน มุมในสวนโคงของวงกลมที่ รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาดเทากัน) 2. แนวคิดในการพิสูจน ลากเสนผานศูนยกลาง AD และลาก CD 1. ACD ∧ = 90o (มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา) 2. ADC ∧ + CAD ∧ = 90o (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุม ของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา) B C X YA D 10 – x B C A D F E O x y x6 – x 8 – y
  • 41. 85 3. CAD ∧ + CAY ∧ = 90o (เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส) 4. ADC ∧ + CAD ∧ = CAD ∧ + CAY ∧ (สมบัติของการเทากัน) 5. ADC ∧ = CAY ∧ (สมบัติของการเทากัน) 6. ADC ∧ = ABC ∧ (ในวงกลมวงเดียวกัน มุมในสวนโคง ของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาด เทากัน) 7. CAY ∧ = ABC ∧ (สมบัติของการเทากัน) 8. ในทํานองเดียวกัน เมื่อลาก BD จะพิสูจนไดวา BAX ∧ = ACB ∧ คําตอบแบบฝกหัด 3.4 ข 1. BAC ∧ = 65o และ ACB ∧ = 80o 2. 44o 3. ADC ∧ = 55o , ABC ∧ = 125o และ DCB ∧ = 38o 4. 6 หนวย (แนวคิดของการหาคําตอบทํานองเดียวกันกับแนวคิดของการหาคําตอบขอ 2 ของกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม”) 5. 17 เซนติเมตร แนวคิด x = 5 – y จะได y = 5 – x เนื่องจาก BC = 14 – x + 8 – y จะได BC = 14 – x + 8 – (5 – x) BC = 17 เซนติเมตร B O C D Ax y y (14 – x) (14 – x) 8 – y 8 – y (5 – y)