SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
1

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4

การให้ เหตุผล
การให้ เหตุผลแบบอุปนัย
การให้ เหตุผลแบบอุปนัย หมายถึง วิธีการสรุ ปผลในการค้นหาความจริ งจากการสังเกต หรื อการ
ทดลองหลายครั้งจากกรณี ยอย ๆ แล้วนามาสรุ ปเป็ นความรู้แบบทัวไป
่
่
ตัวอย่างที่ 1 จงใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัย เพื่อหาสมการหรื อคาตอบจากแบบรู ปที่
กาหนดให้ต่อไปนี้
1.

(1 9)  2  11
(12  9)  3  111
(123  9)  4  1,111
.....................  ...........
1
 3
1 2  3
 6
1  2  3  4  10
.....................  ...........

2. 1
1 2

3.

เช่ น

1  1
1 3  4
1 3  5  6
...................  ...........

ตัวอย่างที่ 2 ให้เลือกจานวนนับมา 1 จานวน และปฏิบติตามขั้นตอนต่อไปนี้
ั
1) คูณจานวนนับที่เลือกไว้ดวย 4
้
2) บวกผลลัพธ์ในข้อ 1) ด้วย 6
3) หารผลบวกในข้อ 2) ด้วย 2
4) ลบผลหารในข้อ 3) ด้วย 3
ถ้าเลือกจานวนนับ 2
1) คูณจานวนนับที่เลือกไว้ดวย 4 จะได้ 2  4  8
้
2) บวกผลลัพธ์ในข้อ 1) ด้วย 6 จะได้ 8  6  14
3) หารผลบวกในข้อ 2) ด้วย 2
จะได้ 14  2  7
4) ลบผลหารในข้อ 3) ด้วย 3
จะได้ 7  3  4

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
2

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4
จะพบว่า จากจานวนที่เลือก คือ 2 จะได้คาตอบสุดท้าย เท่ากับ 10 ลองเลือกจานวน 1, 3, 4,
5, 6, 7, 8, 9 แล้วทาตามวิธีที่กาหนดไว้ขางต้น มีขอสรุ ปอย่างไร เมื่อใช้วิธีการใช้เหตุผลแบบอุปนัย
้
้
วิธีทา จากการหาคาตอบโดยวิธีการที่กาหนดให้ ในตัวอย่างข้างต้น มีขอสังเกตว่า คาตอบ
้
สุดท้ายจะเท่ากับสองเท่าของจานวนที่เลือกไว้ครั้งแรกเสมอ
สรุปได้ ว่า เมื่อใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัย คาตอบสุดท้ายจะเป็ นสองเท่าของจานวนที่เลือก
ไว้ครั้งแรก เมื่อได้ดาเนินการตามวิธีที่กาหนดไว้

*** การหาข้อสรุ ปหรื อความจริ ง โดยใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัย ไม่จาเป็ นต้อง
ถูกต้องทุกครั้ง เนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็ นการสรุ ปผลซึ่งเกิดจากหลักฐาน ข้อเท็จจริ งที่มีอยู่
ดังนั้น ข้อสรุ ปจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดนั้น ขึ้นอยูกบลักษณะของข้อมูล หลักฐานและข้อเท็จจริ งที่นามา
่ ั
อ้าง ซึ่งได้แก่
- จานวนข้อมูล หลักฐานหรื อข้อเท็จจริ งที่นามาเป็ นข้อสังเกต หรื อข้ออ้างอิง มีมากพอกับการ
สรุ ปความหรื อไม่
ตัวอย่างที่ 3 จงหาว่า ผลคูณของจานวนนับสองจานวนที่เป็ นจานวนคู่จะเป็ นจานวนคู่หรื อ
จานวนคี่ โดยการใช้เหตุผลแบบอุปนัย
วิธีทา ในการหาคาตอบข้างต้นโดยใช้เหตุผลแบบอุปนัย ทาได้โดยพิจารณาผลคูณของ
จานวนนับที่เป็ นจานวนคู่หลาย ๆ จานวน ดังนี้
พิจารณาผลคูณของ
2 2
2 4




26
28

 12
 16

4 4
46
48

 16
 24
 32

6 6
68

 36
 48

4
8

6  10  60

จากการหาผลคูณของจานวนนับที่เป็ นจานวนคู่ขางต้น และใช้วิธีการสังเกต จะพบว่า ผลคูณที่ได้
้
จะเป็ นจานวนคู่

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
3

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4
สรุปว่า ผลคูณของจานวนนับสองจานวนที่เป็ นจานวนคู่ จะเป็ นจานวนคู่ โดยการใช้การให้
เหตุผลแบบอุปนัย
ตัวอย่างที่ 4 ถ้าไปรับประทานที่ร้านแห่งหนึ่งแล้งเกิดท้องเสีย แล้วสรุ ปว่า อาหาร
ที่ร้านดังกล่าวทาให้ทองเสีย การสรุ ปจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว ย่อมจะน่าเชื่อถือได้นอยกว่าไป
้
้
รับประทานอาหารที่ร้านดังกล่าวบ่อย ๆ แล้วท้องเสียแทบทุกครั้ง
ตัวอย่างที่ 5 จากแบบรู ปของจานวน 2, 4, a a ควรเป็ นจานวนใดคาตอบที่ได้จากการ
สังเกตแบบรู ปที่กาหนดให้ คือ 2, 4 มีได้ต่างกันดังนี้
ถ้า เหตุผล คือ 2  2  4 จะได้ว่า a  6
แต่ถา เหตุผล คือ 2  21 และ 4  22 a จะเท่ากับ 23  8
้
การให้ เหตุผลแบบนิรนัย หมายถึง การให้เหตุผลที่อางว่าสิ่งที่กาหนดให้ยนยันผลสรุ ป
้
ื
โดยกาหนดให้เหตุเป็ นจริ ง หรื อยอมรับว่าเป็ นจริ ง แล้วใช้กฎเกณฑ์ต่าง ๆ สรุ ปผลจากเหตุที่กาหนดให้

ผล

ตัวอย่างที่ 6

ตัวอย่างที่ 7

จานวนคู่ หมายถึง จานวนที่หารด้วย 2 ลงตัว
2) 6 หารด้วย 2 ลงตัว
6 เป็ นจานวนคู่

เหตุ

1)

เหตุ

ผล
ตัวอย่างที่ 8

เหตุ
ผล

1)

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็ นสัตว์เลือดอุ่น
2) สุ นขเป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ั
สุนขเป็ นสัตว์เลือดอุ่น
ั
นักเรี ยนชั้น ม.4 ทุกคนแต่งกายถูกระเบียบ
2) ศศิธรเป็ นนักเรี ยน ม.4
ศศิธรแต่งกายถูกระเบียบ
1)

จากตัวอย่าง การยอมรับความรู้พ้ืนฐานหรื อความจริ งบางอย่างก่อน แล้วหาข้อสรุ ปจากสิ่ง
ที่ยอมรับนั้น จะเรี ยกว่า ผล การสรุ ปผลจะถูกต้อง ก็ต่อเมือ เป็ นการสรุ ปได้อย่างสมเหตุสมผล
่
(valid)

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
4

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4
ตัวอย่างที่ 9

เรื อทุกลาลอยน้ าได้
2) ถังน้ าลอยน้ าได้
ผล ถังน้ าเป็ นเรื อ

เหตุ

1)

จากตัวอย่าง การสรุ ปผลข้างต้นไม่สมเหตุสมผล แม้ว่าข้ออ้างหรื อเหตุท้งสองจะเป็ นจริ ง
ั
แต่การที่เราทราบว่า เรื อทุกลาลอยน้ าได้ ก็ไม่ได้หมายความว่า สิ่งอื่น ๆ ที่ลอยน้ าได้จะเป็ นเรื อเสมอไป
ข้อสรุ ปข้างต้นเป็ นการสรุ ปที่ไม่สมเหตุสมผล
สรุปว่า การให้เหตุผลแบบนิรนัยนั้น ผลหรื อข้อสรุ ปจะถูกต้อง ก็ต่อเมื่อ
1) ยอมรับว่าเหตุเป็ นจริ งทุกข้อ
2) การสรุ ปผลสมเหตุสมผล

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
5

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4
ใบงานที่ 1
ให้นกเรี ยนใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัย เขียนผลสรุ ปจากเหตุที่กาหนดให้ในแต่ละข้อ
ั
ต่อไปนี้

ตอนที่ 1
ข้ อที่
1

1.
2.

2

1.
2.
3.

3

1.
2.

4

1.
2.

5

ตอนที่

เหตุ (หรือข้ ออ้าง) ที่กาหนดให้
6 หารด้วย 2 ลงตัว
18 หารด้วย 2 ลงตัว
15 หารด้วย 3 ลงตัว
27 หารด้วย 3 ลงตัว
39 หารด้วย 3 ลงตัว
วันนี้ศรี นวลรักวุฒิพงษ์
วันพรุ่ งนี้ศรี นวลรักวุฒิพงษ์
ธนพลชอบใส่เสื้อผ้าสีม่วง
ธนพลชอบปากกาสีม่วง

ผลสรุป

1. 1 + 0 = 1
2. 12 + 0 = 12
3. 205 + 0 = 205
2

ให้นกเรี ยนใช้การให้เหตุผลแบบนิรนัย เขียนผลสรุ ปจากเหตุที่กาหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้
ั

ข้ อที่

เหตุ (ข้ ออ้าง) ที่กาหนดให้
ผลสรุป
1
1. จานวนคู่ หมายถึง จานวนที่ 2 หารลงตัว
2. 20 หารด้วย 2 ลงตัว
2
1. นักกีฬาทุกคนต้องมีสุขภาพดี
2. สุ เทพ เป็ นนักฟุตบอลทีมชาติไทย
3
1. ต้นไม้ยนต้นทุกชนิ ดจะมีผล
ื
2. มะม่วงเป็ นไม้ยนต้น
ื
4
1. นักเรี ยนบางคนเป็ นชาวเชียงใหม่
2. สุ รศักดิ์เป็ นนักเรี ยน
5
1. คนขยันทุกคนต้องการเป็ นเศรษฐี
2. กมลเป็ นคนขยัน
คะแนนที่ได้……………….. ผูตรวจ…………………….. วัน/เดือน/ปี ……………………
้

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
6

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4

การอ้ างเหตุผล
การให้ เหตุผลที่สมเหตุสมผล คือ การให้เหตุผลซึ่งอ้างถึงเหตุที่กาหนดให้ เป็ นผลที่ทาให้เกิดผล
สรุ ปได้
การให้ เหตุผลที่ไม่สมเหตุสมผล คือ การให้เหตุผลซึ่งอ้างถึงเหตุที่กาหนดให้เป็ นผลที่ทาให้เกิดผล
สรุ ปไม่ได้
รู ปสี่เหลี่ยมด้านขนานเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมที่มดานตรงข้ามขนานกันสองคู่
ี ้
2) รู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมที่มดานตรงข้ามขนานกันสองคู่ มีดานแต่ละด้านยาว
ี ้
้
เท่ากัน และไม่มีมุมใดเป็ นมุมฉาก
3) รู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน
1)

ข้อความหรื อประโยคใน ข้อ 1) และ 2) ว่า เหตุ หรือ สมมติฐาน และเรี ยกข้อความหรื อประโยคใน
ข้อ 3) ว่า ผล ซึ่งจากตัวอย่างข้างต้น เป็ นการสรุ ปข้อเท็จจริ งซึ่งเป็ นผลมาจากเหตุ
การตรวจสอบว่า ข้อสรุ ปสมเหตุสมผลหรื อไม่น้ น สามารถตรวจสอบได้หลายวิธี แล้วแต่ลกษณะ
ั
ั
ของข้อความที่กาหนดมาให้ วิธีการหนึ่ง คือ การวาดแผนภาพตามสมมติฐานที่เป็ นไปได้ แล้วจึงพิจารณาว่า
แผนภาพแต่ละกรณี แสดงผลสรุ ปตามที่สรุ ปไว้หรื อไม่ ถ้ าแผนภาพที่วาด กรณีที่เป็ นไปได้ ทุกกรณี แสดงผล
ตามที่กาหนด จึงกล่าวได้ ว่า การสรุปผล สมเหตุสมผล แต่ถ้ามีแผนภาพทีไม่แสดงผลตามที่สรุปไว้ การ
่
สรุปผลนั้นไม่สมเหตุสมผล และวิธีการที่ใช้ตรวจสอบการสมเหตุสมผลที่กล่าวมา เรี ยกว่า การอ้างเหตุผล
โดยใช้ ตรรกบทของตรรกศาตร์ (syllogistic logic)
ข้อความที่ใช้ในการอ้างเหตุผลที่ใช้กนมีอยูดวยกัน 4 แบบ คือ
ั
่ ้
1) สมาชิกของ A ทุกตัวเป็ นสมาชิกของ B
2) ไม่มีสมาชิกของ A ตัวใดเป็ นสมาชิกของ B
3) สมาชิกบางตัวของ A เป็ นสมาชิกของ B
4) สมาชิกของ A บางตัวไม่เป็ นสมาชิกของ B
หมายเหตุ แผนภาพที่ใช้ตรวจสอบความสมเหตุสมผลนั้นเป็ นแผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
7

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4
ตัวอย่างที่ 1 สมาชิกของ A ทุกตัวเป็ นสมาชิกของ B
ข้ อความ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็ นสัตว์เลือดอุ่น จะเขียนแผนภาพได้ ดังนี้

A

B

ตัวอย่างที่ 2 ไม่มสมาชิกของ A ตัวใดเป็ นสมาชิกของ B
ี
ข้ อความ ไม่มีไก่ตวใดมีนม จะเขียนแผนภาพได้ ดังนี้
ั
A

B

ตัวอย่างที่ 3 สมาชิกบางตัวของ A เป็ นสมาชิกของ B
ข้ อความ รถโดยสารบางคันเป็ นรถประจาทาง จะเขียนแผนภาพได้ ดังนี้
A

B

ตัวอย่างที่ 4 สมาชิกของ A บางตัวไม่เป็ นสมาชิกของ B
ข้ อความ รถบางคันไม่ได้เป็ นรถปรับอากาศ จะเขียนแผนภาพได้ ดังนี้
A

B

ตารวจทุกคนมีปืน
2) นายแดงเป็ นตารวจ
ผล นายแดงมีปืน

ตัวอย่างที่ 5 เหตุ

1)

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
8

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4
คนมีปืน
ตารวจ
 นายแดง
จากแผนภาพ ผลสรุ ปที่กล่าวมา นายแดงมีปืน สมเหตุสมผล
นักมวยทุกคนเป็ นคนที่มีสุขภาพดี
2) นายดาเป็ นคนที่มีสุขภาพดี
ผล นายดาเป็ นนักมวย
เขียนแผนภาพเพื่อแสดงว่า นายดามีสุขภาพดี ได้ดงนี้
ั

ตัวอย่างที่ 6 เหตุ

1)

คนมีสุขภาพดี
นักมวย
 นายดา

คนมีสุขภาพดี
หรื อ

นักมวย


นายดา

จากแผนภาพด้านขวา นายดาไม่ได้เป็ นนักมวย ดังนั้น ผลสรุ ปที่ว่า นายดาเป็ นนักมวย
ไม่ สมเหตุสมผล
ตัวอย่างที่ 7 เหตุ 1) ลิงทุกตัวเป็ นแมว
2) แมวทุกตัวเป็ นเสื อ
ผล ลิงทุกตัวเป็ นเสือ
เขียนแผนภาพ ได้ดงนี้
ั
เสือ
แมว
ลิง
จากแผนภาพ ผลสรุ ปที่ว่า ลิงทุกตัวเป็ นเสือ สมเหตุสมผล
***** ในการอ้ างเหตุผลโดยใช้ แผนภาพ ถ้ าไม่ สมเหตุสมผลนั้น ไม่ จาเป็ นต้ องวาด
แผนภาพทั้งหมด เขียนแผนภาพเฉพาะที่ไม่สมเหตุสมผลเพียงแผนภาพเดียวก็ได้
เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั
9

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4
ใบงานที่ 2
คาชี้แจง
ข้ อที่
1

2

3

4

5

6

7

ให้นกเรี ยนกาเครื่ องหมาย
ั



ลงในช่องว่างแต่ละข้อให้ถกต้องสมบูรณ์
ู

การให้ เหตุผล
เหตุ 1. ปลาทุกตัวบินได้
2. ไส้เดือนทุกตัวเป็ นปลา
ผลสรุป ไส้เดือนทุกตัวบินได้
เหตุ 1. นักเรี ยนที่เรี ยนดีและยากจนจะได้รับทุน
การศึกษา
2. บุศริ นเป็ นนักเรี ยนที่ยากจน
ผลสรุป บุศริ นได้รับทุน
เหตุ 1. ชาวนาทุกคนอายุยน
ื
2. คนอายุยนบางคนไม่ผอม
ื
ผลสรุป ไม่มีชาวนาคนใดผอม
เหตุ 1. ดอกกุหลาบทุกดอกมีสีแดง
2. ดอกไม้ในกระถางนี้ เป็ นดอกกุหลาบ
ผลสรุป ดอกไม่ในกระถางนี้มีสีแดง
เหตุ 1. สาวนครราชสีมาเป็ นคนสวย
2. สุ ภาวดีเป็ นสาวนครราชสี มา
ผลสรุป สุภาวดีเป็ นคนสวย
เหตุ 1. PQR เป็ นสามเหลี่ยมมุมฉาก
2. มุม P กาง 70 องศา
ผลสรุป มุม R กาง 20 องศา
เหตุ 1. สุกรมี 4 ขา
2. มลฤดี มี 4 ขา
ผลสรุป มลฤดี เป็ นสุกร

สมเหตุสมผล

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

ไม่สมเหตุสมผล
10

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4

ข้ อที่
8

9

10

การให้ เหตุผล
เหตุ 1. สุทินได้ส่วนแบ่งเป็ น 3 เท่าของทินกร
2. สุ ทินได้ส่วนแบ่ง 90 บาท
ผลสรุป ทินกรได้ส่วนแบ่ง 30 บาท
เหตุ 1. ช้างทุกตัวเป็ นอาหารของเสือ
2. สิ งห์เป็ นช้าง
ผลสรุป สิงห์เป็ นอาหารของเสื อ
เหตุ 1. จระเข้เป็ นสัตว์เลื้อยคลาน
2. สัตว์เลื้อยคลานออกลูกเป็ นไข่
ผลสรุป จะเข้ออกลูกเป็ นไข่

สมเหตุสมผล ไม่สมเหตุสมผล

คะแนนที่ได้ = …………………………
ผูตรวจ …………………………………..
้
วันที่ ……. เดือน …………พ.ศ. ………

เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา
ั

More Related Content

What's hot

โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
Probability
ProbabilityProbability
Probabilitykrubud
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558kroojaja
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับmathsanook
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007Krukomnuan
 
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตBangon Suyana
 

What's hot (20)

7 statistic
7 statistic7 statistic
7 statistic
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
01real
01real01real
01real
 
5 statistic
5 statistic5 statistic
5 statistic
 
6 statistic
6 statistic6 statistic
6 statistic
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
การหาค่ากลางทั้ง3แบบ
การหาค่ากลางทั้ง3แบบการหาค่ากลางทั้ง3แบบ
การหาค่ากลางทั้ง3แบบ
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007
 
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 

Viewers also liked

แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลแบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลphotnew
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลAon Narinchoti
 
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...krutitirut
 
แบบฝึกทักษะการให้เหตุผล
แบบฝึกทักษะการให้เหตุผลแบบฝึกทักษะการให้เหตุผล
แบบฝึกทักษะการให้เหตุผลNittaya Noinan
 
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)lovelyya2553
 
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลreaxe j
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยLaongphan Phan
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลkrukanteera
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2kanjana2536
 

Viewers also liked (13)

แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผลแบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
แบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...
 
แบบฝึกทักษะการให้เหตุผล
แบบฝึกทักษะการให้เหตุผลแบบฝึกทักษะการให้เหตุผล
แบบฝึกทักษะการให้เหตุผล
 
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
 
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
 
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
 

Similar to การให้เหตุผล

E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 
77100967 1 20140702-135514
77100967 1 20140702-13551477100967 1 20140702-135514
77100967 1 20140702-135514lim way
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]IKHG
 
สอบเข้า ม.4
สอบเข้า ม.4สอบเข้า ม.4
สอบเข้า ม.4amppbbird
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารพิทักษ์ ทวี
 
คณิตศาสตร์ 2013
คณิตศาสตร์ 2013คณิตศาสตร์ 2013
คณิตศาสตร์ 2013Tanyapa Poomkum
 

Similar to การให้เหตุผล (20)

คณิต
คณิต คณิต
คณิต
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 
Prob Theory1
Prob Theory1Prob Theory1
Prob Theory1
 
77100967 1 20140702-135514
77100967 1 20140702-13551477100967 1 20140702-135514
77100967 1 20140702-135514
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[3]
Prob[3]Prob[3]
Prob[3]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
666
666666
666
 
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
 
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
 
สอบเข้า ม.4
สอบเข้า ม.4สอบเข้า ม.4
สอบเข้า ม.4
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
 
คณิตศาสตร์ 2013
คณิตศาสตร์ 2013คณิตศาสตร์ 2013
คณิตศาสตร์ 2013
 

More from KruGift Girlz

จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงKruGift Girlz
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับKruGift Girlz
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1KruGift Girlz
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6KruGift Girlz
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์KruGift Girlz
 
การวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลการวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลKruGift Girlz
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6KruGift Girlz
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6KruGift Girlz
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6KruGift Girlz
 

More from KruGift Girlz (13)

เซต
เซตเซต
เซต
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
การวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลการวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูล
 
การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6การแจกแจงปกติม.6
การแจกแจงปกติม.6
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน ม.6
 

การให้เหตุผล

  • 1. 1 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4 การให้ เหตุผล การให้ เหตุผลแบบอุปนัย การให้ เหตุผลแบบอุปนัย หมายถึง วิธีการสรุ ปผลในการค้นหาความจริ งจากการสังเกต หรื อการ ทดลองหลายครั้งจากกรณี ยอย ๆ แล้วนามาสรุ ปเป็ นความรู้แบบทัวไป ่ ่ ตัวอย่างที่ 1 จงใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัย เพื่อหาสมการหรื อคาตอบจากแบบรู ปที่ กาหนดให้ต่อไปนี้ 1. (1 9)  2  11 (12  9)  3  111 (123  9)  4  1,111 .....................  ........... 1  3 1 2  3  6 1  2  3  4  10 .....................  ........... 2. 1 1 2 3. เช่ น 1  1 1 3  4 1 3  5  6 ...................  ........... ตัวอย่างที่ 2 ให้เลือกจานวนนับมา 1 จานวน และปฏิบติตามขั้นตอนต่อไปนี้ ั 1) คูณจานวนนับที่เลือกไว้ดวย 4 ้ 2) บวกผลลัพธ์ในข้อ 1) ด้วย 6 3) หารผลบวกในข้อ 2) ด้วย 2 4) ลบผลหารในข้อ 3) ด้วย 3 ถ้าเลือกจานวนนับ 2 1) คูณจานวนนับที่เลือกไว้ดวย 4 จะได้ 2  4  8 ้ 2) บวกผลลัพธ์ในข้อ 1) ด้วย 6 จะได้ 8  6  14 3) หารผลบวกในข้อ 2) ด้วย 2 จะได้ 14  2  7 4) ลบผลหารในข้อ 3) ด้วย 3 จะได้ 7  3  4 เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 2. 2 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4 จะพบว่า จากจานวนที่เลือก คือ 2 จะได้คาตอบสุดท้าย เท่ากับ 10 ลองเลือกจานวน 1, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 แล้วทาตามวิธีที่กาหนดไว้ขางต้น มีขอสรุ ปอย่างไร เมื่อใช้วิธีการใช้เหตุผลแบบอุปนัย ้ ้ วิธีทา จากการหาคาตอบโดยวิธีการที่กาหนดให้ ในตัวอย่างข้างต้น มีขอสังเกตว่า คาตอบ ้ สุดท้ายจะเท่ากับสองเท่าของจานวนที่เลือกไว้ครั้งแรกเสมอ สรุปได้ ว่า เมื่อใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัย คาตอบสุดท้ายจะเป็ นสองเท่าของจานวนที่เลือก ไว้ครั้งแรก เมื่อได้ดาเนินการตามวิธีที่กาหนดไว้ *** การหาข้อสรุ ปหรื อความจริ ง โดยใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัย ไม่จาเป็ นต้อง ถูกต้องทุกครั้ง เนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็ นการสรุ ปผลซึ่งเกิดจากหลักฐาน ข้อเท็จจริ งที่มีอยู่ ดังนั้น ข้อสรุ ปจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดนั้น ขึ้นอยูกบลักษณะของข้อมูล หลักฐานและข้อเท็จจริ งที่นามา ่ ั อ้าง ซึ่งได้แก่ - จานวนข้อมูล หลักฐานหรื อข้อเท็จจริ งที่นามาเป็ นข้อสังเกต หรื อข้ออ้างอิง มีมากพอกับการ สรุ ปความหรื อไม่ ตัวอย่างที่ 3 จงหาว่า ผลคูณของจานวนนับสองจานวนที่เป็ นจานวนคู่จะเป็ นจานวนคู่หรื อ จานวนคี่ โดยการใช้เหตุผลแบบอุปนัย วิธีทา ในการหาคาตอบข้างต้นโดยใช้เหตุผลแบบอุปนัย ทาได้โดยพิจารณาผลคูณของ จานวนนับที่เป็ นจานวนคู่หลาย ๆ จานวน ดังนี้ พิจารณาผลคูณของ 2 2 2 4   26 28  12  16 4 4 46 48  16  24  32 6 6 68  36  48 4 8 6  10  60 จากการหาผลคูณของจานวนนับที่เป็ นจานวนคู่ขางต้น และใช้วิธีการสังเกต จะพบว่า ผลคูณที่ได้ ้ จะเป็ นจานวนคู่ เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 3. 3 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4 สรุปว่า ผลคูณของจานวนนับสองจานวนที่เป็ นจานวนคู่ จะเป็ นจานวนคู่ โดยการใช้การให้ เหตุผลแบบอุปนัย ตัวอย่างที่ 4 ถ้าไปรับประทานที่ร้านแห่งหนึ่งแล้งเกิดท้องเสีย แล้วสรุ ปว่า อาหาร ที่ร้านดังกล่าวทาให้ทองเสีย การสรุ ปจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว ย่อมจะน่าเชื่อถือได้นอยกว่าไป ้ ้ รับประทานอาหารที่ร้านดังกล่าวบ่อย ๆ แล้วท้องเสียแทบทุกครั้ง ตัวอย่างที่ 5 จากแบบรู ปของจานวน 2, 4, a a ควรเป็ นจานวนใดคาตอบที่ได้จากการ สังเกตแบบรู ปที่กาหนดให้ คือ 2, 4 มีได้ต่างกันดังนี้ ถ้า เหตุผล คือ 2  2  4 จะได้ว่า a  6 แต่ถา เหตุผล คือ 2  21 และ 4  22 a จะเท่ากับ 23  8 ้ การให้ เหตุผลแบบนิรนัย หมายถึง การให้เหตุผลที่อางว่าสิ่งที่กาหนดให้ยนยันผลสรุ ป ้ ื โดยกาหนดให้เหตุเป็ นจริ ง หรื อยอมรับว่าเป็ นจริ ง แล้วใช้กฎเกณฑ์ต่าง ๆ สรุ ปผลจากเหตุที่กาหนดให้ ผล ตัวอย่างที่ 6 ตัวอย่างที่ 7 จานวนคู่ หมายถึง จานวนที่หารด้วย 2 ลงตัว 2) 6 หารด้วย 2 ลงตัว 6 เป็ นจานวนคู่ เหตุ 1) เหตุ ผล ตัวอย่างที่ 8 เหตุ ผล 1) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็ นสัตว์เลือดอุ่น 2) สุ นขเป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ั สุนขเป็ นสัตว์เลือดอุ่น ั นักเรี ยนชั้น ม.4 ทุกคนแต่งกายถูกระเบียบ 2) ศศิธรเป็ นนักเรี ยน ม.4 ศศิธรแต่งกายถูกระเบียบ 1) จากตัวอย่าง การยอมรับความรู้พ้ืนฐานหรื อความจริ งบางอย่างก่อน แล้วหาข้อสรุ ปจากสิ่ง ที่ยอมรับนั้น จะเรี ยกว่า ผล การสรุ ปผลจะถูกต้อง ก็ต่อเมือ เป็ นการสรุ ปได้อย่างสมเหตุสมผล ่ (valid) เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 4. 4 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4 ตัวอย่างที่ 9 เรื อทุกลาลอยน้ าได้ 2) ถังน้ าลอยน้ าได้ ผล ถังน้ าเป็ นเรื อ เหตุ 1) จากตัวอย่าง การสรุ ปผลข้างต้นไม่สมเหตุสมผล แม้ว่าข้ออ้างหรื อเหตุท้งสองจะเป็ นจริ ง ั แต่การที่เราทราบว่า เรื อทุกลาลอยน้ าได้ ก็ไม่ได้หมายความว่า สิ่งอื่น ๆ ที่ลอยน้ าได้จะเป็ นเรื อเสมอไป ข้อสรุ ปข้างต้นเป็ นการสรุ ปที่ไม่สมเหตุสมผล สรุปว่า การให้เหตุผลแบบนิรนัยนั้น ผลหรื อข้อสรุ ปจะถูกต้อง ก็ต่อเมื่อ 1) ยอมรับว่าเหตุเป็ นจริ งทุกข้อ 2) การสรุ ปผลสมเหตุสมผล เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 5. 5 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4 ใบงานที่ 1 ให้นกเรี ยนใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัย เขียนผลสรุ ปจากเหตุที่กาหนดให้ในแต่ละข้อ ั ต่อไปนี้ ตอนที่ 1 ข้ อที่ 1 1. 2. 2 1. 2. 3. 3 1. 2. 4 1. 2. 5 ตอนที่ เหตุ (หรือข้ ออ้าง) ที่กาหนดให้ 6 หารด้วย 2 ลงตัว 18 หารด้วย 2 ลงตัว 15 หารด้วย 3 ลงตัว 27 หารด้วย 3 ลงตัว 39 หารด้วย 3 ลงตัว วันนี้ศรี นวลรักวุฒิพงษ์ วันพรุ่ งนี้ศรี นวลรักวุฒิพงษ์ ธนพลชอบใส่เสื้อผ้าสีม่วง ธนพลชอบปากกาสีม่วง ผลสรุป 1. 1 + 0 = 1 2. 12 + 0 = 12 3. 205 + 0 = 205 2 ให้นกเรี ยนใช้การให้เหตุผลแบบนิรนัย เขียนผลสรุ ปจากเหตุที่กาหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้ ั ข้ อที่ เหตุ (ข้ ออ้าง) ที่กาหนดให้ ผลสรุป 1 1. จานวนคู่ หมายถึง จานวนที่ 2 หารลงตัว 2. 20 หารด้วย 2 ลงตัว 2 1. นักกีฬาทุกคนต้องมีสุขภาพดี 2. สุ เทพ เป็ นนักฟุตบอลทีมชาติไทย 3 1. ต้นไม้ยนต้นทุกชนิ ดจะมีผล ื 2. มะม่วงเป็ นไม้ยนต้น ื 4 1. นักเรี ยนบางคนเป็ นชาวเชียงใหม่ 2. สุ รศักดิ์เป็ นนักเรี ยน 5 1. คนขยันทุกคนต้องการเป็ นเศรษฐี 2. กมลเป็ นคนขยัน คะแนนที่ได้……………….. ผูตรวจ…………………….. วัน/เดือน/ปี …………………… ้ เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 6. 6 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4 การอ้ างเหตุผล การให้ เหตุผลที่สมเหตุสมผล คือ การให้เหตุผลซึ่งอ้างถึงเหตุที่กาหนดให้ เป็ นผลที่ทาให้เกิดผล สรุ ปได้ การให้ เหตุผลที่ไม่สมเหตุสมผล คือ การให้เหตุผลซึ่งอ้างถึงเหตุที่กาหนดให้เป็ นผลที่ทาให้เกิดผล สรุ ปไม่ได้ รู ปสี่เหลี่ยมด้านขนานเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมที่มดานตรงข้ามขนานกันสองคู่ ี ้ 2) รู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมที่มดานตรงข้ามขนานกันสองคู่ มีดานแต่ละด้านยาว ี ้ ้ เท่ากัน และไม่มีมุมใดเป็ นมุมฉาก 3) รู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน 1) ข้อความหรื อประโยคใน ข้อ 1) และ 2) ว่า เหตุ หรือ สมมติฐาน และเรี ยกข้อความหรื อประโยคใน ข้อ 3) ว่า ผล ซึ่งจากตัวอย่างข้างต้น เป็ นการสรุ ปข้อเท็จจริ งซึ่งเป็ นผลมาจากเหตุ การตรวจสอบว่า ข้อสรุ ปสมเหตุสมผลหรื อไม่น้ น สามารถตรวจสอบได้หลายวิธี แล้วแต่ลกษณะ ั ั ของข้อความที่กาหนดมาให้ วิธีการหนึ่ง คือ การวาดแผนภาพตามสมมติฐานที่เป็ นไปได้ แล้วจึงพิจารณาว่า แผนภาพแต่ละกรณี แสดงผลสรุ ปตามที่สรุ ปไว้หรื อไม่ ถ้ าแผนภาพที่วาด กรณีที่เป็ นไปได้ ทุกกรณี แสดงผล ตามที่กาหนด จึงกล่าวได้ ว่า การสรุปผล สมเหตุสมผล แต่ถ้ามีแผนภาพทีไม่แสดงผลตามที่สรุปไว้ การ ่ สรุปผลนั้นไม่สมเหตุสมผล และวิธีการที่ใช้ตรวจสอบการสมเหตุสมผลที่กล่าวมา เรี ยกว่า การอ้างเหตุผล โดยใช้ ตรรกบทของตรรกศาตร์ (syllogistic logic) ข้อความที่ใช้ในการอ้างเหตุผลที่ใช้กนมีอยูดวยกัน 4 แบบ คือ ั ่ ้ 1) สมาชิกของ A ทุกตัวเป็ นสมาชิกของ B 2) ไม่มีสมาชิกของ A ตัวใดเป็ นสมาชิกของ B 3) สมาชิกบางตัวของ A เป็ นสมาชิกของ B 4) สมาชิกของ A บางตัวไม่เป็ นสมาชิกของ B หมายเหตุ แผนภาพที่ใช้ตรวจสอบความสมเหตุสมผลนั้นเป็ นแผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 7. 7 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4 ตัวอย่างที่ 1 สมาชิกของ A ทุกตัวเป็ นสมาชิกของ B ข้ อความ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็ นสัตว์เลือดอุ่น จะเขียนแผนภาพได้ ดังนี้ A B ตัวอย่างที่ 2 ไม่มสมาชิกของ A ตัวใดเป็ นสมาชิกของ B ี ข้ อความ ไม่มีไก่ตวใดมีนม จะเขียนแผนภาพได้ ดังนี้ ั A B ตัวอย่างที่ 3 สมาชิกบางตัวของ A เป็ นสมาชิกของ B ข้ อความ รถโดยสารบางคันเป็ นรถประจาทาง จะเขียนแผนภาพได้ ดังนี้ A B ตัวอย่างที่ 4 สมาชิกของ A บางตัวไม่เป็ นสมาชิกของ B ข้ อความ รถบางคันไม่ได้เป็ นรถปรับอากาศ จะเขียนแผนภาพได้ ดังนี้ A B ตารวจทุกคนมีปืน 2) นายแดงเป็ นตารวจ ผล นายแดงมีปืน ตัวอย่างที่ 5 เหตุ 1) เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 8. 8 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4 คนมีปืน ตารวจ  นายแดง จากแผนภาพ ผลสรุ ปที่กล่าวมา นายแดงมีปืน สมเหตุสมผล นักมวยทุกคนเป็ นคนที่มีสุขภาพดี 2) นายดาเป็ นคนที่มีสุขภาพดี ผล นายดาเป็ นนักมวย เขียนแผนภาพเพื่อแสดงว่า นายดามีสุขภาพดี ได้ดงนี้ ั ตัวอย่างที่ 6 เหตุ 1) คนมีสุขภาพดี นักมวย  นายดา คนมีสุขภาพดี หรื อ นักมวย  นายดา จากแผนภาพด้านขวา นายดาไม่ได้เป็ นนักมวย ดังนั้น ผลสรุ ปที่ว่า นายดาเป็ นนักมวย ไม่ สมเหตุสมผล ตัวอย่างที่ 7 เหตุ 1) ลิงทุกตัวเป็ นแมว 2) แมวทุกตัวเป็ นเสื อ ผล ลิงทุกตัวเป็ นเสือ เขียนแผนภาพ ได้ดงนี้ ั เสือ แมว ลิง จากแผนภาพ ผลสรุ ปที่ว่า ลิงทุกตัวเป็ นเสือ สมเหตุสมผล ***** ในการอ้ างเหตุผลโดยใช้ แผนภาพ ถ้ าไม่ สมเหตุสมผลนั้น ไม่ จาเป็ นต้ องวาด แผนภาพทั้งหมด เขียนแผนภาพเฉพาะที่ไม่สมเหตุสมผลเพียงแผนภาพเดียวก็ได้ เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั
  • 9. 9 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4 ใบงานที่ 2 คาชี้แจง ข้ อที่ 1 2 3 4 5 6 7 ให้นกเรี ยนกาเครื่ องหมาย ั  ลงในช่องว่างแต่ละข้อให้ถกต้องสมบูรณ์ ู การให้ เหตุผล เหตุ 1. ปลาทุกตัวบินได้ 2. ไส้เดือนทุกตัวเป็ นปลา ผลสรุป ไส้เดือนทุกตัวบินได้ เหตุ 1. นักเรี ยนที่เรี ยนดีและยากจนจะได้รับทุน การศึกษา 2. บุศริ นเป็ นนักเรี ยนที่ยากจน ผลสรุป บุศริ นได้รับทุน เหตุ 1. ชาวนาทุกคนอายุยน ื 2. คนอายุยนบางคนไม่ผอม ื ผลสรุป ไม่มีชาวนาคนใดผอม เหตุ 1. ดอกกุหลาบทุกดอกมีสีแดง 2. ดอกไม้ในกระถางนี้ เป็ นดอกกุหลาบ ผลสรุป ดอกไม่ในกระถางนี้มีสีแดง เหตุ 1. สาวนครราชสีมาเป็ นคนสวย 2. สุ ภาวดีเป็ นสาวนครราชสี มา ผลสรุป สุภาวดีเป็ นคนสวย เหตุ 1. PQR เป็ นสามเหลี่ยมมุมฉาก 2. มุม P กาง 70 องศา ผลสรุป มุม R กาง 20 องศา เหตุ 1. สุกรมี 4 ขา 2. มลฤดี มี 4 ขา ผลสรุป มลฤดี เป็ นสุกร สมเหตุสมผล เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั ไม่สมเหตุสมผล
  • 10. 10 เอกสารประกอบการเรี ยนวิชาคณิตศาสตร์ ค 31101 เรื่ อง การให้เหตุผล ระดับชั้นม.4 ข้ อที่ 8 9 10 การให้ เหตุผล เหตุ 1. สุทินได้ส่วนแบ่งเป็ น 3 เท่าของทินกร 2. สุ ทินได้ส่วนแบ่ง 90 บาท ผลสรุป ทินกรได้ส่วนแบ่ง 30 บาท เหตุ 1. ช้างทุกตัวเป็ นอาหารของเสือ 2. สิ งห์เป็ นช้าง ผลสรุป สิงห์เป็ นอาหารของเสื อ เหตุ 1. จระเข้เป็ นสัตว์เลื้อยคลาน 2. สัตว์เลื้อยคลานออกลูกเป็ นไข่ ผลสรุป จะเข้ออกลูกเป็ นไข่ สมเหตุสมผล ไม่สมเหตุสมผล คะแนนที่ได้ = ………………………… ผูตรวจ ………………………………….. ้ วันที่ ……. เดือน …………พ.ศ. ……… เรี ยบเรี ยงและจัดทาโดยนางสาวศิริกญญา กิตติวุฒิ โรงเรี ยนสุราษฎร์พิทยา ั