SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




        คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์

                                     เรื่อง

                             จานวนจริง
                          (เนื้อหาตอนที่ 2)
                         การแยกตัวประกอบ

                                     โดย

             ศาสตราจารย์ ดร.กฤษณะ เนียมมณี


     สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง
  คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
              กระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
           สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                  สื่อการสอน เรื่อง จานวนจริง
        สื่อการสอน เรื่อง จานวนจริง มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 17 ตอน ซึ่งประกอบด้วย

1. บทนา เรื่อง จานวนจริง
2. เนื้อหาตอนที่ 1 สมบัติของจานวนจริง
                   - ระบบจานวนจริง
                   - สมบัติพื้นฐานของระบบจานวนจริง
3. เนื้อหาตอนที่ 2 การแยกตัวประกอบ
                   - การแยกตัวประกอบ
4. เนื้อหาตอนที่ 3 ทฤษฎีบทตัวประกอบ
                   - ทฤษฎีบทเศษเหลือ
                   - ทฤษฎีบทตัวประกอบ
5. เนื้อหาตอนที่ 4 สมการพหุนาม
                   - สมการพหุนามกาลังหนึ่ง
                   - สมการพหุนามกาลังสอง
                   - สมการพหุนามกาลังสูง
                   - การประยุกต์สมการพหุนาม
6. เนื้อหาตอนที่ 5 อสมการ
                   - เส้นจานวนและช่วง
                   - อสมการที่เกี่ยวข้องกับพหุนามกาลังหนึ่ง
                   - อสมการที่เกี่ยวข้องกับพหุนามกาลังสูง
7. เนื้อหาตอนที่ 6 เทคนิคการแก้อสมการ
                   - อสมการในรูปเศษส่วน
                   - การแก้อสมการโดยวิธีการยกกาลังสอง
                   - การแก้อสมการโดยการแทนค่าตัวแปร
                   - การประยุกต์โจทย์การแก้อสมการ
8. เนื้อหาตอนที่ 7 ค่าสัมบูรณ์
                   - ค่าสัมบูรณ์
                   - สมการค่าสัมบูรณ์



                                                 1
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


 9. เนื้อหาตอนที่ 8 การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
                        - อสมการค่าสัมบูรณ์
                        - โจทย์ประยุกต์อสมการค่าสัมบูรณ์
10. เนื้อหาตอนที่ 9 กราฟค่าสัมบูรณ์
                        - กราฟค่าสัมบูรณ์
11. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1)
12. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2)
13. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 3)
14. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง)
15. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง ช่วงบนเส้นจานวน
16. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม (กาลังไม่เกินสี่)
17. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กราฟค่าสัมบูรณ์

          คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนสาหรับ
 ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนจริง
 นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว
 ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของ
 คู่มือฉบับนี้




                                                   2
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


เรื่อง           จานวนจริง (การแยกตัวประกอบ)
หมวด             เนื้อหา
ตอนที่           2 (2/9)

หัวข้อย่อย       1. การแยกตัวประกอบโดยวิธีการดึงตัวร่วม
                 2. การแยกตัวประกอบโดยวิธีสามพจน์สองวงเล็บ
                 3. การแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสมบูรณ์
                 4. การแยกตัวประกอบโดยวิธีผลต่างกาลังสอง
                 5. การแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสามสมบูรณ์
                 6. การแยกตัวประกอบโดยวิธีผลต่างกาลังสามและผลบวกกาลังสาม

จุดประสงค์การเรียนรู้
    เพื่อให้ผู้เรียน
    1. ได้ทบทวนการแยกตัวประกอบโดยวิธีการดึงตัวร่วม
    2. ได้ทบทวนการแยกตัวประกอบโดยวิธีสามพจน์สองวงเล็บ
    3. ได้ทบทวนการแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสมบูรณ์
    4. ได้ทบทวนการแยกตัวประกอบโดยวิธีผลต่างกาลังสอง
    5. ได้ทบทวนการแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสามสมบูรณ์
    6. ได้ทบทวนการแยกตัวประกอบโดยวิธีผลต่างกาลังสามและผลบวกกาลังสาม
    7. สามารถเลือกวิธีการแยกตัวประกอบที่เหมาะสม ในการแยกตัวประกอบพหุนาม

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
   ผู้เรียนสามารถ
   1. แยกตัวประกอบโดยวิธีการดึงตัวร่วมได้
   2. แยกตัวประกอบโดยวิธีสามพจน์สองวงเล็บได้
   3. แยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสมบูรณ์ได้
   4. แยกตัวประกอบโดยวิธีผลต่างกาลังสองได้
   5. แยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสามสมบูรณ์ได้
   6. แยกตัวประกอบโดยวิธีผลต่างกาลังสามและผลบวกกาลังสามได้
   7. เลือกวิธีการแยกตัวประกอบที่เหมาะสม และนาไปใช้ในวิธีการนั้นในการแยกตัวประกอบพหุนามได้



                                                   3
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                        เนื้อหาในสื่อการสอน




                            เนื้อหาทั้งหมด




                                      4
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




   1. การแยกตัวประกอบโดยวิธีดึงตัวร่วม




                                      5
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                 1. การแยกตัวประกอบโดยวิธดึงตัวร่วม
                                                         ี

          ในสื่อตอนนี้ ผู้เรียนจะได้ทบทวนวิธีการแยกตัวประกอบโดยวิธีการดึงตัวร่วม ที่ผู้เรียนควรจะรู้มาก่อนที่
จะเริ่มเรียนวิธีการแยกตัวประกอบโดยทฤษฎีบทแยกตัวประกอบ
          แต่ก่อนอื่นผู้สอนควรทบทวนผู้เรียนให้ทราบความหมายของพหุนาม และความสาคัญของการแยกตัว
ประกอบเสียก่อน




          หลังจากชมสื่อแล้ว ผู้สอนอาจยกตัวอย่างต่อไปนี้เพิ่มเติม

ตัวอย่าง กาหนดให้ f  x   x4  5x2  5x  1 จงหา
    1. f  1
    2. f  3  f 1

วิธีทา
     1.   f  1   1  5  1  5  1  1  12
                         4          2



     2.   f  3  f 1  34  5  3  5  3  1  14  5 1  5 1  1
                                        2                            4
                                                                            
                112  2
                                                                                                       #
                110




                                                            6
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




ตัวอย่าง จงหาค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ  x  1 x  2  0

วิธีทา จาก  x  1 x  2  0 จะได้ว่า
       x  1  0 หรือ x  2  0
         x  1 หรือ x  2                                                                           #

        ต่อไปผู้เรียนจะได้ทบทวนวิธีการแยกตัวประกอบโดยวิธีดึงตัวร่วม




        ผู้สอนอาจยกตัวอย่างต่อไปนี้เพิ่มเติม

ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
    1. a  x  y   b  x  y 
    2. 32 x  64 x 2 y  8xy 2

                                                          7
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                        สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


วิธีทา
     1.     a  x  y   b  x  y    a  b  x  y 
     2.     32 x  64 x 2 y  8 xy 2  8 x  4  8 xy  y 2                                                      #

ตัวอย่าง จงทาให้เป็นรูปอย่างง่าย
             12 x 2 y 2  36 xy 2
    1.
                     6 xy
             2 x y  2 xy 2
                3
    2.
              3x3  3xy


วิธีทา
          12 x 2 y 2  36 xy 2 12 xy  xy  3 y 
    1.                                            2  xy  3 y 
                  6 xy               6 xy


          2 x3 y  2 xy 2 2 xy  x  y 
                                   2
                                                     2y
    2.                                                                                                          #
           3 x3  3xy      3x  x 2  y             3




                                               แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                                    เรื่อง การแยกตัวประกอบ (การดึงตัวร่วม)

จงแยกตัวประกอบต่อไปนี้
   1. x 2  2 x                                                      2.   3x 2  2 x
   3. 4 x3  2 x 2                                                   4.   y2  8 y
   5. 3x3  6 x 2  9 x                                              6.   8 x 2 y  2 xy 2
   7. 14 x3 y  7 xy3                                               8.   3xyz 2  6 x 2 yz
   9. 5xy 2 z  x2 yz  xy 2 z                                      10.   5 x 2 y 2 z 2  10 x3 y 2 z 3  15x 4 y 3 z 2




                                                                8
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


         ต่อไปจะเป็นเทคนิคการแยกตัวประกอบโดยวิธีดึงตัวร่วมของพหุนามที่มีสี่พจน์




                                         แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                             เรื่องการแยกตัวประกอบ (สี่ พจน์ สอง วงเล็บ)

จงแยกตัวประกอบ
   1.  a  b  c   a  b  d                                  2.   x2  a  b   2  a  b 
   3. 5  a  b    a  b  c                                  4.   a 2  2ab  ac  2bc
   5. x 2  ax  5 x  5a                                        6.   x 2  2 x  xy  2 y
   7. x 4  x3  2 x  2                                         8.   4 x 4  x3  8 x  2
   9. x3  x 2  x  1                                          10.   a 2  ab  ac  bc




                                                            9
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




2. การแยกตัวประกอบโดยวิธีสามพจน์สองวงเล็บ




                                       10
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                           2. การแยกตัวประกอบโดยวิธีสามพจน์สองวงเล็บ

          ในหัวข้อนี้ เราจะทบทวนเทคนิคการแยกตัวประกอบที่เรียกว่า สามพจน์สองวงเล็บ




         ผู้สอนควรทบทวนการแยกตัวประกอบแบบ สามพจน์สองวงเล็บ ในกรณีที่สัมประสิทธ์ของ                     x 2 ไม่ใช่ 1
ด้วย ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบต่อไปนี้
    1. 2 x 2  3x  1
    2. 6 x 2  7 x  3
    3. 6  7 x  3x 2

วิธีทา
     1.    2 x2  3x  1   2 x  1 x  1
     2.    6 x2  7 x  3   2 x  3 3x  1
     3.    6  7 x  3x2   2  3x 3  x                                                                          #


                                          แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                             เรื่องการแยกตัวประกอบ (สามพจน์สองวงเล็บ)

จงแยกตัวประกอบ
  1. x 2  3x  2                                                2.   x 2  9 x  18
  3. x 2  10 x  24                                             4.   x2  x  6
                                                           11
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


 5.   x 2  3x  4                                               6.   x 2  12 x  85
 7.   2  x  x2                                                 8.   14  5x  x 2
 9.   x 2  3x  4                                              10.   a 2  4ab  3b 2
11.   a 2b 2  4ab  5                                          12.   2 x2  x  6
13.   4 x2  5x  9                                             14.   3 x 2  10 x  3
15.   8x2  2 x  3                                             16.   4 x 2  18 x  8
17.   6x2  7 x  2                                             18.   9 x 2  3x  2
19.   8  6x  2x2                                              20.   2  5 x  3x 2




                                                           12
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




3. การแยกตัวประกอบโดยวิธกาลังสองสมบูรณ์
                        ี




                                      13
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                     3. การแยกตัวประกอบ โดยวิธีกาลังสองสมบูรณ์

             ในหัวข้อนี้ ผู้เรียนจะได้ทบทวนเทคนิคการแยกตัวประกอบโดยวิธี กาลังสองสมบูรณ์




             ผู้สอนอาจยกตัวอย่างต่อไปนี้ เพื่อให้ผู้เรียนเห็นถึงการประยุกต์ใช้สูตรกาลังสองสมบูรณ์

                                    1                        1
ตัวอย่าง กาหนดให้          x         2   แล้ว       x2         มีค่าเท่ากับเท่าไร
                                    x                        x2
                                                1
วิธีทา                เนื่องจาก            x     2
                                                x
                                                  2

                      ดังนั้น  x  1   22
                                     
                                    x
                               1
                      x2  2  2  4
                              x
                               1
                          x2  2  2                                                                            #
                              x


ตัวอย่าง จงเติมพจน์ใน                 เพื่อทาให้พหุนามที่กาหนดสามารถจัดรูปกาลังสองสมบูรณ์ได้
    1. x2  3x 
    2. 4 x2  2 x 
    3. x2  16
    4. 9 x2  16 x 
                      1
    5.         x 
                      4
เฉลย
                                                                            64
    1. 9                  2.    1
                                             3. 8x                    4.              5. x 2
         4                      4                                           9
                                                                            14
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                   สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


วิธีทา 1. จาก  น+ ล = น2 + 2นล+ ล2  x 2  3x 
                      2



               จะเห็นได้ว่า น = x และ
                             2นล = 3x
                             2 xล = 3x
                                ล= 3
                                        2
                                        9
               ดังนั้น       ล   2
                                                                                                   #
                                        4


ตัวอย่าง จงหาค่าของ       42 3

               เนื่องจาก               
                                            2
วิธีทา                            3 1  4  2 3

               ดังนั้น       4  2 3  3 1                                                         #

ตัวอย่าง จงหาค่าของ       9  2 18

               เนื่องจาก                       
                                                    2
วิธีทา                            6 3                   9  2 18

               ดังนั้น       9  2 18  6  3                                                       #


                                        แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                            เรื่องการแยกตัวประกอบ (กาลังสองสมบูรณ์)
จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
   1. x 2  4 x  4
   2. x 2  10 x  25
   3. x2  6 x  9
   4. 2 x 2  8 x  8
   5. 4 x 2  8 x  4
   6. 1 x 2  x  1
          4
7-10 จงเติมพจน์ใน เพื่อทาให้พหุนามต่อไปนี้ สามารถจัดให้อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์ได้
    7. x 2  49
    8. 4 x 2  5
    9.  80 y  16
          1 2     1
    10.     x  
          4       9

                                                                 15
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




4. การแยกตัวประกอบโดยวิธผลต่างกาลังสอง
                        ี




                                      16
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                              4. การแยกตัวประกอบ โดยวิธีผลต่างกาลังสอง
          ในข้อนี้ผู้เรียนจะได้นาสูตรของผลต่างกาลังสอง มาช่วยในการแยกตัวประกอบ




การพิสูจน์สูตร                     a 2  b2   a  b  a  b 


พิสูจน์         a  b  a  b   a2  ab  ba  b2
                                    a 2  b2


ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
    1. x 4  1
    2. x 4  x 2

วิธีทา
     1.     x 4  1   x 2  1 x 2  1
                        x  1 x  1  x 2  1
    2.      x 4  x 2  x 2  x 2  1
                       x 2  x  1 x  1                                                            #
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
    1. x2  y 2  x  y
    2. 500 a 2b  20b3



                                                            17
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


วิธีทา
     1.   x2  y 2  x  y   x2  y 2    x  y 
                              x  y  x  y    x  y 
                              x  y  x  y  1


    2.                               
          500 a 2b  20b3  20b 25a  b
                                   2    2
                                                  
                              20b  5a  b  5a  b                                                  #



                                            แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                                เรื่องการแยกตัวประกอบ (ผลต่างกาลังสอง)

จงแยกตัวประกอบ
     1. x 2  9                                                      2.   x 2  25
     3. x 2  3                                                      4.   4b 2  1
     5. x2 y 2  9                                                   6.   x3  x
     7. x 4  81                                                     8.   a 5b 4  9 a
     9.  x 2  y 2    x  y                                    10.   49 z 2  81




                                                               18
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




5. การแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสามสมบูรณ์




                                      19
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                          สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                5. การแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสามสมบูรณ์

          ในหัวข้อนี้ ผู้เรียนจะได้ศึกษาการนาสูตร กาลังสามสมบูรณ์ มาช่วยในการแยกตัวประกอบ




                             1                1
ตัวอย่าง กาหนดให้      x       1 แล้ว x 3  3       มีค่าเท่ากับเท่าไร
                             x               x
วิธีทา เนื่องจาก
                                             3
                                       1
                                    x   1
                                             3

                                       x
                      2
          1       1         1
               3   x  3   x 2  x3  1
                  x         x
            3
          x
                         1 3
                           3
                               3x  x3  1
                         x     x
                      1      1      
                          3   x   x3  1
                             x      
                       3
                     x
                                1
                                 3
                                    3  x3  1
                               x
                                         1
          ดังนั้น                  x 3  3  2                                                            #
                                         x
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ
    1. 8x3  12 x2 y  6 xy 2  y3
    2. x3  6 x2 y  12 xy 2  8 y3

วิธีทา
     1.   8 x3  12 x 2 y  6 xy 2  y 3   2 x   3  2 x  y  3  2 x  y 2  y 3
                                                  3           2



                                            2x  y 
                                                         3



                                                                  20
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



       2.       x3  6 x 2 y  12 xy 2  8 y 3  x3  3  x 2   2 y   3x  2 y    2 y 
                                                                                   2         3



                                                 x  2y
                                                             3
                                                                                                               #



                                                  แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                                      เรื่องการแยกตัวประกอบ (กาลังสามสมบูรณ์)

 1-7 จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
 1. x3  3x 2  3x  1
 2. 8 x3  12 x 2  6 x  1
 3. 8 x3  6 x 2  3 x  1
                        2       8
 4.   2x  6x  6x  2
            3       2


 5.   1  9 x  27 x 2  27 x 3
                     4          8 3
 6.   x3  2 x 2 y  xy 2        y
                     3         27
 7.   27 x3  135 x 2 y  225 y 2  125 y 3

 8.   กาหนดให้ x  1  1 แล้ว x 3  13 มีค่าเท่ากับเท่าไร
                       x                x

      จงหาค่าของ 8 x  12 x  6 x  1
                       3      2
 9.
                           2x 1
10.   จงหาค่าของ  x  1  3  x  12  3  x  1  1
                           3




                                                                     21
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




          6. การแยกตัวประกอบ
โดยวิธีผลบวกกาลังสาม และผลต่างกาลังสาม




                                     22
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


               6. การแยกตัวประกอบโดยวิธีผลบวกกาลังสาม และผลต่างกาลังสาม

          ในข้อนี้ ผู้เรียนจะได้ทบทวนการแยกตัวประกอบ โดยใช้สูตรผลบวกกาลังสาม และผลต่างกาลังสาม




ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
    1. a3  b3  a  b
    2. 128  x  y 3  2

วิธีทา
     1.   a 3  b3  a  b   a 3  b3    a  b 
                              a  b   a 2  ab  b 2    a  b 
                              a  b   a 2  ab  b 2  1


    2.                  3
                                      
           128  x  y   2  2 64  x  y   1
                                                 3
                                                             
                                                         
                               2  4  x  y   1 16  x  y   4  x  y   1
                                                                      2
                                                                                                       #

ตัวอย่าง จงหาค่าของ  x  1 3  1  x  1 3   x  1 3  1
                                  1                  2            1

                                                                   


วิธีทา เนื่องจาก น3 + ล3 =  น+ ล  น2  นล+ ล2 
                                                                                           3
                     
                        x  1 3  1  x  1 3   x  1 3  1    x  1 3   13
                                                                 
                                1                2            1                   1
          จะได้ว่า                                                                
                                                                               
                                                                            x  1  1
                                                                       x                               #
                                                                 23
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                 แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
             เรื่องการแยกตัวประกอบ (ผลต่างกาลังสามและผลบวกกาลังสาม)

จงแยกตัวประกอบ
    1. a 3  1                                                  2.   a3  1
    3. b3  27                                                  4.   b3  8
    5. a 3b3  27                                               6.   x3  64 y 3
    7. 8  1000x 6                                              8.   8 x 3  1000
    9. y 6  729                                               10.   8 x3  27 y 3                    #




                                                          24
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




             สรุปสาระสาคัญประจาตอน




                                     25
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                   สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                       สรุปสารสาคัญประจาตอน




         เมื่อผู้เรียนได้ทบทวนวิธีการแยกตัวประกอบทั้ง 6 วิธีแล้ว ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนทดลองทาแบบฝึกหัดระคน
ดังตัวอย่างต่อไปนี้


                                                        26
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                        สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ตัวอย่าง จงทาให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
          m2  m  12 m 2  m  6
    1.                 2
            m3  64    m  4m  16
          a  2a  24 a 2  a  12
           2
    2.                 2
             a 2  16  a  6a  9


วิธีทา
          m2  m  12 m2  m  6    m2  m  12 m 2  4m  16
    1.                2                           2
           m3  64    m  4m  16      m3  64        m m6
                                  
                                         m  4  m  3  m2  4m  16
                                     m  4   m2  4m  16   m  3 m  2 
                                                      1
                                                 
                                                     m2


          a 2  2a  24 a 2  a  12  a  6  a  4   a  4  a  3
    2.                  2                            
              a 2  16  a  6a  9  a  4  a  4         a  3
                                                                     2


                                                  a6
                                                                                                        #
                                                  a3


ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
    1. a 4  a 2b2  b 4
    2. 6  x 1  x 

วิธีทา
     1.   a 4  a 2 b 2  b 4   a 4  2a 2 b 2  b 4   a 2b 2

                               a 2  b 2    ab 
                                             2          2



                               a 2  ab  b 2  a 2  ab  b 2 


    2.    6  x 1  x   6  x  x2
                            3  x  2  x 
                                                                                                         #




                                                                    27
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                  ภาคผนวกที่ 1
              แบบฝึกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม




                                     28
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                 แบบฝึกหัดระคน

1-10 จงแยกตัวประกอบของพหุนามดังต่อไปนี้
    1. x 2  5 x  4
    2. a 3  3a 2  4a  12
    3. x3  y3  xy 2  x2 y
    4. 4  x  y 3   x  y 
    5.  a  b 3  27
    6. x 4  2 x3  8 x  16
    7. 3x 2  9 x  12
    8. 16  2 x  y 2  4  x  y 2
    9. 4 x 2  28 x  40
    10. a 2  4b 2  4a  8b  4ab
11.  x  y 2  x  y  2 แยกตัวประกอบได้ตรงกับข้อใด
    1.  x  y  2 x  y 1
    2.  x  y  2 x  y  1
    3.  x  y  2 x  y 1
    4.  x  y  2 x  y 1
12. ข้อใดใช้สมบัติการกระจาย
    1. x  2  2  x
    2.  x  5  2  x  7
    3. 2x  4 y  2  x  2 y 
    4. x   x  3  2x  3
13. ข้อใดไม่ถูกต้อง
         1  a2
    1.           1  a เมื่อ a  1
         1 a
    2.   3x2  9 x  3x   x  3
    3. มี a และ b ที่ทาให้ a 2  b 2   a  b 2
    4. a 2  b 2   a  b 2 ทุก a, b 
14. ข้อใดไม่ใช่พหุนาม
    1. x 2  x  x 1
    2.  x  3 x  2

                                                           29
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


    3.   5
    4.   3  x  1
15. 2x 1 เป็นตัวประกอบของพหุนามใด
    1. 6 x 2  x  1
    2. 6 x 2  5 x  4
    3. 2 x 2  3x  1
    4. x 2  x  6
                       1                    1
16. กาหนดให้     x      4   แล้ว   x2         มีค่าเท่ากับเท่าไร
                       x                    x2
    1. 4                     2. 16                     3. 18                         4. ข้อมูลไม่พอ
17. ตัวประกอบของ x 4  2 x3  8 x  16 คือข้อใด
    1.  x  2   x3  8 
    2.  x  22  x3  2 x  4
    3.  x  22  x3  2 x  4
    4.  x  2  x  2   x3  2 x  4 
18.  a  b 3  3a2  a  b   a3  3a  a  b 2  มีค่าเท่ากับเท่าใด
                                                    
    1. 1                    2. a 3                         3.   b3                   4.   a 3  b3
19. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
    1. 3  a  12  3  a  2 2  9  2a  1
    2. 4x2 1   2x 1 2 x  1
    3. a3  a 2  a  1   a  12  a  1
    4. x2  2   x  2   x  1
                 1                   1
20. กาหนดให้       xa       แล้ว     3
                                          x3    มีค่าเท่ากับข้อใด
                 x                   x
    1.   a3                2.   a 3  3a                   3.   a 3  3a          4.   a 3  3a




                                                                30
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                         ภาคผนวกที่ 2
                        เฉลยแบบฝึกหัด




                                     31
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                     เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม
                                                     ่
                            เรื่องการแยกตัวประกอบ (การดึงตัวร่วม)

           1. x  x  2                                            2. x  3x  2
           3. 2 x2  2 x 1                                        4. y  y  8
           5. 3x  x 2  2 x  3                                   6. 2 xy  4x  y 
           7. 7 xy  2 x 2  y 2                                  8. 3xyz  z  2x 
           9. xyz 5 y  x  y                                    10. 5 x 2 y 2 z 2 1  2 xz  3x 2 y 


                                 เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม
                                                  ่
                      เรื่องการแยกตัวประกอบ (สี่ พจน์ สอง วงเล็บ)

 1.    a  b  c  d                        2.  x 2  2   a  b                  3.  5  c  a  b 
 4.    a  2b  a  c                       5.  x  5 x  a                      6.  x  y  x  2
 7.    x3  2   x  1                      8.  x3  2   4 x  1                 9.  x 2  1  x  1
10.    a  c  a  b


                                 เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม
                                                 ่
                     เรื่องการแยกตัวประกอบ (สาม พจน์ สอง วงเล็บ)

 1.    x  1 x  2                         2.  x  3 x  6                      3.    x  4 x  6
 4.    x  3 x  2                         5.  x  1 x  4                      6.    x 17  x  5
 7.    2  x 1  x                         8.  2  x  7  x                     9.    x  4 x  1
10.    a  b  a  3b                       11.  ab 1 ab  5                   12.    x  2 2x  3
13.    x 1 4 x  9                        14.  x  33x 1                     15.    2 x  1 4 x  3
16.   2  2 x  1 x  4                     17.  2 x  1 3x  2                 18.   3x  23x  1
19.   2  4  x 1  x                       20.  2  x 1  3x 



                                                     32
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                  เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม
                                                  ่
                        เรื่องการแยกตัวประกอบ (กาลังสองสมบูรณ์)

 1.  x  2 2                           2.  x  52                               3.  x  32
                                                                                                    2
                                                                                         1     
 4. 2  x  2    2
                                         5. 4  x  1   2
                                                                                    6.    x  1
                                                                                         2     
 7.   14x                               8.   4 5x                                 9.   100 y 2
        x
10.   
        3


                                   เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม
                                                   ่
                         เรื่องการแยกตัวประกอบ (ผลต่างกาลังสอง)
 1.  x  3 x  3                                          2.  x  5 x  5
 3.  x  3  x        3                                   4.  2b 1 2b  1
 5.  xy  3 xy  3                                        6. x  x 1 x  1
 7.  x  3 x  3  x 2  9                               8. a  a 2b 2  3 a 2b 2  3
 9.  x  y  1 x  y                                      10.  7 z  9 7 z  9


                                  เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม
                                                  ่
                        เรื่องการแยกตัวประกอบ (กาลังสามสมบูรณ์)

 1.  x  13                                                 2.  2 x  13
                  3
           1
 3.    2x                                                  4. 2  x  13
           2
                                                                                3
                                                                      2    
 5. 1  3x 3                                                6.   x     y
                                                                      3    
 7.  3x  5 y 3                                             8.   4
 9. 4 x 2  4 x  1                                          10.   x3




                                                        33
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                             เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม
                                             ่
           เรื่องการแยกตัวประกอบ (ผลต่างกาลังสามและผลบวกกาลังสาม)

 1.    a  1  a 2  a  1                                    2.    a  1  a 2  a  1
 3.    b  3  b 2  3b  9                                   4.    b  2   b 2  2b  4 
 5.    ab  3  a 2b 2  3ab  9                              6.    x  4 y   x 2  4 xy  16 y 2 
 7.   8 1  5 x 2 1  5 x 2  25 x 4                         8.   8  x  5   x 2  5 x  25 
 9.   y   2
                9  y 4  9 y 2  81                         10.    2 x  3 y   4 x 2  6 xy  9 y 2 


                                             เฉลยแบบฝึกหัดระคน
 1.    x  1 x  4
 2.    a  2 a  2 a  3
 3.    x  y   x2  y 2 
 4.    x  y  2x  2 y 1 2x  2 y  1
 5.    a  b  3   a  b   3  a  b   9 
                              2



 6.    x  2  x2  2 x  4
                  2



 7.    x  43x  3
 8.   4  5x  y  3x  3 y 
 9.   4  x  2  x  5
10.    a  2b  4 a  2b 
11.   2                 12. 3                          13. 4                    14. 1                      15. 3
16.   3                 17. 2                          18. 3                    19. 4                      20. 2




                                                           34
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




       รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์
                  จานวน 92 ตอน




                                     35
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                          สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                             รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน

                 เรื่อง                                                              ตอน
เซต                                      บทนา เรื่อง เซต
                                         ความหมายของเซต
                                         เซตกาลังและการดาเนินการบนเซต
                                         เอกลักษณ์ของการดาเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
                                         สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์                บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์
                                         การให้เหตุผล
                                         ประพจน์และการสมมูล
                                         สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
                                         ประโยคเปิดและวลีบงปริมาณ
                                                             ่
                                         สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย
                                         สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
จานวนจริง                                บทนา เรื่อง จานวนจริง
                                         สมบัติของจานวนจริง
                                         การแยกตัวประกอบ
                                         ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                         สมการพหุนาม
                                         อสมการ
                                         เทคนิคการแก้อสมการ
                                         ค่าสัมบูรณ์
                                         การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
                                         กราฟค่าสัมบูรณ์
                                         สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจานวน
                                         สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                         สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น                      บทนา เรื่อง ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น
                                         การหารลงตัวและจานวนเฉพาะ
                                         (การหารลงตัวและตัววคูณร่วมมาก)
                                         ตัวหารร่วมมากและตั หารร่ มน้อย
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน                  บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
                                         ความสัมพันธ์




                                                                  36
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                   เรื่อง                                                               ตอน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน                       โดเมนและเรนจ์
                                              อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
                                              ฟังก์ชันเบื้องต้น
                                              พีชคณิตของฟังก์ชัน
                                              อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
                                              ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
          ้                                   บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                                              เลขยกกาลัง
                                              ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                                                        ้
                                              ลอการิทึม
                                              อสมการเลขชี้กาลัง
                                              อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                    บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                              อัตราส่วนตรีโกณมิติ
                                              เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหน่วย
                                              ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1
                                              ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2
                                              ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3
                                              กฎของไซน์และโคไซน์
                                              กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                                              ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
                                              สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึงหน่วย
                                                                                  ่
                                              สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                                              สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และกฎของโคไซน์
กาหนดการเชิงเส้น                              บทนา เรื่อง กาหนดการเชิงเส้น
                                              การสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
                                              การหาค่าสุดขีด
ลาดับและอนุกรม                                บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม
                                              ลาดับ
                                              การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                              ลิมิตของลาดับ
                                              ผลบวกย่อย
                                              อนุกรม
                                              ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม




                                                                  37
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                          สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



                 เรื่อง                                                              ตอน
การนับและความน่าจะเป็น                      บทนา เรื่อง การนับและความน่าจะเป็น
                     .                      การนับเบื้องต้น
                                            การเรียงสับเปลี่ยน
                                            การจัดหมู่
                                            ทฤษฎีบททวินาม
                                            การทดลองสุ่ม
                                            ความน่าจะเป็น 1
                                            ความน่าจะเป็น 2
สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล                  บทนา เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
                                            บทนา เนื้อหา
                                            แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1
                                            แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2
                                            แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3
                                            การกระจายของข้อมูล
                                            การกระจายสัมบูรณ์ 1
                                            การกระจายสัมบูรณ์ 2
                                            การกระจายสัมบูรณ์ 3
                                            การกระจายสัมพัทธ์
                                            คะแนนมาตรฐาน
                                            ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1
                                            ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2
                                            โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1
                                            โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2
โครงงานคณิตศาสตร์                           การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                            ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                            การถอดรากที่สาม
                                            เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
                                            กระเบื้องที่ยืดหดได้




                                                                   38

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังหลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังkroojaja
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...sornordon
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1ยัยบ๊อง จอมแสบ
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังหลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 

Viewers also liked

แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
133490081225383
133490081225383133490081225383
133490081225383SenSei Ka
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newแบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newKrukomnuan
 
เอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯเอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯkrupatcharin
 
การแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบการแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบJiraprapa Suwannajak
 

Viewers also liked (20)

แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
ข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนามข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนาม
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
Add m2-2-chapter1
Add m2-2-chapter1Add m2-2-chapter1
Add m2-2-chapter1
 
25 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
25 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์25 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
25 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
 
23 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจำนวน
23 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจำนวน23 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจำนวน
23 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจำนวน
 
133490081225383
133490081225383133490081225383
133490081225383
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newแบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
เอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯเอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯ
 
การแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบการแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบ
 

Similar to 15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ

Similar to 15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ (20)

41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
 
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
 
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
 
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์280 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
 
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
 
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
 
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
 
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์179 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
 
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ348 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
Limit
LimitLimit
Limit
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 

15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ

  • 1. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนจริง (เนื้อหาตอนที่ 2) การแยกตัวประกอบ โดย ศาสตราจารย์ ดร.กฤษณะ เนียมมณี สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง จานวนจริง สื่อการสอน เรื่อง จานวนจริง มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 17 ตอน ซึ่งประกอบด้วย 1. บทนา เรื่อง จานวนจริง 2. เนื้อหาตอนที่ 1 สมบัติของจานวนจริง - ระบบจานวนจริง - สมบัติพื้นฐานของระบบจานวนจริง 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การแยกตัวประกอบ - การแยกตัวประกอบ 4. เนื้อหาตอนที่ 3 ทฤษฎีบทตัวประกอบ - ทฤษฎีบทเศษเหลือ - ทฤษฎีบทตัวประกอบ 5. เนื้อหาตอนที่ 4 สมการพหุนาม - สมการพหุนามกาลังหนึ่ง - สมการพหุนามกาลังสอง - สมการพหุนามกาลังสูง - การประยุกต์สมการพหุนาม 6. เนื้อหาตอนที่ 5 อสมการ - เส้นจานวนและช่วง - อสมการที่เกี่ยวข้องกับพหุนามกาลังหนึ่ง - อสมการที่เกี่ยวข้องกับพหุนามกาลังสูง 7. เนื้อหาตอนที่ 6 เทคนิคการแก้อสมการ - อสมการในรูปเศษส่วน - การแก้อสมการโดยวิธีการยกกาลังสอง - การแก้อสมการโดยการแทนค่าตัวแปร - การประยุกต์โจทย์การแก้อสมการ 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ค่าสัมบูรณ์ - ค่าสัมบูรณ์ - สมการค่าสัมบูรณ์ 1
  • 3. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9. เนื้อหาตอนที่ 8 การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์ - อสมการค่าสัมบูรณ์ - โจทย์ประยุกต์อสมการค่าสัมบูรณ์ 10. เนื้อหาตอนที่ 9 กราฟค่าสัมบูรณ์ - กราฟค่าสัมบูรณ์ 11. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1) 12. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2) 13. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 3) 14. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง) 15. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง ช่วงบนเส้นจานวน 16. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม (กาลังไม่เกินสี่) 17. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กราฟค่าสัมบูรณ์ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนสาหรับ ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนจริง นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของ คู่มือฉบับนี้ 2
  • 4. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง จานวนจริง (การแยกตัวประกอบ) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 2 (2/9) หัวข้อย่อย 1. การแยกตัวประกอบโดยวิธีการดึงตัวร่วม 2. การแยกตัวประกอบโดยวิธีสามพจน์สองวงเล็บ 3. การแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสมบูรณ์ 4. การแยกตัวประกอบโดยวิธีผลต่างกาลังสอง 5. การแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสามสมบูรณ์ 6. การแยกตัวประกอบโดยวิธีผลต่างกาลังสามและผลบวกกาลังสาม จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน 1. ได้ทบทวนการแยกตัวประกอบโดยวิธีการดึงตัวร่วม 2. ได้ทบทวนการแยกตัวประกอบโดยวิธีสามพจน์สองวงเล็บ 3. ได้ทบทวนการแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสมบูรณ์ 4. ได้ทบทวนการแยกตัวประกอบโดยวิธีผลต่างกาลังสอง 5. ได้ทบทวนการแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสามสมบูรณ์ 6. ได้ทบทวนการแยกตัวประกอบโดยวิธีผลต่างกาลังสามและผลบวกกาลังสาม 7. สามารถเลือกวิธีการแยกตัวประกอบที่เหมาะสม ในการแยกตัวประกอบพหุนาม ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ผู้เรียนสามารถ 1. แยกตัวประกอบโดยวิธีการดึงตัวร่วมได้ 2. แยกตัวประกอบโดยวิธีสามพจน์สองวงเล็บได้ 3. แยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสมบูรณ์ได้ 4. แยกตัวประกอบโดยวิธีผลต่างกาลังสองได้ 5. แยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสามสมบูรณ์ได้ 6. แยกตัวประกอบโดยวิธีผลต่างกาลังสามและผลบวกกาลังสามได้ 7. เลือกวิธีการแยกตัวประกอบที่เหมาะสม และนาไปใช้ในวิธีการนั้นในการแยกตัวประกอบพหุนามได้ 3
  • 5. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 4
  • 6. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. การแยกตัวประกอบโดยวิธีดึงตัวร่วม 5
  • 7. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. การแยกตัวประกอบโดยวิธดึงตัวร่วม ี ในสื่อตอนนี้ ผู้เรียนจะได้ทบทวนวิธีการแยกตัวประกอบโดยวิธีการดึงตัวร่วม ที่ผู้เรียนควรจะรู้มาก่อนที่ จะเริ่มเรียนวิธีการแยกตัวประกอบโดยทฤษฎีบทแยกตัวประกอบ แต่ก่อนอื่นผู้สอนควรทบทวนผู้เรียนให้ทราบความหมายของพหุนาม และความสาคัญของการแยกตัว ประกอบเสียก่อน หลังจากชมสื่อแล้ว ผู้สอนอาจยกตัวอย่างต่อไปนี้เพิ่มเติม ตัวอย่าง กาหนดให้ f  x   x4  5x2  5x  1 จงหา 1. f  1 2. f  3  f 1 วิธีทา 1. f  1   1  5  1  5  1  1  12 4 2 2. f  3  f 1  34  5  3  5  3  1  14  5 1  5 1  1 2 4      112  2 #  110 6
  • 8. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่าง จงหาค่า x ที่สอดคล้องกับสมการ  x  1 x  2  0 วิธีทา จาก  x  1 x  2  0 จะได้ว่า x  1  0 หรือ x  2  0 x  1 หรือ x  2 # ต่อไปผู้เรียนจะได้ทบทวนวิธีการแยกตัวประกอบโดยวิธีดึงตัวร่วม ผู้สอนอาจยกตัวอย่างต่อไปนี้เพิ่มเติม ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1. a  x  y   b  x  y  2. 32 x  64 x 2 y  8xy 2 7
  • 9. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิธีทา 1. a  x  y   b  x  y    a  b  x  y  2. 32 x  64 x 2 y  8 xy 2  8 x  4  8 xy  y 2  # ตัวอย่าง จงทาให้เป็นรูปอย่างง่าย 12 x 2 y 2  36 xy 2 1. 6 xy 2 x y  2 xy 2 3 2. 3x3  3xy วิธีทา 12 x 2 y 2  36 xy 2 12 xy  xy  3 y  1.   2  xy  3 y  6 xy 6 xy 2 x3 y  2 xy 2 2 xy  x  y  2 2y 2.   # 3 x3  3xy 3x  x 2  y  3 แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง การแยกตัวประกอบ (การดึงตัวร่วม) จงแยกตัวประกอบต่อไปนี้ 1. x 2  2 x 2. 3x 2  2 x 3. 4 x3  2 x 2 4. y2  8 y 5. 3x3  6 x 2  9 x 6. 8 x 2 y  2 xy 2 7. 14 x3 y  7 xy3 8. 3xyz 2  6 x 2 yz 9. 5xy 2 z  x2 yz  xy 2 z 10. 5 x 2 y 2 z 2  10 x3 y 2 z 3  15x 4 y 3 z 2 8
  • 10. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อไปจะเป็นเทคนิคการแยกตัวประกอบโดยวิธีดึงตัวร่วมของพหุนามที่มีสี่พจน์ แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่องการแยกตัวประกอบ (สี่ พจน์ สอง วงเล็บ) จงแยกตัวประกอบ 1.  a  b  c   a  b  d 2. x2  a  b   2  a  b  3. 5  a  b    a  b  c 4. a 2  2ab  ac  2bc 5. x 2  ax  5 x  5a 6. x 2  2 x  xy  2 y 7. x 4  x3  2 x  2 8. 4 x 4  x3  8 x  2 9. x3  x 2  x  1 10. a 2  ab  ac  bc 9
  • 11. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. การแยกตัวประกอบโดยวิธีสามพจน์สองวงเล็บ 10
  • 12. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. การแยกตัวประกอบโดยวิธีสามพจน์สองวงเล็บ ในหัวข้อนี้ เราจะทบทวนเทคนิคการแยกตัวประกอบที่เรียกว่า สามพจน์สองวงเล็บ ผู้สอนควรทบทวนการแยกตัวประกอบแบบ สามพจน์สองวงเล็บ ในกรณีที่สัมประสิทธ์ของ x 2 ไม่ใช่ 1 ด้วย ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบต่อไปนี้ 1. 2 x 2  3x  1 2. 6 x 2  7 x  3 3. 6  7 x  3x 2 วิธีทา 1. 2 x2  3x  1   2 x  1 x  1 2. 6 x2  7 x  3   2 x  3 3x  1 3. 6  7 x  3x2   2  3x 3  x  # แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่องการแยกตัวประกอบ (สามพจน์สองวงเล็บ) จงแยกตัวประกอบ 1. x 2  3x  2 2. x 2  9 x  18 3. x 2  10 x  24 4. x2  x  6 11
  • 13. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5. x 2  3x  4 6. x 2  12 x  85 7. 2  x  x2 8. 14  5x  x 2 9. x 2  3x  4 10. a 2  4ab  3b 2 11. a 2b 2  4ab  5 12. 2 x2  x  6 13. 4 x2  5x  9 14. 3 x 2  10 x  3 15. 8x2  2 x  3 16. 4 x 2  18 x  8 17. 6x2  7 x  2 18. 9 x 2  3x  2 19. 8  6x  2x2 20. 2  5 x  3x 2 12
  • 14. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. การแยกตัวประกอบโดยวิธกาลังสองสมบูรณ์ ี 13
  • 15. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. การแยกตัวประกอบ โดยวิธีกาลังสองสมบูรณ์ ในหัวข้อนี้ ผู้เรียนจะได้ทบทวนเทคนิคการแยกตัวประกอบโดยวิธี กาลังสองสมบูรณ์ ผู้สอนอาจยกตัวอย่างต่อไปนี้ เพื่อให้ผู้เรียนเห็นถึงการประยุกต์ใช้สูตรกาลังสองสมบูรณ์ 1 1 ตัวอย่าง กาหนดให้ x 2 แล้ว x2  มีค่าเท่ากับเท่าไร x x2 1 วิธีทา เนื่องจาก x 2 x 2 ดังนั้น  x  1   22    x 1 x2  2  2  4 x 1 x2  2  2 # x ตัวอย่าง จงเติมพจน์ใน เพื่อทาให้พหุนามที่กาหนดสามารถจัดรูปกาลังสองสมบูรณ์ได้ 1. x2  3x  2. 4 x2  2 x  3. x2  16 4. 9 x2  16 x  1 5. x  4 เฉลย 64 1. 9 2. 1 3. 8x 4. 5. x 2 4 4 9 14
  • 16. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิธีทา 1. จาก  น+ ล = น2 + 2นล+ ล2  x 2  3x  2 จะเห็นได้ว่า น = x และ 2นล = 3x 2 xล = 3x ล= 3 2 9 ดังนั้น ล 2  # 4 ตัวอย่าง จงหาค่าของ 42 3 เนื่องจาก   2 วิธีทา 3 1  4  2 3 ดังนั้น 4  2 3  3 1 # ตัวอย่าง จงหาค่าของ 9  2 18 เนื่องจาก   2 วิธีทา 6 3  9  2 18 ดังนั้น 9  2 18  6  3 # แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่องการแยกตัวประกอบ (กาลังสองสมบูรณ์) จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1. x 2  4 x  4 2. x 2  10 x  25 3. x2  6 x  9 4. 2 x 2  8 x  8 5. 4 x 2  8 x  4 6. 1 x 2  x  1 4 7-10 จงเติมพจน์ใน เพื่อทาให้พหุนามต่อไปนี้ สามารถจัดให้อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์ได้ 7. x 2  49 8. 4 x 2  5 9.  80 y  16 1 2 1 10. x   4 9 15
  • 17. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. การแยกตัวประกอบโดยวิธผลต่างกาลังสอง ี 16
  • 18. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. การแยกตัวประกอบ โดยวิธีผลต่างกาลังสอง ในข้อนี้ผู้เรียนจะได้นาสูตรของผลต่างกาลังสอง มาช่วยในการแยกตัวประกอบ การพิสูจน์สูตร a 2  b2   a  b  a  b  พิสูจน์  a  b  a  b   a2  ab  ba  b2  a 2  b2 ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1. x 4  1 2. x 4  x 2 วิธีทา 1. x 4  1   x 2  1 x 2  1   x  1 x  1  x 2  1 2. x 4  x 2  x 2  x 2  1  x 2  x  1 x  1 # ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1. x2  y 2  x  y 2. 500 a 2b  20b3 17
  • 19. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิธีทา 1. x2  y 2  x  y   x2  y 2    x  y    x  y  x  y    x  y    x  y  x  y  1 2.  500 a 2b  20b3  20b 25a  b 2 2   20b  5a  b  5a  b  # แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่องการแยกตัวประกอบ (ผลต่างกาลังสอง) จงแยกตัวประกอบ 1. x 2  9 2. x 2  25 3. x 2  3 4. 4b 2  1 5. x2 y 2  9 6. x3  x 7. x 4  81 8. a 5b 4  9 a 9.  x 2  y 2    x  y  10. 49 z 2  81 18
  • 20. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5. การแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสามสมบูรณ์ 19
  • 21. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5. การแยกตัวประกอบโดยวิธีกาลังสามสมบูรณ์ ในหัวข้อนี้ ผู้เรียนจะได้ศึกษาการนาสูตร กาลังสามสมบูรณ์ มาช่วยในการแยกตัวประกอบ 1 1 ตัวอย่าง กาหนดให้ x  1 แล้ว x 3  3 มีค่าเท่ากับเท่าไร x x วิธีทา เนื่องจาก 3  1  x   1 3  x 2 1 1 1  3   x  3   x 2  x3  1 x x 3 x 1 3 3   3x  x3  1 x x 1 1   3   x   x3  1 x  3 x 1 3  3  x3  1 x 1 ดังนั้น x 3  3  2 # x ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 1. 8x3  12 x2 y  6 xy 2  y3 2. x3  6 x2 y  12 xy 2  8 y3 วิธีทา 1. 8 x3  12 x 2 y  6 xy 2  y 3   2 x   3  2 x  y  3  2 x  y 2  y 3 3 2   2x  y  3 20
  • 22. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. x3  6 x 2 y  12 xy 2  8 y 3  x3  3  x 2   2 y   3x  2 y    2 y  2 3   x  2y 3 # แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่องการแยกตัวประกอบ (กาลังสามสมบูรณ์) 1-7 จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1. x3  3x 2  3x  1 2. 8 x3  12 x 2  6 x  1 3. 8 x3  6 x 2  3 x  1 2 8 4. 2x  6x  6x  2 3 2 5. 1  9 x  27 x 2  27 x 3 4 8 3 6. x3  2 x 2 y  xy 2  y 3 27 7. 27 x3  135 x 2 y  225 y 2  125 y 3 8. กาหนดให้ x  1  1 แล้ว x 3  13 มีค่าเท่ากับเท่าไร x x จงหาค่าของ 8 x  12 x  6 x  1 3 2 9. 2x 1 10. จงหาค่าของ  x  1  3  x  12  3  x  1  1 3 21
  • 23. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6. การแยกตัวประกอบ โดยวิธีผลบวกกาลังสาม และผลต่างกาลังสาม 22
  • 24. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6. การแยกตัวประกอบโดยวิธีผลบวกกาลังสาม และผลต่างกาลังสาม ในข้อนี้ ผู้เรียนจะได้ทบทวนการแยกตัวประกอบ โดยใช้สูตรผลบวกกาลังสาม และผลต่างกาลังสาม ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1. a3  b3  a  b 2. 128  x  y 3  2 วิธีทา 1. a 3  b3  a  b   a 3  b3    a  b    a  b   a 2  ab  b 2    a  b    a  b   a 2  ab  b 2  1 2. 3  128  x  y   2  2 64  x  y   1 3    2  4  x  y   1 16  x  y   4  x  y   1 2  # ตัวอย่าง จงหาค่าของ  x  1 3  1  x  1 3   x  1 3  1 1 2 1       วิธีทา เนื่องจาก น3 + ล3 =  น+ ล  น2  นล+ ล2  3   x  1 3  1  x  1 3   x  1 3  1    x  1 3   13   1 2 1 1 จะได้ว่า           x  1  1  x # 23
  • 25. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่องการแยกตัวประกอบ (ผลต่างกาลังสามและผลบวกกาลังสาม) จงแยกตัวประกอบ 1. a 3  1 2. a3  1 3. b3  27 4. b3  8 5. a 3b3  27 6. x3  64 y 3 7. 8  1000x 6 8. 8 x 3  1000 9. y 6  729 10. 8 x3  27 y 3 # 24
  • 27. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรุปสารสาคัญประจาตอน เมื่อผู้เรียนได้ทบทวนวิธีการแยกตัวประกอบทั้ง 6 วิธีแล้ว ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนทดลองทาแบบฝึกหัดระคน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 26
  • 28. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่าง จงทาให้อยู่ในรูปอย่างง่าย m2  m  12 m 2  m  6 1.  2 m3  64 m  4m  16 a  2a  24 a 2  a  12 2 2.  2 a 2  16 a  6a  9 วิธีทา m2  m  12 m2  m  6 m2  m  12 m 2  4m  16 1.  2   2 m3  64 m  4m  16 m3  64 m m6   m  4  m  3  m2  4m  16  m  4   m2  4m  16   m  3 m  2  1  m2 a 2  2a  24 a 2  a  12  a  6  a  4   a  4  a  3 2.  2   a 2  16 a  6a  9  a  4  a  4   a  3 2 a6  # a3 ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1. a 4  a 2b2  b 4 2. 6  x 1  x  วิธีทา 1. a 4  a 2 b 2  b 4   a 4  2a 2 b 2  b 4   a 2b 2   a 2  b 2    ab  2 2   a 2  ab  b 2  a 2  ab  b 2  2. 6  x 1  x   6  x  x2   3  x  2  x  # 27
  • 29. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 1 แบบฝึกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม 28
  • 30. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดระคน 1-10 จงแยกตัวประกอบของพหุนามดังต่อไปนี้ 1. x 2  5 x  4 2. a 3  3a 2  4a  12 3. x3  y3  xy 2  x2 y 4. 4  x  y 3   x  y  5.  a  b 3  27 6. x 4  2 x3  8 x  16 7. 3x 2  9 x  12 8. 16  2 x  y 2  4  x  y 2 9. 4 x 2  28 x  40 10. a 2  4b 2  4a  8b  4ab 11.  x  y 2  x  y  2 แยกตัวประกอบได้ตรงกับข้อใด 1.  x  y  2 x  y 1 2.  x  y  2 x  y  1 3.  x  y  2 x  y 1 4.  x  y  2 x  y 1 12. ข้อใดใช้สมบัติการกระจาย 1. x  2  2  x 2.  x  5  2  x  7 3. 2x  4 y  2  x  2 y  4. x   x  3  2x  3 13. ข้อใดไม่ถูกต้อง 1  a2 1.  1  a เมื่อ a  1 1 a 2. 3x2  9 x  3x   x  3 3. มี a และ b ที่ทาให้ a 2  b 2   a  b 2 4. a 2  b 2   a  b 2 ทุก a, b  14. ข้อใดไม่ใช่พหุนาม 1. x 2  x  x 1 2.  x  3 x  2 29
  • 31. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. 5 4. 3  x  1 15. 2x 1 เป็นตัวประกอบของพหุนามใด 1. 6 x 2  x  1 2. 6 x 2  5 x  4 3. 2 x 2  3x  1 4. x 2  x  6 1 1 16. กาหนดให้ x 4 แล้ว x2  มีค่าเท่ากับเท่าไร x x2 1. 4 2. 16 3. 18 4. ข้อมูลไม่พอ 17. ตัวประกอบของ x 4  2 x3  8 x  16 คือข้อใด 1.  x  2   x3  8  2.  x  22  x3  2 x  4 3.  x  22  x3  2 x  4 4.  x  2  x  2   x3  2 x  4  18.  a  b 3  3a2  a  b   a3  3a  a  b 2  มีค่าเท่ากับเท่าใด     1. 1 2. a 3 3. b3 4. a 3  b3 19. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง 1. 3  a  12  3  a  2 2  9  2a  1 2. 4x2 1   2x 1 2 x  1 3. a3  a 2  a  1   a  12  a  1 4. x2  2   x  2   x  1 1 1 20. กาหนดให้ xa แล้ว 3  x3 มีค่าเท่ากับข้อใด x x 1. a3 2. a 3  3a 3.   a 3  3a  4. a 3  3a 30
  • 32. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 2 เฉลยแบบฝึกหัด 31
  • 33. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม ่ เรื่องการแยกตัวประกอบ (การดึงตัวร่วม) 1. x  x  2  2. x  3x  2 3. 2 x2  2 x 1 4. y  y  8 5. 3x  x 2  2 x  3 6. 2 xy  4x  y  7. 7 xy  2 x 2  y 2  8. 3xyz  z  2x  9. xyz 5 y  x  y  10. 5 x 2 y 2 z 2 1  2 xz  3x 2 y  เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม ่ เรื่องการแยกตัวประกอบ (สี่ พจน์ สอง วงเล็บ) 1.  a  b  c  d  2.  x 2  2   a  b  3.  5  c  a  b  4.  a  2b  a  c  5.  x  5 x  a  6.  x  y  x  2 7.  x3  2   x  1 8.  x3  2   4 x  1 9.  x 2  1  x  1 10.  a  c  a  b เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม ่ เรื่องการแยกตัวประกอบ (สาม พจน์ สอง วงเล็บ) 1.  x  1 x  2 2.  x  3 x  6 3.  x  4 x  6 4.  x  3 x  2 5.  x  1 x  4 6.  x 17  x  5 7.  2  x 1  x  8.  2  x  7  x  9.  x  4 x  1 10.  a  b  a  3b  11.  ab 1 ab  5 12.  x  2 2x  3 13.  x 1 4 x  9 14.  x  33x 1 15.  2 x  1 4 x  3 16. 2  2 x  1 x  4 17.  2 x  1 3x  2 18. 3x  23x  1 19. 2  4  x 1  x  20.  2  x 1  3x  32
  • 34. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม ่ เรื่องการแยกตัวประกอบ (กาลังสองสมบูรณ์) 1.  x  2 2 2.  x  52 3.  x  32 2 1  4. 2  x  2  2 5. 4  x  1 2 6.  x  1 2  7. 14x 8. 4 5x 9. 100 y 2 x 10.  3 เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม ่ เรื่องการแยกตัวประกอบ (ผลต่างกาลังสอง) 1.  x  3 x  3 2.  x  5 x  5 3.  x  3  x  3  4.  2b 1 2b  1 5.  xy  3 xy  3 6. x  x 1 x  1 7.  x  3 x  3  x 2  9  8. a  a 2b 2  3 a 2b 2  3 9.  x  y  1 x  y  10.  7 z  9 7 z  9 เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม ่ เรื่องการแยกตัวประกอบ (กาลังสามสมบูรณ์) 1.  x  13 2.  2 x  13 3  1 3.  2x   4. 2  x  13  2 3  2  5. 1  3x 3 6. x y  3  7.  3x  5 y 3 8. 4 9. 4 x 2  4 x  1 10. x3 33
  • 35. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม ่ เรื่องการแยกตัวประกอบ (ผลต่างกาลังสามและผลบวกกาลังสาม) 1.  a  1  a 2  a  1 2.  a  1  a 2  a  1 3.  b  3  b 2  3b  9  4.  b  2   b 2  2b  4  5.  ab  3  a 2b 2  3ab  9  6.  x  4 y   x 2  4 xy  16 y 2  7. 8 1  5 x 2 1  5 x 2  25 x 4  8. 8  x  5   x 2  5 x  25  9. y 2  9  y 4  9 y 2  81 10.  2 x  3 y   4 x 2  6 xy  9 y 2  เฉลยแบบฝึกหัดระคน 1.  x  1 x  4 2.  a  2 a  2 a  3 3.  x  y   x2  y 2  4.  x  y  2x  2 y 1 2x  2 y  1 5.  a  b  3   a  b   3  a  b   9  2 6.  x  2  x2  2 x  4 2 7.  x  43x  3 8. 4  5x  y  3x  3 y  9. 4  x  2  x  5 10.  a  2b  4 a  2b  11. 2 12. 3 13. 4 14. 1 15. 3 16. 3 17. 2 18. 3 19. 4 20. 2 34
  • 36. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน 35
  • 37. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกาลังและการดาเนินการบนเซต เอกลักษณ์ของการดาเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ การให้เหตุผล ประพจน์และการสมมูล สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล ประโยคเปิดและวลีบงปริมาณ ่ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง จานวนจริง บทนา เรื่อง จานวนจริง สมบัติของจานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแก้อสมการ ค่าสัมบูรณ์ การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์ กราฟค่าสัมบูรณ์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจานวน สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์ ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น บทนา เรื่อง ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น การหารลงตัวและจานวนเฉพาะ (การหารลงตัวและตัววคูณร่วมมาก) ตัวหารร่วมมากและตั หารร่ มน้อย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ 36
  • 38. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน โดเมนและเรนจ์ อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน ฟังก์ชันเบื้องต้น พีชคณิตของฟังก์ชัน อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส ฟังก์ชันประกอบ ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม ้ บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม เลขยกกาลัง ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม ้ ลอการิทึม อสมการเลขชี้กาลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติ เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหน่วย ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซน์และโคไซน์ กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึงหน่วย ่ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และกฎของโคไซน์ กาหนดการเชิงเส้น บทนา เรื่อง กาหนดการเชิงเส้น การสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ การหาค่าสุดขีด ลาดับและอนุกรม บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม ลาดับ การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลาดับ ผลบวกย่อย อนุกรม ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม 37
  • 39. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความน่าจะเป็น บทนา เรื่อง การนับและความน่าจะเป็น . การนับเบื้องต้น การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู่ ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุ่ม ความน่าจะเป็น 1 ความน่าจะเป็น 2 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนา เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนา เนื้อหา แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3 การกระจายของข้อมูล การกระจายสัมบูรณ์ 1 การกระจายสัมบูรณ์ 2 การกระจายสัมบูรณ์ 3 การกระจายสัมพัทธ์ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1 ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร์ การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง กระเบื้องที่ยืดหดได้ 38