SlideShare a Scribd company logo
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธะเคมี สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
พัฒนาขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นชุดกิจกรรม
เสริมทักษะวิทยาศาสตร์ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับทั้ งความรู้ กระบวนการ และเจตคติ ซึ่งนักเรียน
สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทําเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
ตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสําคัญ ซึ่งตอบสนองพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะ
หาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนําความรู้ไปใช้
ในชีวิตประจําวัน ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรม และค่านิยมที่ถูกต้องเหมาะสม
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธะเคมี สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ประกอบด้วย ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ทั้งหมดจํานวน 7 เล่ม ชุดนี้ เป็นเล่ม 7 พันธะโลหะ
ใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา
ผู้เรียนและส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นส่วนสําคัญ
ในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ขอขอบพระคุณ
น ายสุ รชัย พัน โส รี ผู้อําน วยก ารโ รง เ รี ยน เ ด ชอุ ดม แล ะ คณะผู้เ ชี่ยว ช า ญ
ตล อดจ น ผู้มีส่ วน เ กี่ยวข้อง ทุก ท่าน ที่ตรวจส อบ ใ ห้ข้อเ ส นอแน ะใ นก ารปรับปรุง
เ พื่ อ ก า ร แ ก้ไ ข ชุ ด กิ จ ก ร ร ม เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์นี้ ใ ห้มี ค ว า ม ส ม บู ร ณ์
อันส่งผลให้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์นี้ มีประสิทธิภาพและสําเร็จลุล่วงได้ด้วยดี
ขอขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี้
เพ็ญพร ขจรกลิ่น
คำนำ
ก
ก
คำนำคํานํา
หน้ำ
คํานํา ก
สารบัญ ข
สารบัญรูป ค
คําชี้แจง 1
แผนผังแสดงขั้นตอนการเรียนรู้ 2
คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์สําหรับครู 3
คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์สําหรับนักเรียน 4
มาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 5
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) 7
ใบความรู้ 10
ลําดับแนวความคิดต่อเนื่อง 17
ใบกิจกรรมที่ 1 19
ใบกิจกรรมที่ 2 20
ใบกิจกรรมที่ 3 21
กิจกรรมตั๋วออก (Exit Ticket) 3-2-1 22
แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) 23
แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากชุดกิจกรรมเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 7 25
บรรณานุกรม 26
ภาคผนวก 27
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 28
เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 29
เฉลยใบกิจกรรมที่ 3 30
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 31
สำรบัญ
ข
หน้ำ
รูปที่ 1 เปรียบเทียบการเกิดพันธะเคมีชนิดต่างๆ (A) พันธะไอออนิก (B) พันธะโคเวเลนต์
(C) พันธะโลหะ
10
รูปที่ 2 แสดงแบบจําลองทะเลอิเล็กตรอน (electron-sea model) ของโลหะ 11
รูปที่ 3 พันธะโลหะในผลึกโซเดียม 1 อะตอม จะให้1 เวเลนซ์อิเล็กตรอนสร้างพันธะโลหะ 12
รูปที่ 4 เปรียบเทียบความแข็งแรงของพันธะโลหะ 13
รูปที่ 5 แสดงเส้นลวดโลหะที่ต่อกับขั้วลบ (แคโทด) และขั้วบวก (แอโนด) ของสนามไฟฟ้า
เวเลนซ์อิเล็กตรอนอิสระจะเคลื่อนที่เข้าหาขั้วบวก (แอโนด)
14
รูปที่ 6 แสดงแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนกับโลหะภายในก้อนโลหะ 14
รูปที่ 7 การเลื่อนไถลของอะตอมโลหะเมื่อถูกแรงกระทํา 15
รูปที่ 8 แสดงการเปรียบเทียบความแข็งแรงของพันธะเคมีจากมากไปน้อย 16
สำรบัญรูป
ค
สำรบัญ
หน้ำ
คํานํา ก
สารบัญ ข
สารบัญรูป ค
คําชี้แจง 1
แผนผังแสดงขั้นตอนการเรียนรู้ 2
คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์สําหรับครู 3
คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์สําหรับนักเรียน 4
มาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 5
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre - Test) 7
ใบความรู้ 11
ลําดับแนวความคิดต่อเนื่อง 17
ใบกิจกรรมที่ 1 19
ใบกิจกรรมที่ 2 20
ใบกิจกรรมที่ 3 21
กิจกรรมตั๋วออก (Exit Ticket) 3-2-1 22
แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากชุดกิจกรรมเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 7 23
แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) 25
บรรณานุกรม 26
ภาคผนวก 27
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 28
เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 29
เฉลยใบกิจกรรมที่ 3 30
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 31
ข
ค
1. ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธะเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประกอบด้วย
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ จํานวน 7 เล่ม ดังนี้
เล่ม 1 การเกิดพันธะโคเวเลนต์ การเขียนสูตร และการเรียกชื่อสารโคเวเลนต์
เล่ม 2 ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ
เล่ม 3 รูปร่างและสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
เล่ม 4 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
เล่ม 5 การเกิดพันธะไอออนิก การเขียนสูตร และการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
เล่ม 6 สมบัติและปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
เล่ม 7 พันธะโลหะ
2. ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธะเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 7 พันธะโลหะ
ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม 1 รหัสวิชา ว 30221 จํานวน 1 แผน
เวลา 2 ชั่วโมง
3. ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ชุดนี้ ประกอบด้วย
3.1 คําชี้แจง
3.2 แผนผังแสดงขั้นตอนการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์
3.3 คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์สําหรับครู
3.4 คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์สําหรับนักเรียน
3.5 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้
3.6 แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test)
3.7 ใบความรู้
3.8 ลําดับแนวความคิดต่อเนื่อง
3.9 ใบกิจกรรม
3.10 กิจกรรมตั๋วออก (Exit Ticket) 3-2-1
3.11 แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test)
3.12 บรรณานุกรม
3.13 เฉลยใบกิจกรรม
3.14 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
4. ผู้ใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์นี้ ควรศึกษาคําแนะนําในการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะ
วิทยาศาสตร์
1
คำชี้แจง
21
แผนผังแสดงขั้นตอนกำรเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรม
เสริมทักษะวิทยำศำสตร์ เรื่องพันธะเคมี
1.
อ่านคําชี้แจง/คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศ
าสตร์
2.
ศึกษาชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์โดยปฏิบัติกิจก
รรม
- ทําแบบทดสอบก่อนเรียน
- ศึกษาใบความรู้
- ศึกษาลําดับแนวความคิดต่อเนื่องภายในเล่ม
- ทําใบกิจกรรม
- ทํากิจกรรมตั๋วออก (Exit Ticket) 3-2-1
- ทําแบบทดสอบหลังเรียน
3. ตรวจสอบคําตอบแบบทดสอบก่อนเรียน–หลังเรียน
และใบกิจกรรม
4. ศึกษาชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์เล่มต่อไป
ไม่ผ่ำนเกณฑ์
กำรประเมินผล
ผ่ำนเกณฑ์
2
ต่ำกว่ำ 80%
80% ขึ้นไป
3
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์เรื่องพันธะเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เล่ม 7 พันธะโลหะ มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยให้การดําเนินกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้
และมีประสิทธิภาพ ผู้สอนควรเตรียมความพร้อมและปฏิบัติตามคําแนะนํา ดังต่อไปนี้
1. ศึ ก ษ า ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ กี่ ย ว กั บ แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ เ นื้ อ ห า ที่ ส อ น
เอกสารชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์และคําชี้แจงต่างๆ ให้เข้าใจก่อนดําเนินกิจกรรมการเรียนรู้
2. เตรียมสื่ออุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้พร้อมและครบจํานวนนักเรียนในชั้นเรียน
แต่ละกลุ่ม
3. เมื่อมีกิจกรรมกลุ่มให้แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน จํานวนกลุ่มขึ้ นอยู่กับนักเรียน
ในชั้นเรียน โดยคละนักเรียนเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน ให้มีการเลือกประธาน และเลขานุการกลุ่ม
แล้วแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบแก่สมาชิกในกลุ่ม
4. ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครูควรชี้ แจงให้นักเรียนเข้าใจบทบาทของตนเอง แนะนําขั้นตอนการใช้
ชุ ด กิ จ ก ร ร ม เ ส ริ ม ทั ก ษ ะวิ ท ย า ศ า ส ต ร์แ น ว ป ฏิ บัติ ใ น ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ดํา เ นิ น กิจ ก รรม
การเรียนรู้แล้วจึงให้ทําแบบทดสอบก่อนเรียน
5. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูคอยให้ความช่วยเหลือ แนะนํา และกระตุ้นให้นักเรียนทํากิจกรรม
อย่างกระตือรือร้น และตอบข้อสงสัยต่าง ๆ ระหว่างเรียน พร้อมทั้งสังเกตแล ะประเ มิน
พฤติกรรมการทํางานของนักเรียน
6. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครบถ้วน ให้นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน แล้วนําผลทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียนแจ้งให้นักเรียนทราบความก้าวหน้าทางการเรียน
7. การวัดและประเมินผล ประเมินจากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน สังเกตพฤติกรรม
การปฏิบัติงานกลุ่ม ประเมินผลการปฏิบัติงาน ตรวจใบกิจกรรม
8. เ มื่ อ สิ้ น สุ ด ก า ร ป ฏิ บัติ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ค รู ใ ห้นั ก เ รี ย น ร่ ว ม ต ร ว จ ส อ บ
เก็บชุดกิจกรรมเส ริมทักษะวิท ยาศาสตร์ก ารเรียน รู้วัสดุสิ่งข อง และอุปกรณ์ให้เรียบร้อ ย
เพื่อสะดวกในการใช้ครั้งต่อไป
คำแนะนำกำรใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยำศำสตร์สำหรับครู
3
5
การเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์เรื่องพันธะเคมีมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 7
พันธะโลหะ ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนด้วยความซื่อสัตย์และตั้งใจ ดังนี้
1. ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์เล่ม 7 พันธะโลหะ ใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
2. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน โดยคละความสามารถนักเรียนในกลุ่มเป็นเก่ง ปานกลาง และอ่อน
3. อ่านคําชี้ แจง คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ขั้นตอนการเรียนโดยใช้
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ให้เข้าใจก่อนลงมือศึกษาชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์
4. ศึกษาสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ผลการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้
5. ทําแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์เล่ม 7 พันธะโลหะ
จํานวน 10 ข้อ เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐาน บันทึกผลคะแนนที่ได้
6. ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนในชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์
7. เ มื่ อ ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ เ ส ร็ จ เ รี ย บ ร้ อ ย แ ล้ ว
ให้ตรวจสอบคําตอบได้จากเฉลยใบกิจกรรมในภาคผนวกท้ายเล่ม
8. ทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์เล่ม 7 พันธะโลหะ
จํานวน 10 ข้อ
9. ตรวจคําตอบจากเ ฉล ยแบบทดส อบหลังเรียน (Post-Test) พร้อมบันทึกผลคะแน น ที่ ได้
แล้วเปรียบเทียบกับคะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเ รียน
ซึ่งนักเรียนต้องทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) ได้ร้อยละ 80 ขึ้ นไปจึงจะผ่านเกณฑ์
ถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ตามที่กําหนด ให้ทบทวนเนื้ อหา แล้วให้ทําแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง
หากผ่านเกณฑ์ ให้ทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เรื่องพันธะเคมี จํานวน 30 ข้อ ต่อไป
1. หากมีข้อสงสัยให้ขอคําอธิบายหรือถามครูผู้สอน เพื่อร่วมกันสรุปข้อสงสัยนั้นๆ
2. เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยจนกว่านักเรียน
จะทํากิจกรรมเสร็จเรียบร้อย เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเรียน
คำแนะนำกำรใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน
ข้อควรปฏิบัติ
4
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
สำระที่ 3 สำรและสมบัติของสำร
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง
และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
สำระกำรเรียนรู้
- การเกิดพันธะโลหะ
- สมบัติของโลหะ
ผลกำรเรียนรู้
สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย เกี่ยวกับการเกิดพันธะไอออนิก และโครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
เมื่อนักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธะเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 7
พันธะโลหะ แล้วนักเรียนสามารถ
1. ด้ำนควำมรู้ (Knowledge : K)
อธิบายการเกิดพันธะโลหะและบอกสมบัติของโลหะได้
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ ผลกำรเรียนรู้ และจุดประสงค์กำรเรียนรู้
5
2. ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (Process : P)
2.1 การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
2.2 การแก้ปัญหา
2.3 การสื่อสาร
2.4 การนําความรู้ไปใช้
2.5 ทักษะการทํางานกลุ่ม
3. ด้ำนคุณลักษณะ (Attitude : A)
3.1 ซื่อสัตย์สุจริต
3.2 มีวินัย
3.3 ใฝ่ เรียนรู้
3.4 มุ่งมั่นในการทํางาน
3.5 ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์
6
คำชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัยมีทั้งหมด 10 ข้อ 10 คะแนน เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับตัวอักษร ก ข ค ง ที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
ลงในกระดาษคําตอบ
1. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับโลหะ
ก. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวตํ่า
ข. โลหะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ
ค. อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้ไม่ดี
ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะสามารถเลื่อนไถลไม่ได้
2. โลหะเป็นตัวนําไฟฟ้าที่ดีเพราะเหตุใด
ก. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ง่าย
ข. เวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งหมดในก้อนโลหะยึดอะตอมไว้อย่างเหนียวแน่น
ค. มีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันในอะตอมที่อยู่ติดกัน
ง. อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง
3. โลหะสามารถตีแผ่เป็นแผ่นบางๆ ได้เพราะเหตุใด
ก. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ง่าย
ข. เวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งหมดในก้อนโลหะยึดอะตอมไว้อย่างเหนียวแน่น
ค. มีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันในอะตอมที่อยู่ติดกัน
ง. อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง
4. โลหะมีผิวเป็นมันวาว ข้อใดเป็นการอธิบายสมบัติข้อนี้ ของโลหะได้ถูกต้อง
ก. เพราะพันธะโลหะเกิดจากกลุ่มไอออนบวกกับกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนดึงดูดกัน
ข. เพราะกลุ่มไอออนบวกในก้อนโลหะมีการจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบมีโครงสร้างที่แน่นอน
ค. เพราะไอออนบวกในก้อนโลหะแต่ละไอออนอยู่ในสภาพเหมือนๆ
กันและได้รับแรงดึงดูดจากประจุลบเท่ากัน
ง. เพราะกลุ่มอิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) เล่ม 7 พันธะโลหะ
7
9
5. ทฤษฎีใดที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับพันธะโลหะ
ก. แบบจําลองทะเลอิเล็กตรอน ข. ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ค. กฎรวมก๊าซ ง. ทฤษฎีการชน
6. ข้อใดเรียงลําดับความแข็งแรงของพันธะโลหะจากมากไปน้อยได้ถูกต้อง
ก. Mg > Na > K > Al ข. Na > K > Al > Mg
ค. Al > Mg > Na > K ง. K > Na > Mg > Al
7. พันธะและแรงระหว่างโมเลกุลใด ที่แข็งแรงมาก แล้วทําให้สารมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง
ก. พันธะโคเวเลนต์ ข. พันธะไฮโดรเจน
ค. พันธะโลหะ ง. พันธะไอออนิก
8. ธาตุใดมีความเป็นโลหะมากที่สุด
ก. โซเดียม (Na) ข. คลอรีน (Cl)
ค. คาร์บอน (C) ง. ซิลิคอน (Si)
9. สมบัติของพันธะโลหะ ข้อใดผิด
ก. โลหะสามารถตีแผ่เป็นแผ่นบางๆ ได้
ข. โลหะมีสมบัติบางประการคล้ายกับสารประกอบไอออนิก เช่น นําไฟฟ้าได้ดี
ค. การนําความร้อนของโลหะเกิดได้โดยการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ
ง. ในโลหะไอออนบวกจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบและมีทะเลอิเล็กตรอนอิสระ
10. พันธะโลหะ (Metallic Bond) เป็นพันธะที่เกิดขึ้นกับอะไร
ก. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของแข็งซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันแน่นมาก อะตอมก็จะอยู่ไกลกันมาก
ข. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของเหลวซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันแน่นมาก อะตอมก็จะอยู่ใกล้กันมาก
ค. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของแข็งซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันแน่นมาก อะตอมก็จะอยู่ใกล้กันมาก
ง. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของแข็งซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันบางเบามาก อะตอมก็จะอยู่ใกล้กันมาก
8
109
11
พันธะโลหะ (Metallic bonding) เกิดกับธาตุที่มีสมบัติเป็นโลหะ ซึ่งมีค่า IE1 (first ionization
energy) ตํ่า จึ ง เ สี ย อิ เ ล็ ก ต ร อ น ไ ด้ง่ า ย ทํ า ใ ห้โ ล ห ะ อ ยู่ ร ว ม กัน เ ป็ น ไ อ อ อ น บ ว ก
มี เ ว เ ล น ซ์ อิ เ ล็ ก ต ร อ น ข อ ง ทุ ก อ ะ ต อ ม เ ค ลื่ อ น ที่ ไ ด้ อ ย่ า ง อิ ส ร ะ ทุ ก ทิ ศ ท า ง
ข ณ ะ ที่ เ ค ลื่ อ น ที่ จ ะ ส่ ง แ ร ง ไ ป ดึ ง ดู ด นิ ว เ ค ลี ย ส ไ ว้
เ กิดแรง ยึดเ ห นี่ ยวที่แข็งแรงระห ว่างไอออน บวก ของ โลหะกับก ลุ่มเ วเล นซ์อิเ ล็ก ตรอน
ซึ่งทําให้โลหะมีสมบัตินําไฟฟ้าได้ทุกทิศทาง มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง ผิวเป็ นมันวาว
และสามารถยืดเป็นเส้นหรือทุบให้เป็นแผ่นบางๆ ได้ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
2554 : 125)
รูปที่ 1 เปรียบเทียบการเกิดพันธะเคมีชนิดต่างๆ (A) พันธะไอออนิก (B) พันธะโคเวเลนต์ (C) พันธะโลหะ
ที่มา : Silberberg (2006 : 330)
Electron
transfer
Electron
sharing
Electron
pooling
Electron
“sea”
A Ionicbonding B Covalentbonding C Metallicbonding
ใบควำมรู้ เรื่องพันธะโลหะ
10
12
จ า ก รู ป ที่ 1 เ มื่ อ เ ป รี ย บ เ ที ย บ ก า ร เ กิ ด พั น ธ ะ เ ค มี ช นิ ด ต่ า ง ๆ
จะเห็นว่าพันธะไอออนิกจะเกิดจากการที่โลหะให้อิเล็กตรอนกับธาตุอโลหะเกิดแรงดึงดูดระหว่างไอออน
พั น ธ ะ โ ค เ ว เ ล น ต์ เ กิ ด จ า ก อ ะ ต อ ม มี ก า ร ใ ช้ อิ เ ล็ ก ต ร อ น ร่ ว ม กั น
ส่วนพันธะโลหะเกิดจากโลหะหลายอะตอมมีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนของแต่ละอะตอมทั้งหมดร่วมกัน
พั น ธ ะ โ ล ห ะ เ กิ ด ขึ้ น ร ะ ห ว่ า ง อ ะ ต อ ม ข อ ง โ ล ห ะ ภ า ย ใ น ก้ อ น โ ล ห ะ
โดยอะตอมของโลหะซึ่งมีนิวเคลียสเป็นประจุบวกและมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบนิวเคลียสเป็นกลุ่มหมอ
ก อิ เ ล็ ก ต ร อ น อ ะ ต อ ม แ ต่ ล ะ อ ะ ต อ ม จ ะ ใ ห้ เ ว เ ล น ซ์ อิ เ ล็ ก ต ร อ น อ อ ก ม า
เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร จั ด เ รี ย ง อิ เ ล็ ก ต ร อ น ว ง น อ ก สุ ด ข อ ง อ ะ ต อ ม ค ล้ า ย แ ก๊ ส เ ฉื่ อ ย
ก ลุ่ ม เ ว เ ล น ซ์ อิ เ ล็ ก ต ร อ น จ ะ เ ค ลื่ อ น ที่ เ ป็ น อิ ส ร ะ ทั่ ว ทั้ ง ก้ อ น ข อ ง โ ล ห ะ
ข ณ ะ เ ดี ย ว กัน จ ะ ส่ ง แ ร ง ดึ ง ดู ด กับ นิ ว เ ค ลี ย ส ซึ่ ง มี ป ร ะ จุ บ ว ก ข อ ง ทุ ก อ ะ ต อ ม ไ ว้
จึงทําให้อะตอมเสถียรและเกิดพันธะโลหะที่มี ความแข็งแรง ดังแบบจําลองทะเลอิเล็กตรอน (Electron-
sea model) ของก้อนโลหะ ดังรูปที่ 2
รูปที่ 2 แสดงแบบจําลองทะเลอิเล็กตรอน (Electron-sea model) ของโลหะ
ที่มา : Bishop (2008 : 109)
กำรเกิดพันธะโลหะ
11
อิเล็กตรอน อะตอมของโลหะ ทะเลอิเล็กตรอน
ตัวอย่างการเกิดพันธะโลหะในก้อนโซเดียม โลหะโซเดียมเป็นธาตุหมู่ IA มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1
อ ะ ต อ ม ข อ ง โ ซ เ ดี ย ม แ ต่ ล ะ อ ะ ต อ ม จ ะ ใ ห้ เ ว เ ล น ซ์ อิ เ ล็ ก ต ร อ น 1 อิ เ ล็ ก ต ร อ น
ทํ า ใ ห้ อ ะ ต อ ม ข อ ง โ ล ห ะ โ ซ เ ดี ย ม ก ล า ย เ ป็ น ไ อ อ อ น บ ว ก
ก ลุ่ ม อิ เ ล็ ก ต ร อ น ซึ่ ง เ ค ลื่ อ น ที่ อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ค ล้ า ย ก ร ะ แ ส ค ลื่ น ใ น ท ะ เ ล
ทําให้เกิดแรงยึดเหนี่ยวที่มีความแข็งแรงมากระหว่างกลุ่มอิเล็กตรอนกับโซเดียมไอออนเป็นพันธะโลหะ
แสดงดังรูปที่ 3
ส่ วน ใ น โลห ะห มู่ IIA จ ะใ ห้อิเ ล็กตรอน อะตอมล ะ 2 อิเ ล็ ก ตรอน แล ะโล ห ะห มู่ IIIA
จะให้อิเล็กตรอนอะตอมละ 3 อิเล็กตรอนก็สามารถเกิดเป็นพันธะโลหะเช่นเดียวกัน (นิพนธ์ตังคณานุรักษ์
และคณิตา ตังคณา นุรักษ์. 2547 : 116)
รูปที่ 3 พันธะโลหะในผลึกโซเดียม 1 อะตอม จะให้ 1 เวเลนซ์อิเล็กตรอนสร้างพันธะโลหะ
ที่มา : Silberberg (2006 : 330)
เวเลนต์อิเล็กตรอนของ Na
นิวเคลียส
12
ความแข็งแรงของพันธะโลหะจะขึ้นอยู่กับปัจจัยดังต่อไปนี้
1. จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน ธาตุที่มี
เวเลนซ์อิเล็กตรอนมากกว่าจะมีความแข็งแรงของพันธะโลหะมากกว่า ทําให้มีจุดเดือด และ
จุดหลอมเหลวสูง ดังนั้นธาตุหมู่ IIIA มีจุดเดือดและ จุดหลอมเหลวสูงกว่าหมู่ IIA และ IA
ในคาบเดียวกัน
2. ข น ำ ด อ ะ ต อ ม
ธาตุที่มีขนาดอะตอมใหญ่กว่าจะมีระยะห่างระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนกับนิวเคลียสมากกว่า
ทําให้พันธะโลหะไม่แข็งแรง จุดเดือดและ
จุดหลอมเหลวจึงตํ่ากว่าธาตุที่มีขนาดอะตอมเล็กกว่า
ดัง นั้ น ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ข อ ง พัน ธ ะ โ ล ห ะ ข อ ง Al > Mg > Na เ พ ร า ะ Al
มี ข น า ด อ ะ ต อ ม เ ล็ ก ก ว่ า แ ล ะ มี จํา น ว น เ ว เ ล น ซ์อิ เ ล็ ก ต ร อ น ม า ก ก ว่า
แล ะธ าตุที่ อยู่ใ น ห มู่เ ดีย วกัน เ มื่ อข น าด อ ะต อ มใ ห ญ่ ขึ้ น จุดเ ดือดแ ล ะ
จุดหลอมเหลวจะลดลง เช่น Li > Na > K
รูปที่ 4
เปรียบเทียบความแข็งแรงของ
ที่มา : Bishop (2008 :
ควำมแข็งแรงของพันธะโลหะ
13
หมู่ธาตุ
จุดหลอมเหลวลดลง
13
15
ความแข็งแรงของพันธะโลหะจะขึ้นอยู่กับปัจจัยดังต่อไปนี้
1. จ ำ น ว น เ ว เ ล น ซ์อิ เ ล็ ก ต ร อ น ธ า ตุ ที่ มี เ ว เ ล น ซ์อิ เ ล็ ก ต ร อ น
มากกว่าจะมีความแข็งแรงของพันธะโลหะมากกว่า ทําให้มีจุดเดือด และจุดหลอมเหลวสูง
ดังนั้นธาตุหมู่ IIIA มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลว สูงกว่าหมู่ IIA และ IA ในคาบเดียวกัน
2. ข น ำ ด อ ะ ต อ ม
ธาตุที่มีขนาดอะตอมใหญ่กว่าจะมีระยะห่างระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนกับนิวเคลียสมากกว่า
ทําให้พันธะโลหะ ไม่แข็งแรง จุดเดือดและจุดหลอมเหลวจึงต่ํากว่าธาตุที่มีขนาดอะตอม
เล็กกว่า
ดัง นั้ น ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ข อ ง พัน ธ ะ โ ล ห ะ ข อ ง Al > Mg > Na เ พ ร า ะ Al
มี ข น า ด อ ะ ต อ ม เ ล็ ก ก ว่ า แ ล ะ มี จํา น ว น เ ว เ ล น ซ์อิ เ ล็ ก ตร อ น ม า ก ก ว่า
และธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกันเมื่อขนาดอะตอมใหญ่ขึ้น จุดเดือดและจุดหลอมเหลวจะลดลง
เช่น Li > Na > K
รูปที่ 4
เปรียบเทียบความแข็งแรงขอ
ที่มา : Bishop (2008
14
ควำมแข็งแรงของพันธะโลหะ
1. โลหะนำไฟฟ้ำได้ เนื่องจากอิเล็กตรอนในทะเลอิเล็กตรอนเกิดการเคลื่อนที่อย่างอิสระ
และทุกทิศทาง
รูปที่ 5 แสดงเส้นลวดโลหะที่ต่อกับขั้วลบ (แคโทด) และขั้วบวก (แอโนด) ของสนามไฟฟ้า
เวเลนซ์อิเล็กตรอนอิสระจะเคลื่อนที่เข้าหาขั้วบวก (แอโนด)
ที่มา : Bishop (2008 : 113)
2. โลหะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง เพราะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอิเล็กตรอนกับโลหะ
ไอออนภายในก้อนโลหะที่เหนียวแน่นและมีจํานวนมาก ส่วนใหญ่จึงมีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง
รูปที่ 6 แสดงแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนกับโลหะไอออนภายในก้อนโลหะ
ที่มา : Bishop (2008 : 113)
สมบัติของโลหะ
แคโทด แอโนด
14
3. ทุบเป็นแผ่นบำงๆ หรือยืดเป็นเส้นได้ เกิดจากการเลื่อนไถลของอนุภาค โดยไม่หลุดแยก
จากกัน เพราะมีกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนทะเลอิเล็กตรอนช่วยยึดเหนี่ยวไว้เมื่อทุบแผ่นโลหะ
อะตอมของโลหะจะเลื่อนไถลไปจนเป็นแผ่นบางๆ ได้
รูปที่ 7 การเลื่อนไถลของอะตอมโลหะเมื่อถูกแรงกระทํา
ที่มา : Silberberg (2006 : 359)
4. กำรสะท้อนแสงของโลหะ เกิดจากกลุ่มอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่โดยอิสระกระทบกับคลื่นแสง
ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดการกระจายแสงได้
5. โลหะไม่มีสูตรโมเลกุล แต่ใช้สัญลักษณ์ของธาตุแทนสูตรอย่างง่าย เช่น Al(s), Fe(s)
6. เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นค่ำกำรนำไฟฟ้ำของโลหะจะลดลง เนื่องจากไอออนบวกเกิดการ
สั่นสะเทือน และอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไม่สะดวก
7. โลหะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลงสูง ส่วนใหญ่จึงมีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง
8. โลหะละลำยได้ในโลหะที่หลอมเหลวโดยไม่เกิดปฏิกิริยำเคมี เกิดเป็นสารละลายเรียกว่า
อัลลอย เช่น นาก เหรียญเงิน เหรียญทองแดง ทองเหลือง เหล็กกล้าปลอดสนิม
อัลลอย (Alloy)
เป็นโลหะที่เกิดจากโลหะที่มีอะตอมขนาดใกล้เคียงกันผสมกันส่วนใหญ่จึงเป็นโลหะผสมของธาตุแ
ทรนซิชัน
15
16
รูปที่ 8 แสดงการเปรียบเทียบความแข็งแรงของพันธะเคมีจากมากไปน้อย
ที่มา: ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ และประดับ นาคแก้ว (2553 : 240)
กำรเปรียบเทียบควำมแข็งแรงของพันธะเคมี
โคเวเลนต์โครงผลึกร่างตาข่าย
โคเวเลนต์ไฮโดรเจน
โคเวเลนต์มีขั้ว
โคเวเลนต์ไม่มีขั้ว
พันธะโลหะ พันธะไอออนิกมำก
แก๊สเฉื่อยน้อย
(นําไฟฟ้าได้ดี) (ไม่นําไฟฟ้า)
16
ลำดับแนวควำมคิดต่อเนื่องภำยในเล่ม 7 พันธะโลหะ
อะตอมของธาตุโลหะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโลหะ เกิดจากอะตอมใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่อย่างอิสระ
เรามักเรียกแบบจําลองของการเกิดพันธะโลหะนี้ ว่า แบบจําลองทะเลอิเล็กตรอน (Electron-sea model)
เนื่องจากในผลึกของโลหะมีจํานวนอิเล็กตรอนมหาศาลที่ไหลไปมาได้อย่างอิสระตลอดเวลา
ความแข็งแรงของพันธะโลหะจะขึ้นอยู่กับจํานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนและขนาดอะตอม
โลหะนําความร้อนและนําไฟฟ้าได้ดี มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง นําไปตีเป็นแผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้
และสะท้อนแสงได้
17
1718
19
1. จงบอกชื่อโลหะที่พบในชีวิตประจําวันมา 5 ชนิด โดยเขียนชื่อและสัญลักษณ์ของธาตุ
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
2. จงอธิบายการเกิดพันธะโลหะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
3. ความแข็งแรงของพันธะโลหะขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
4. เมื่อใช้ของแข็งทุบโลหะจะแตกหรือไม่ เพราะเหตุใด
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
5. จงอธิบายสมบัติของโลหะ
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องพันธะโลหะ
จุดประสงค์กำรเรียนรู้ : อธิบายการเกิดพันธะโลหะและบอกสมบัติของโลหะได้
คำชี้แจง : ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย ตามประเด็นดังต่อไปนี้
19
20
1. ธาตุ 19
9A,32
16X, 28
14B,และ 85
37Y สร้างพันธะโลหะได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
2. โลหะสะท้อนแสงได้เพราะเหตุใด
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. ธาตุคู่ใดต่อไปนี้ ที่สามารถนํามาหลอมรวมกันเป็นโลหะอัลลอยได้ดี เพราะเหตุใด
3.1) Fe กับ Mn 3.2) Na กับ Fe
3.3) Na กับ K 3.4) K กับ Al
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
4. กําหนดธาตุให้ดังนี้ 23
11X, 24
12Y,133
55P,137
56Qธาตุใดมีจุดหลอมเหลวสูงสุดและตํ่าสุด เพราะเหตุใด
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
5. จงอธิบายว่าเพราะเหตุใดโลหะจึงยืดออกเป็นแผ่นบางๆ ได้
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
จุดประสงค์กำรเรียนรู้ : อธิบายการเกิดพันธะโลหะและบอกสมบัติของโลหะได้
คำชี้แจง : ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและตอบคําถามเกี่ยวกับพันธะโลหะต่อไปนี้
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องสมบัติของโลหะ
20
21
22
ใบกิจกรรมที่ 3 แผนที่ควำมคิด
คำชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละคนเขียนแผนที่ความคิด (Mind Mapping) สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับ
เนื้ อหาเรื่อง พันธะโลหะ
21
กิจกรรมตั๋วออก (Exit Ticket) 3-2-1
คำชี้แจง
ให้นักเรียนเขียนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธะเคมี เล่ม 7
พันธะโลหะ 3 สิ่ง คือ
1. เขียนสรุปความรู้ที่ได้เรียนรู้ 3 เรื่อง
2. เขียนสิ่งที่นําไปใช้ประโยชน์ 2 เรื่อง
3. เขียนคําถามที่สงสัยจากการเรียนรู้ 1 คําถาม
ควำมรู้ที่ได้เรียนรู้
สิ่งที่นำไปใช้ประโยชน์ ข้อสงสัย/ข้อเสนอแนะ
22
23
คำชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัยมีทั้งหมด 10 ข้อ 10 คะแนน เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับตัวอักษร ก ข ค ง ที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
ลงในกระดาษคําตอบ
1. สมบัติของพันธะโลหะ ข้อใดผิด
ก. โลหะสามารถตีแผ่เป็นแผ่นบางๆ ได้
ข. การนําความร้อนของโลหะเกิดได้โดยการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ
ค. ในโลหะไอออนบวกจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบและมีทะเลอิเล็กตรอนอิสระ
ง. โลหะมีสมบัติบางประการคล้ายกับสารประกอบไอออนิก เช่น นําไฟฟ้าได้ดี
2. ข้อใดเรียงลําดับความแข็งแรงของพันธะโลหะจากมากไปน้อยได้ถูกต้อง
ก. Al > Mg > Na > K ข. Mg > Na > K > Al
ค. Na > K > Al > Mg ง. K > Na > Mg > Al
3. ธาตุใดมีความเป็นโลหะมากที่สุด
ก. คลอรีน (Cl) ข. คาร์บอน (C)
ค. โซเดียม (Na) ง. ซิลิคอน (Si)
4. ทฤษฎีใดที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับพันธะโลหะ
ก. ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ ข. แบบจําลองทะเลอิเล็กตรอน
ค. กฎรวมก๊าซ ง. ทฤษฎีการชน
5. พันธะโลหะ (Metallic Bond) เป็นพันธะที่เกิดขึ้นกับอะไร
ก. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของแข็งซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันแน่นมาก อะตอมก็จะอยู่ใกล้กันมาก
ข. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของแข็งซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันแน่นมาก อะตอมก็จะอยู่ไกลกันมาก
ค. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของเหลวซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันแน่นมาก อะตอมก็จะอยู่ใกล้กันมาก
ง. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของแข็งซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันบางเบามาก อะตอมก็จะอยู่ใกล้กันมาก
แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) เล่ม 7 พันธะโลหะ
23
24
6. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับโลหะ
ก. โลหะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ
ข. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวตํ่าโลหะ
ค. อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้ไม่ดี
ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะสามารถเลื่อนไถลไม่ได้
7. พันธะและแรงระหว่างโมเลกุลใด ที่แข็งแรงมาก แล้วทําให้สารมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง
ก. พันธะโคเวเลนต์ ข. พันธะไฮโดรเจน
ค. พันธะไอออนิก ง. พันธะโลหะ
8. โลหะสามารถตีแผ่เป็นแผ่นบางๆ ได้เพราะเหตุใด
ก. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ง่าย
ข. มีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันในอะตอมที่อยู่ติดกัน
ค. อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง
ง. เวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งหมดในก้อนโลหะยึดอะตอมไว้อย่างเหนียวแน่น
9. โลหะเป็นตัวนําไฟฟ้าที่ดีเพราะเหตุใด
ก. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ง่าย
ข. เวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งหมดในก้อนโลหะยึดอะตอมไว้อย่างเหนียวแน่น
ค. อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ได้ทุกทาง
ง. มีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันในอะตอมที่อยู่
10. โลหะมีผิวเป็นมันวาว ข้อใดเป็นการอธิบายสมบัติข้อนี้ ของโลหะได้ถูกต้อง
ก. เพราะพันธะโลหะเกิดจากกลุ่มไอออนบวกกับกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนดึงดูดกัน
ข. เพราะกลุ่มอิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้
ค. เพราะกลุ่มไอออนบวกในก้อนโลหะมีการจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบมีโครงสร้างที่แน่นอน
ง. เพราะกลุ่มอิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้
24
2525
คำชี้แจง นําคะแนนที่ได้จากการทําแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน และชุดกิจกรรมเสริมทักษะ
ทางวิทยาศาสตร์มากรอกลงในตาราง
1. แบบทดสอบ
แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
ก่อนเรียน 10
หลังเรียน 10
ผลการพัฒนา
หมำยเหตุ
ผลการพัฒนา =
คะแนนทดสอบหลังเรียน−คะแนนทดสอบก่อนเรียน
คะแนนเต็ม
X 100
2. ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยำศำสตร์
กิจกรรมที่ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
1 10
2 10
3 30
รวม 50
ค่าเฉลี่ย
ร้อยละ
แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้จำกชุดกิจกรรมเสริมทักษะทำงวิทยำศำสตร์
เล่ม 7 พันธะโลหะ
25
26
นิพนธ์ตังคณานุรักษ์และคณิตา ตังคณานุรักษ์. เคมีพื้นฐำนและเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 เล่ม 2.
กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แม็ค จํากัด, 2547.
ศรีลักษณ์ผลวัฒนะ และประดับ นาคแก้ว. หนังสือเรียนรำยวิชำเคมีเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4
ภำคเรียนที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แม็ค จํากัด, 2553
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. หนังสือเรียนรำยวิชำเพิ่มเติมเคมีเล่ม 1
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4-6. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
Bishop, M. An Introduction to Chemistry. Carmel : Chiral Publishing Company, 2008.
Silberberg, M.S. Chemistry : The Molecular Nature of Matter and Change. 4 th
ed.
New York : The McGrow-Hill Companies, 2006.
บรรณำนุกรม
26
27
เกณฑ์กำรให้คะแนนและกำรแปลผลคะแนนที่ได้
คะแนน ผลกำรตอบ กำรแปลผล
10
อธิบายการเกิดพันธะโลหะ และสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน
และสมบูรณ์พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
ดีมาก
9
อธิบายการเกิดพันธะโลหะ และสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน
และสมบูรณ์
8 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ และสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน
ดี7 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ และสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน
6 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ และสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง
พอใช้
5
อธิบายการเกิดพันธะโลหะ หรือสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน
และสมบูรณ์พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
4
อธิบายการเกิดพันธะโลหะ หรือสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน
และสมบูรณ์
3 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ หรือสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน
ปรับปรุง
2 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ หรือสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน
1 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ หรือสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง
0
อธิบายการเกิดพันธะโลหะ หรือสมบัติของโลหะไม่ได้
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1
28
1. ธาตุ 19
9A,32
16X, 28
14B,และ 85
37Y สร้างพันธะโลหะได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
2. โลหะสะท้อนแสงได้เพราะเหตุใด
.................................................................................................................................................................................
3. ธาตุคู่ใดต่อไปนี้ ที่สามารถนํามาหลอมรวมกันเป็นโลหะอัลลอยได้ดี เพราะเหตุใด
3.1) Fe กับ Mn 3.2) Na กับ Fe
3.3) Na กับ K 3.4) K กับ Al
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
4. กําหนดธาตุให้ดังนี้ 23
11X, 24
12Y,133
55P,137
56Qธาตุใดมีจุดหลอมเหลวสูงสุดและตํ่าสุด เพราะเหตุใด
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
5. จงอธิบายว่าเพราะเหตุใดโลหะจึงยืดออกเป็นแผ่นบางๆ ได้
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
19
9A สร้างพันธะโลหะไม่ได้ เพราะ อยู่หมู่ VIIA มีสมบัติเป็นอโลหะ
32
16X สร้างพันธะโลหะไม่ได้ เพราะ อยู่หมู่ VIA
มีสมบัติเป็นอโลหะ28
14B สร้างพันธะโลหะไม่ได้ เพราะ อยู่หมู่ IVA
มีสมบัติเป็นกึ่งโลหะ85
37Y สร้างพันธะโลหะได้ เพราะ อยู่หมู่ IA
มีสมบัติเป็นโลหะ มีค่า IE1 ตํ่า เสียอิเล็กตรอนได้ง่าย
เฉลยใบกิจกรรมที่ 2
เกิดจากกลุ่มอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่โดยอิสระกระทบกับคลื่นแสง
ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดการกระจายแสงได้
อัลลอย เป็นโลหะที่เกิดจากโลหะที่มีอะตอมขนาดใกล้เคียงกัน ส่วนใหญ่จึงเป็นโลหะผสมของธาตุแทรนซิชัน
ดังนั้น ธาตุคู่ที่สามารถเกิดเป็นโลหะอัลลอยได้ก็คือ Fe กับ Mn
ธาตุ X อยู่ หมู่ 1 คาบ 3 ธาตุ Y อยู่หมู่ 2 คาบ 3 ธาตุ P อยู่หมู่ 1 คาบ 6 ธาตุ Q อยู่หมุ่ 2 คาบ 6
และเนื่องจากธาตุที่มีความแข็งแรงมากจุดหลอมเหลวจะสูง ขึ้นอยู่กับ จํานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน
มากกว่าและมีขนาดอะตอมเล็กกว่า ดังนั้น ธาตุที่มีจุดหลอมเหลวสูงสุด คือ ธาตุ Q
และธาตุที่มีจุดหลอมเหลวตํ่าสุด คือ ธาตุ X
เกิดจากการเลื่อนไถลของอนุภาค โดยไม่หลุดแยกจากกัน
เพราะมีกลุ่มอิเล็กตรอนในทะเลอิเล็กตรอนช่วยยึดเหนี่ยวไว้
29
เฉลยใบกิจกรรมที่ 3
กำรให้คะแนนและกำรแปลผลคะแนนแผนที่ควำมคิด (Mind Mapping)
ข้อ รำยกำรปฏิบัติ
ระดับกำรปฏิบัติ
1 2 3
1
ให้ใช้หัวข้อใหญ่ไว้ตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ รองลงมาเป็นหัวข้อย่อย
และตัวอย่าง
2 มีการใช้คําที่เชื่อมโยงและสัมพันธ์กัน
3 เขียนคําตัวใหญ่ สะดุดตา อ่านง่าย
4 เขียนคําเหนือเส้นใต้แต่ละเส้นและเชื่อมต่อกับเส้นอื่นๆ
5 ใช้สีช่วยแยกประเภทในแผนที่ความคิด
6
คําแต่ละคํา มีลักษณะเป็น "หน่วย" โดยแต่ละคําเชื่อมโยงกับคําอื่นๆ
ได้อย่างอิสระ
7 มีความคิดอิสระ
8 เขียนเนื้ อหาสาระ ได้ครบถ้วนครอบคลุมตามที่กําหนด
9 สีสันสวยงาม น่ามอง
10 ความสะอาดในแผนที่ความคิด
รวม
เฉลยใบกิจกรรมที่ 3
30
30
31
เกณฑ์กำรประเมิน
คะแนน 10 – 14 หมายถึง ปรับปรุง
คะแนน 15 – 18 หมายถึง พอใช้
คะแนน 19 – 23 หมายถึง ปานกลาง
คะแนน 24 – 26 หมายถึง ดี
คะแนน 27 – 30 หมายถึง ดีมาก
แบบทดสอบ
ก่อนเรียน (Pre-Test)
แบบทดสอบ
หลังเรียน (Post-Test)
ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย
1 ข 1 ง
2 ง 2 ก
3 ข 3 ค
4 ง 4 ข
5 ก 5 ก
6 ค 6 ก
7 ค 7 ง
8 ก 8 ง
9 ข 9 ค
10 ค 10 ข
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
31

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
Katewaree Yosyingyong
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
Kapom K.S.
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
Katewaree Yosyingyong
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
Sukanya Nak-on
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
สุกัญญา นิ่มพันธุ์
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
Coco Tan
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
dnavaroj
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
oraneehussem
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 

Similar to ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
4mat
4mat4mat
Plan 4
Plan 4Plan 4
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
sopa sangsuy
 
P56363401135 (3)
P56363401135 (3)P56363401135 (3)
P56363401135 (3)
ssuser61b43e
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
sopa sangsuy
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
apiwat97
 
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichaiGSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
Wichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
apiwat97
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
apiwat97
 

Similar to ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ (20)

บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
4mat
4mat4mat
4mat
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
P56363401135 (3)
P56363401135 (3)P56363401135 (3)
P56363401135 (3)
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichaiGSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
 

Recently uploaded

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ

  • 1. ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธะเคมี สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พัฒนาขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นชุดกิจกรรม เสริมทักษะวิทยาศาสตร์ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับทั้ งความรู้ กระบวนการ และเจตคติ ซึ่งนักเรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทําเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสําคัญ ซึ่งตอบสนองพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะ หาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนําความรู้ไปใช้ ในชีวิตประจําวัน ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรม และค่านิยมที่ถูกต้องเหมาะสม ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธะเคมี สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประกอบด้วย ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ทั้งหมดจํานวน 7 เล่ม ชุดนี้ เป็นเล่ม 7 พันธะโลหะ ใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ผู้เรียนและส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นส่วนสําคัญ ในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ขอขอบพระคุณ น ายสุ รชัย พัน โส รี ผู้อําน วยก ารโ รง เ รี ยน เ ด ชอุ ดม แล ะ คณะผู้เ ชี่ยว ช า ญ ตล อดจ น ผู้มีส่ วน เ กี่ยวข้อง ทุก ท่าน ที่ตรวจส อบ ใ ห้ข้อเ ส นอแน ะใ นก ารปรับปรุง เ พื่ อ ก า ร แ ก้ไ ข ชุ ด กิ จ ก ร ร ม เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์นี้ ใ ห้มี ค ว า ม ส ม บู ร ณ์ อันส่งผลให้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์นี้ มีประสิทธิภาพและสําเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี้ เพ็ญพร ขจรกลิ่น คำนำ ก
  • 2. ก คำนำคํานํา หน้ำ คํานํา ก สารบัญ ข สารบัญรูป ค คําชี้แจง 1 แผนผังแสดงขั้นตอนการเรียนรู้ 2 คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์สําหรับครู 3 คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์สําหรับนักเรียน 4 มาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 5 แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) 7 ใบความรู้ 10 ลําดับแนวความคิดต่อเนื่อง 17 ใบกิจกรรมที่ 1 19 ใบกิจกรรมที่ 2 20 ใบกิจกรรมที่ 3 21 กิจกรรมตั๋วออก (Exit Ticket) 3-2-1 22 แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) 23 แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากชุดกิจกรรมเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 7 25 บรรณานุกรม 26 ภาคผนวก 27 เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 28 เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 29 เฉลยใบกิจกรรมที่ 3 30 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 31 สำรบัญ ข
  • 3. หน้ำ รูปที่ 1 เปรียบเทียบการเกิดพันธะเคมีชนิดต่างๆ (A) พันธะไอออนิก (B) พันธะโคเวเลนต์ (C) พันธะโลหะ 10 รูปที่ 2 แสดงแบบจําลองทะเลอิเล็กตรอน (electron-sea model) ของโลหะ 11 รูปที่ 3 พันธะโลหะในผลึกโซเดียม 1 อะตอม จะให้1 เวเลนซ์อิเล็กตรอนสร้างพันธะโลหะ 12 รูปที่ 4 เปรียบเทียบความแข็งแรงของพันธะโลหะ 13 รูปที่ 5 แสดงเส้นลวดโลหะที่ต่อกับขั้วลบ (แคโทด) และขั้วบวก (แอโนด) ของสนามไฟฟ้า เวเลนซ์อิเล็กตรอนอิสระจะเคลื่อนที่เข้าหาขั้วบวก (แอโนด) 14 รูปที่ 6 แสดงแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนกับโลหะภายในก้อนโลหะ 14 รูปที่ 7 การเลื่อนไถลของอะตอมโลหะเมื่อถูกแรงกระทํา 15 รูปที่ 8 แสดงการเปรียบเทียบความแข็งแรงของพันธะเคมีจากมากไปน้อย 16 สำรบัญรูป ค
  • 4. สำรบัญ หน้ำ คํานํา ก สารบัญ ข สารบัญรูป ค คําชี้แจง 1 แผนผังแสดงขั้นตอนการเรียนรู้ 2 คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์สําหรับครู 3 คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์สําหรับนักเรียน 4 มาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 5 แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre - Test) 7 ใบความรู้ 11 ลําดับแนวความคิดต่อเนื่อง 17 ใบกิจกรรมที่ 1 19 ใบกิจกรรมที่ 2 20 ใบกิจกรรมที่ 3 21 กิจกรรมตั๋วออก (Exit Ticket) 3-2-1 22 แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากชุดกิจกรรมเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 7 23 แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) 25 บรรณานุกรม 26 ภาคผนวก 27 เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 28 เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 29 เฉลยใบกิจกรรมที่ 3 30 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 31 ข ค 1. ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธะเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประกอบด้วย ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ จํานวน 7 เล่ม ดังนี้ เล่ม 1 การเกิดพันธะโคเวเลนต์ การเขียนสูตร และการเรียกชื่อสารโคเวเลนต์ เล่ม 2 ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ เล่ม 3 รูปร่างและสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ เล่ม 4 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ เล่ม 5 การเกิดพันธะไอออนิก การเขียนสูตร และการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก เล่ม 6 สมบัติและปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก เล่ม 7 พันธะโลหะ 2. ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธะเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 7 พันธะโลหะ ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม 1 รหัสวิชา ว 30221 จํานวน 1 แผน เวลา 2 ชั่วโมง 3. ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ชุดนี้ ประกอบด้วย 3.1 คําชี้แจง 3.2 แผนผังแสดงขั้นตอนการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 3.3 คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์สําหรับครู 3.4 คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์สําหรับนักเรียน 3.5 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.6 แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) 3.7 ใบความรู้ 3.8 ลําดับแนวความคิดต่อเนื่อง 3.9 ใบกิจกรรม 3.10 กิจกรรมตั๋วออก (Exit Ticket) 3-2-1 3.11 แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) 3.12 บรรณานุกรม 3.13 เฉลยใบกิจกรรม 3.14 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 4. ผู้ใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์นี้ ควรศึกษาคําแนะนําในการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะ วิทยาศาสตร์ 1 คำชี้แจง
  • 5. 21 แผนผังแสดงขั้นตอนกำรเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรม เสริมทักษะวิทยำศำสตร์ เรื่องพันธะเคมี 1. อ่านคําชี้แจง/คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศ าสตร์ 2. ศึกษาชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์โดยปฏิบัติกิจก รรม - ทําแบบทดสอบก่อนเรียน - ศึกษาใบความรู้ - ศึกษาลําดับแนวความคิดต่อเนื่องภายในเล่ม - ทําใบกิจกรรม - ทํากิจกรรมตั๋วออก (Exit Ticket) 3-2-1 - ทําแบบทดสอบหลังเรียน 3. ตรวจสอบคําตอบแบบทดสอบก่อนเรียน–หลังเรียน และใบกิจกรรม 4. ศึกษาชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์เล่มต่อไป ไม่ผ่ำนเกณฑ์ กำรประเมินผล ผ่ำนเกณฑ์ 2 ต่ำกว่ำ 80% 80% ขึ้นไป
  • 6. 3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์เรื่องพันธะเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 7 พันธะโลหะ มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยให้การดําเนินกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ และมีประสิทธิภาพ ผู้สอนควรเตรียมความพร้อมและปฏิบัติตามคําแนะนํา ดังต่อไปนี้ 1. ศึ ก ษ า ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ กี่ ย ว กั บ แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ เ นื้ อ ห า ที่ ส อ น เอกสารชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์และคําชี้แจงต่างๆ ให้เข้าใจก่อนดําเนินกิจกรรมการเรียนรู้ 2. เตรียมสื่ออุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้พร้อมและครบจํานวนนักเรียนในชั้นเรียน แต่ละกลุ่ม 3. เมื่อมีกิจกรรมกลุ่มให้แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน จํานวนกลุ่มขึ้ นอยู่กับนักเรียน ในชั้นเรียน โดยคละนักเรียนเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน ให้มีการเลือกประธาน และเลขานุการกลุ่ม แล้วแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบแก่สมาชิกในกลุ่ม 4. ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครูควรชี้ แจงให้นักเรียนเข้าใจบทบาทของตนเอง แนะนําขั้นตอนการใช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม เ ส ริ ม ทั ก ษ ะวิ ท ย า ศ า ส ต ร์แ น ว ป ฏิ บัติ ใ น ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ดํา เ นิ น กิจ ก รรม การเรียนรู้แล้วจึงให้ทําแบบทดสอบก่อนเรียน 5. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูคอยให้ความช่วยเหลือ แนะนํา และกระตุ้นให้นักเรียนทํากิจกรรม อย่างกระตือรือร้น และตอบข้อสงสัยต่าง ๆ ระหว่างเรียน พร้อมทั้งสังเกตแล ะประเ มิน พฤติกรรมการทํางานของนักเรียน 6. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครบถ้วน ให้นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน แล้วนําผลทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียนแจ้งให้นักเรียนทราบความก้าวหน้าทางการเรียน 7. การวัดและประเมินผล ประเมินจากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน สังเกตพฤติกรรม การปฏิบัติงานกลุ่ม ประเมินผลการปฏิบัติงาน ตรวจใบกิจกรรม 8. เ มื่ อ สิ้ น สุ ด ก า ร ป ฏิ บัติ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ค รู ใ ห้นั ก เ รี ย น ร่ ว ม ต ร ว จ ส อ บ เก็บชุดกิจกรรมเส ริมทักษะวิท ยาศาสตร์ก ารเรียน รู้วัสดุสิ่งข อง และอุปกรณ์ให้เรียบร้อ ย เพื่อสะดวกในการใช้ครั้งต่อไป คำแนะนำกำรใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยำศำสตร์สำหรับครู 3
  • 7. 5 การเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์เรื่องพันธะเคมีมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 7 พันธะโลหะ ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนด้วยความซื่อสัตย์และตั้งใจ ดังนี้ 1. ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์เล่ม 7 พันธะโลหะ ใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง 2. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน โดยคละความสามารถนักเรียนในกลุ่มเป็นเก่ง ปานกลาง และอ่อน 3. อ่านคําชี้ แจง คําแนะนําการใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ขั้นตอนการเรียนโดยใช้ ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ให้เข้าใจก่อนลงมือศึกษาชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 4. ศึกษาสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ผลการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 5. ทําแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์เล่ม 7 พันธะโลหะ จํานวน 10 ข้อ เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐาน บันทึกผลคะแนนที่ได้ 6. ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนในชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 7. เ มื่ อ ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ เ ส ร็ จ เ รี ย บ ร้ อ ย แ ล้ ว ให้ตรวจสอบคําตอบได้จากเฉลยใบกิจกรรมในภาคผนวกท้ายเล่ม 8. ทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์เล่ม 7 พันธะโลหะ จํานวน 10 ข้อ 9. ตรวจคําตอบจากเ ฉล ยแบบทดส อบหลังเรียน (Post-Test) พร้อมบันทึกผลคะแน น ที่ ได้ แล้วเปรียบเทียบกับคะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเ รียน ซึ่งนักเรียนต้องทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) ได้ร้อยละ 80 ขึ้ นไปจึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ตามที่กําหนด ให้ทบทวนเนื้ อหา แล้วให้ทําแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง หากผ่านเกณฑ์ ให้ทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เรื่องพันธะเคมี จํานวน 30 ข้อ ต่อไป 1. หากมีข้อสงสัยให้ขอคําอธิบายหรือถามครูผู้สอน เพื่อร่วมกันสรุปข้อสงสัยนั้นๆ 2. เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยจนกว่านักเรียน จะทํากิจกรรมเสร็จเรียบร้อย เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเรียน คำแนะนำกำรใช้ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน ข้อควรปฏิบัติ 4
  • 8. มำตรฐำนกำรเรียนรู้ สำระที่ 3 สำรและสมบัติของสำร มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ สำระกำรเรียนรู้ - การเกิดพันธะโลหะ - สมบัติของโลหะ ผลกำรเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย เกี่ยวกับการเกิดพันธะไอออนิก และโครงสร้างของสารประกอบไอออนิก จุดประสงค์กำรเรียนรู้ เมื่อนักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธะเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 7 พันธะโลหะ แล้วนักเรียนสามารถ 1. ด้ำนควำมรู้ (Knowledge : K) อธิบายการเกิดพันธะโลหะและบอกสมบัติของโลหะได้ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ ผลกำรเรียนรู้ และจุดประสงค์กำรเรียนรู้ 5
  • 9. 2. ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (Process : P) 2.1 การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 2.2 การแก้ปัญหา 2.3 การสื่อสาร 2.4 การนําความรู้ไปใช้ 2.5 ทักษะการทํางานกลุ่ม 3. ด้ำนคุณลักษณะ (Attitude : A) 3.1 ซื่อสัตย์สุจริต 3.2 มีวินัย 3.3 ใฝ่ เรียนรู้ 3.4 มุ่งมั่นในการทํางาน 3.5 ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ 6
  • 10. คำชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัยมีทั้งหมด 10 ข้อ 10 คะแนน เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับตัวอักษร ก ข ค ง ที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ลงในกระดาษคําตอบ 1. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับโลหะ ก. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวตํ่า ข. โลหะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ ค. อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้ไม่ดี ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะสามารถเลื่อนไถลไม่ได้ 2. โลหะเป็นตัวนําไฟฟ้าที่ดีเพราะเหตุใด ก. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ง่าย ข. เวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งหมดในก้อนโลหะยึดอะตอมไว้อย่างเหนียวแน่น ค. มีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันในอะตอมที่อยู่ติดกัน ง. อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง 3. โลหะสามารถตีแผ่เป็นแผ่นบางๆ ได้เพราะเหตุใด ก. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ง่าย ข. เวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งหมดในก้อนโลหะยึดอะตอมไว้อย่างเหนียวแน่น ค. มีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันในอะตอมที่อยู่ติดกัน ง. อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง 4. โลหะมีผิวเป็นมันวาว ข้อใดเป็นการอธิบายสมบัติข้อนี้ ของโลหะได้ถูกต้อง ก. เพราะพันธะโลหะเกิดจากกลุ่มไอออนบวกกับกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนดึงดูดกัน ข. เพราะกลุ่มไอออนบวกในก้อนโลหะมีการจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบมีโครงสร้างที่แน่นอน ค. เพราะไอออนบวกในก้อนโลหะแต่ละไอออนอยู่ในสภาพเหมือนๆ กันและได้รับแรงดึงดูดจากประจุลบเท่ากัน ง. เพราะกลุ่มอิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้ แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) เล่ม 7 พันธะโลหะ 7
  • 11. 9 5. ทฤษฎีใดที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับพันธะโลหะ ก. แบบจําลองทะเลอิเล็กตรอน ข. ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ ค. กฎรวมก๊าซ ง. ทฤษฎีการชน 6. ข้อใดเรียงลําดับความแข็งแรงของพันธะโลหะจากมากไปน้อยได้ถูกต้อง ก. Mg > Na > K > Al ข. Na > K > Al > Mg ค. Al > Mg > Na > K ง. K > Na > Mg > Al 7. พันธะและแรงระหว่างโมเลกุลใด ที่แข็งแรงมาก แล้วทําให้สารมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง ก. พันธะโคเวเลนต์ ข. พันธะไฮโดรเจน ค. พันธะโลหะ ง. พันธะไอออนิก 8. ธาตุใดมีความเป็นโลหะมากที่สุด ก. โซเดียม (Na) ข. คลอรีน (Cl) ค. คาร์บอน (C) ง. ซิลิคอน (Si) 9. สมบัติของพันธะโลหะ ข้อใดผิด ก. โลหะสามารถตีแผ่เป็นแผ่นบางๆ ได้ ข. โลหะมีสมบัติบางประการคล้ายกับสารประกอบไอออนิก เช่น นําไฟฟ้าได้ดี ค. การนําความร้อนของโลหะเกิดได้โดยการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ ง. ในโลหะไอออนบวกจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบและมีทะเลอิเล็กตรอนอิสระ 10. พันธะโลหะ (Metallic Bond) เป็นพันธะที่เกิดขึ้นกับอะไร ก. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของแข็งซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันแน่นมาก อะตอมก็จะอยู่ไกลกันมาก ข. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของเหลวซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันแน่นมาก อะตอมก็จะอยู่ใกล้กันมาก ค. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของแข็งซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันแน่นมาก อะตอมก็จะอยู่ใกล้กันมาก ง. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของแข็งซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันบางเบามาก อะตอมก็จะอยู่ใกล้กันมาก 8
  • 12. 109
  • 13. 11 พันธะโลหะ (Metallic bonding) เกิดกับธาตุที่มีสมบัติเป็นโลหะ ซึ่งมีค่า IE1 (first ionization energy) ตํ่า จึ ง เ สี ย อิ เ ล็ ก ต ร อ น ไ ด้ง่ า ย ทํ า ใ ห้โ ล ห ะ อ ยู่ ร ว ม กัน เ ป็ น ไ อ อ อ น บ ว ก มี เ ว เ ล น ซ์ อิ เ ล็ ก ต ร อ น ข อ ง ทุ ก อ ะ ต อ ม เ ค ลื่ อ น ที่ ไ ด้ อ ย่ า ง อิ ส ร ะ ทุ ก ทิ ศ ท า ง ข ณ ะ ที่ เ ค ลื่ อ น ที่ จ ะ ส่ ง แ ร ง ไ ป ดึ ง ดู ด นิ ว เ ค ลี ย ส ไ ว้ เ กิดแรง ยึดเ ห นี่ ยวที่แข็งแรงระห ว่างไอออน บวก ของ โลหะกับก ลุ่มเ วเล นซ์อิเ ล็ก ตรอน ซึ่งทําให้โลหะมีสมบัตินําไฟฟ้าได้ทุกทิศทาง มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง ผิวเป็ นมันวาว และสามารถยืดเป็นเส้นหรือทุบให้เป็นแผ่นบางๆ ได้ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2554 : 125) รูปที่ 1 เปรียบเทียบการเกิดพันธะเคมีชนิดต่างๆ (A) พันธะไอออนิก (B) พันธะโคเวเลนต์ (C) พันธะโลหะ ที่มา : Silberberg (2006 : 330) Electron transfer Electron sharing Electron pooling Electron “sea” A Ionicbonding B Covalentbonding C Metallicbonding ใบควำมรู้ เรื่องพันธะโลหะ 10
  • 14. 12 จ า ก รู ป ที่ 1 เ มื่ อ เ ป รี ย บ เ ที ย บ ก า ร เ กิ ด พั น ธ ะ เ ค มี ช นิ ด ต่ า ง ๆ จะเห็นว่าพันธะไอออนิกจะเกิดจากการที่โลหะให้อิเล็กตรอนกับธาตุอโลหะเกิดแรงดึงดูดระหว่างไอออน พั น ธ ะ โ ค เ ว เ ล น ต์ เ กิ ด จ า ก อ ะ ต อ ม มี ก า ร ใ ช้ อิ เ ล็ ก ต ร อ น ร่ ว ม กั น ส่วนพันธะโลหะเกิดจากโลหะหลายอะตอมมีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนของแต่ละอะตอมทั้งหมดร่วมกัน พั น ธ ะ โ ล ห ะ เ กิ ด ขึ้ น ร ะ ห ว่ า ง อ ะ ต อ ม ข อ ง โ ล ห ะ ภ า ย ใ น ก้ อ น โ ล ห ะ โดยอะตอมของโลหะซึ่งมีนิวเคลียสเป็นประจุบวกและมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบนิวเคลียสเป็นกลุ่มหมอ ก อิ เ ล็ ก ต ร อ น อ ะ ต อ ม แ ต่ ล ะ อ ะ ต อ ม จ ะ ใ ห้ เ ว เ ล น ซ์ อิ เ ล็ ก ต ร อ น อ อ ก ม า เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร จั ด เ รี ย ง อิ เ ล็ ก ต ร อ น ว ง น อ ก สุ ด ข อ ง อ ะ ต อ ม ค ล้ า ย แ ก๊ ส เ ฉื่ อ ย ก ลุ่ ม เ ว เ ล น ซ์ อิ เ ล็ ก ต ร อ น จ ะ เ ค ลื่ อ น ที่ เ ป็ น อิ ส ร ะ ทั่ ว ทั้ ง ก้ อ น ข อ ง โ ล ห ะ ข ณ ะ เ ดี ย ว กัน จ ะ ส่ ง แ ร ง ดึ ง ดู ด กับ นิ ว เ ค ลี ย ส ซึ่ ง มี ป ร ะ จุ บ ว ก ข อ ง ทุ ก อ ะ ต อ ม ไ ว้ จึงทําให้อะตอมเสถียรและเกิดพันธะโลหะที่มี ความแข็งแรง ดังแบบจําลองทะเลอิเล็กตรอน (Electron- sea model) ของก้อนโลหะ ดังรูปที่ 2 รูปที่ 2 แสดงแบบจําลองทะเลอิเล็กตรอน (Electron-sea model) ของโลหะ ที่มา : Bishop (2008 : 109) กำรเกิดพันธะโลหะ 11 อิเล็กตรอน อะตอมของโลหะ ทะเลอิเล็กตรอน
  • 15. ตัวอย่างการเกิดพันธะโลหะในก้อนโซเดียม โลหะโซเดียมเป็นธาตุหมู่ IA มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 อ ะ ต อ ม ข อ ง โ ซ เ ดี ย ม แ ต่ ล ะ อ ะ ต อ ม จ ะ ใ ห้ เ ว เ ล น ซ์ อิ เ ล็ ก ต ร อ น 1 อิ เ ล็ ก ต ร อ น ทํ า ใ ห้ อ ะ ต อ ม ข อ ง โ ล ห ะ โ ซ เ ดี ย ม ก ล า ย เ ป็ น ไ อ อ อ น บ ว ก ก ลุ่ ม อิ เ ล็ ก ต ร อ น ซึ่ ง เ ค ลื่ อ น ที่ อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ค ล้ า ย ก ร ะ แ ส ค ลื่ น ใ น ท ะ เ ล ทําให้เกิดแรงยึดเหนี่ยวที่มีความแข็งแรงมากระหว่างกลุ่มอิเล็กตรอนกับโซเดียมไอออนเป็นพันธะโลหะ แสดงดังรูปที่ 3 ส่ วน ใ น โลห ะห มู่ IIA จ ะใ ห้อิเ ล็กตรอน อะตอมล ะ 2 อิเ ล็ ก ตรอน แล ะโล ห ะห มู่ IIIA จะให้อิเล็กตรอนอะตอมละ 3 อิเล็กตรอนก็สามารถเกิดเป็นพันธะโลหะเช่นเดียวกัน (นิพนธ์ตังคณานุรักษ์ และคณิตา ตังคณา นุรักษ์. 2547 : 116) รูปที่ 3 พันธะโลหะในผลึกโซเดียม 1 อะตอม จะให้ 1 เวเลนซ์อิเล็กตรอนสร้างพันธะโลหะ ที่มา : Silberberg (2006 : 330) เวเลนต์อิเล็กตรอนของ Na นิวเคลียส 12
  • 16. ความแข็งแรงของพันธะโลหะจะขึ้นอยู่กับปัจจัยดังต่อไปนี้ 1. จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน ธาตุที่มี เวเลนซ์อิเล็กตรอนมากกว่าจะมีความแข็งแรงของพันธะโลหะมากกว่า ทําให้มีจุดเดือด และ จุดหลอมเหลวสูง ดังนั้นธาตุหมู่ IIIA มีจุดเดือดและ จุดหลอมเหลวสูงกว่าหมู่ IIA และ IA ในคาบเดียวกัน 2. ข น ำ ด อ ะ ต อ ม ธาตุที่มีขนาดอะตอมใหญ่กว่าจะมีระยะห่างระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนกับนิวเคลียสมากกว่า ทําให้พันธะโลหะไม่แข็งแรง จุดเดือดและ จุดหลอมเหลวจึงตํ่ากว่าธาตุที่มีขนาดอะตอมเล็กกว่า ดัง นั้ น ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ข อ ง พัน ธ ะ โ ล ห ะ ข อ ง Al > Mg > Na เ พ ร า ะ Al มี ข น า ด อ ะ ต อ ม เ ล็ ก ก ว่ า แ ล ะ มี จํา น ว น เ ว เ ล น ซ์อิ เ ล็ ก ต ร อ น ม า ก ก ว่า แล ะธ าตุที่ อยู่ใ น ห มู่เ ดีย วกัน เ มื่ อข น าด อ ะต อ มใ ห ญ่ ขึ้ น จุดเ ดือดแ ล ะ จุดหลอมเหลวจะลดลง เช่น Li > Na > K รูปที่ 4 เปรียบเทียบความแข็งแรงของ ที่มา : Bishop (2008 : ควำมแข็งแรงของพันธะโลหะ 13 หมู่ธาตุ จุดหลอมเหลวลดลง
  • 17. 13 15 ความแข็งแรงของพันธะโลหะจะขึ้นอยู่กับปัจจัยดังต่อไปนี้ 1. จ ำ น ว น เ ว เ ล น ซ์อิ เ ล็ ก ต ร อ น ธ า ตุ ที่ มี เ ว เ ล น ซ์อิ เ ล็ ก ต ร อ น มากกว่าจะมีความแข็งแรงของพันธะโลหะมากกว่า ทําให้มีจุดเดือด และจุดหลอมเหลวสูง ดังนั้นธาตุหมู่ IIIA มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลว สูงกว่าหมู่ IIA และ IA ในคาบเดียวกัน 2. ข น ำ ด อ ะ ต อ ม ธาตุที่มีขนาดอะตอมใหญ่กว่าจะมีระยะห่างระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนกับนิวเคลียสมากกว่า ทําให้พันธะโลหะ ไม่แข็งแรง จุดเดือดและจุดหลอมเหลวจึงต่ํากว่าธาตุที่มีขนาดอะตอม เล็กกว่า ดัง นั้ น ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ข อ ง พัน ธ ะ โ ล ห ะ ข อ ง Al > Mg > Na เ พ ร า ะ Al มี ข น า ด อ ะ ต อ ม เ ล็ ก ก ว่ า แ ล ะ มี จํา น ว น เ ว เ ล น ซ์อิ เ ล็ ก ตร อ น ม า ก ก ว่า และธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกันเมื่อขนาดอะตอมใหญ่ขึ้น จุดเดือดและจุดหลอมเหลวจะลดลง เช่น Li > Na > K รูปที่ 4 เปรียบเทียบความแข็งแรงขอ ที่มา : Bishop (2008 14 ควำมแข็งแรงของพันธะโลหะ 1. โลหะนำไฟฟ้ำได้ เนื่องจากอิเล็กตรอนในทะเลอิเล็กตรอนเกิดการเคลื่อนที่อย่างอิสระ และทุกทิศทาง รูปที่ 5 แสดงเส้นลวดโลหะที่ต่อกับขั้วลบ (แคโทด) และขั้วบวก (แอโนด) ของสนามไฟฟ้า เวเลนซ์อิเล็กตรอนอิสระจะเคลื่อนที่เข้าหาขั้วบวก (แอโนด) ที่มา : Bishop (2008 : 113) 2. โลหะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง เพราะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอิเล็กตรอนกับโลหะ ไอออนภายในก้อนโลหะที่เหนียวแน่นและมีจํานวนมาก ส่วนใหญ่จึงมีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง รูปที่ 6 แสดงแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนกับโลหะไอออนภายในก้อนโลหะ ที่มา : Bishop (2008 : 113) สมบัติของโลหะ แคโทด แอโนด 14
  • 18. 3. ทุบเป็นแผ่นบำงๆ หรือยืดเป็นเส้นได้ เกิดจากการเลื่อนไถลของอนุภาค โดยไม่หลุดแยก จากกัน เพราะมีกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนทะเลอิเล็กตรอนช่วยยึดเหนี่ยวไว้เมื่อทุบแผ่นโลหะ อะตอมของโลหะจะเลื่อนไถลไปจนเป็นแผ่นบางๆ ได้ รูปที่ 7 การเลื่อนไถลของอะตอมโลหะเมื่อถูกแรงกระทํา ที่มา : Silberberg (2006 : 359) 4. กำรสะท้อนแสงของโลหะ เกิดจากกลุ่มอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่โดยอิสระกระทบกับคลื่นแสง ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดการกระจายแสงได้ 5. โลหะไม่มีสูตรโมเลกุล แต่ใช้สัญลักษณ์ของธาตุแทนสูตรอย่างง่าย เช่น Al(s), Fe(s) 6. เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นค่ำกำรนำไฟฟ้ำของโลหะจะลดลง เนื่องจากไอออนบวกเกิดการ สั่นสะเทือน และอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไม่สะดวก 7. โลหะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลงสูง ส่วนใหญ่จึงมีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง 8. โลหะละลำยได้ในโลหะที่หลอมเหลวโดยไม่เกิดปฏิกิริยำเคมี เกิดเป็นสารละลายเรียกว่า อัลลอย เช่น นาก เหรียญเงิน เหรียญทองแดง ทองเหลือง เหล็กกล้าปลอดสนิม อัลลอย (Alloy) เป็นโลหะที่เกิดจากโลหะที่มีอะตอมขนาดใกล้เคียงกันผสมกันส่วนใหญ่จึงเป็นโลหะผสมของธาตุแ ทรนซิชัน 15
  • 19. 16 รูปที่ 8 แสดงการเปรียบเทียบความแข็งแรงของพันธะเคมีจากมากไปน้อย ที่มา: ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ และประดับ นาคแก้ว (2553 : 240) กำรเปรียบเทียบควำมแข็งแรงของพันธะเคมี โคเวเลนต์โครงผลึกร่างตาข่าย โคเวเลนต์ไฮโดรเจน โคเวเลนต์มีขั้ว โคเวเลนต์ไม่มีขั้ว พันธะโลหะ พันธะไอออนิกมำก แก๊สเฉื่อยน้อย (นําไฟฟ้าได้ดี) (ไม่นําไฟฟ้า) 16
  • 20. ลำดับแนวควำมคิดต่อเนื่องภำยในเล่ม 7 พันธะโลหะ อะตอมของธาตุโลหะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโลหะ เกิดจากอะตอมใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่อย่างอิสระ เรามักเรียกแบบจําลองของการเกิดพันธะโลหะนี้ ว่า แบบจําลองทะเลอิเล็กตรอน (Electron-sea model) เนื่องจากในผลึกของโลหะมีจํานวนอิเล็กตรอนมหาศาลที่ไหลไปมาได้อย่างอิสระตลอดเวลา ความแข็งแรงของพันธะโลหะจะขึ้นอยู่กับจํานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนและขนาดอะตอม โลหะนําความร้อนและนําไฟฟ้าได้ดี มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง นําไปตีเป็นแผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้ และสะท้อนแสงได้ 17
  • 21. 1718
  • 22. 19 1. จงบอกชื่อโลหะที่พบในชีวิตประจําวันมา 5 ชนิด โดยเขียนชื่อและสัญลักษณ์ของธาตุ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 2. จงอธิบายการเกิดพันธะโลหะ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 3. ความแข็งแรงของพันธะโลหะขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 4. เมื่อใช้ของแข็งทุบโลหะจะแตกหรือไม่ เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 5. จงอธิบายสมบัติของโลหะ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องพันธะโลหะ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ : อธิบายการเกิดพันธะโลหะและบอกสมบัติของโลหะได้ คำชี้แจง : ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย ตามประเด็นดังต่อไปนี้ 19
  • 23. 20 1. ธาตุ 19 9A,32 16X, 28 14B,และ 85 37Y สร้างพันธะโลหะได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2. โลหะสะท้อนแสงได้เพราะเหตุใด ............................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. 3. ธาตุคู่ใดต่อไปนี้ ที่สามารถนํามาหลอมรวมกันเป็นโลหะอัลลอยได้ดี เพราะเหตุใด 3.1) Fe กับ Mn 3.2) Na กับ Fe 3.3) Na กับ K 3.4) K กับ Al ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 4. กําหนดธาตุให้ดังนี้ 23 11X, 24 12Y,133 55P,137 56Qธาตุใดมีจุดหลอมเหลวสูงสุดและตํ่าสุด เพราะเหตุใด ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 5. จงอธิบายว่าเพราะเหตุใดโลหะจึงยืดออกเป็นแผ่นบางๆ ได้ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... จุดประสงค์กำรเรียนรู้ : อธิบายการเกิดพันธะโลหะและบอกสมบัติของโลหะได้ คำชี้แจง : ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและตอบคําถามเกี่ยวกับพันธะโลหะต่อไปนี้ ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องสมบัติของโลหะ 20
  • 24. 21 22 ใบกิจกรรมที่ 3 แผนที่ควำมคิด คำชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละคนเขียนแผนที่ความคิด (Mind Mapping) สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับ เนื้ อหาเรื่อง พันธะโลหะ 21
  • 25. กิจกรรมตั๋วออก (Exit Ticket) 3-2-1 คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธะเคมี เล่ม 7 พันธะโลหะ 3 สิ่ง คือ 1. เขียนสรุปความรู้ที่ได้เรียนรู้ 3 เรื่อง 2. เขียนสิ่งที่นําไปใช้ประโยชน์ 2 เรื่อง 3. เขียนคําถามที่สงสัยจากการเรียนรู้ 1 คําถาม ควำมรู้ที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่นำไปใช้ประโยชน์ ข้อสงสัย/ข้อเสนอแนะ 22
  • 26. 23 คำชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัยมีทั้งหมด 10 ข้อ 10 คะแนน เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท (X) ทับตัวอักษร ก ข ค ง ที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ลงในกระดาษคําตอบ 1. สมบัติของพันธะโลหะ ข้อใดผิด ก. โลหะสามารถตีแผ่เป็นแผ่นบางๆ ได้ ข. การนําความร้อนของโลหะเกิดได้โดยการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ ค. ในโลหะไอออนบวกจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบและมีทะเลอิเล็กตรอนอิสระ ง. โลหะมีสมบัติบางประการคล้ายกับสารประกอบไอออนิก เช่น นําไฟฟ้าได้ดี 2. ข้อใดเรียงลําดับความแข็งแรงของพันธะโลหะจากมากไปน้อยได้ถูกต้อง ก. Al > Mg > Na > K ข. Mg > Na > K > Al ค. Na > K > Al > Mg ง. K > Na > Mg > Al 3. ธาตุใดมีความเป็นโลหะมากที่สุด ก. คลอรีน (Cl) ข. คาร์บอน (C) ค. โซเดียม (Na) ง. ซิลิคอน (Si) 4. ทฤษฎีใดที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับพันธะโลหะ ก. ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ ข. แบบจําลองทะเลอิเล็กตรอน ค. กฎรวมก๊าซ ง. ทฤษฎีการชน 5. พันธะโลหะ (Metallic Bond) เป็นพันธะที่เกิดขึ้นกับอะไร ก. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของแข็งซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันแน่นมาก อะตอมก็จะอยู่ใกล้กันมาก ข. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของแข็งซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันแน่นมาก อะตอมก็จะอยู่ไกลกันมาก ค. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของเหลวซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันแน่นมาก อะตอมก็จะอยู่ใกล้กันมาก ง. เกิดขึ้นกับโลหะที่เป็นของแข็งซึ่งจะเห็นว่าอะตอมของโลหะนั้นอัดกันบางเบามาก อะตอมก็จะอยู่ใกล้กันมาก แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) เล่ม 7 พันธะโลหะ 23
  • 27. 24 6. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับโลหะ ก. โลหะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ ข. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวตํ่าโลหะ ค. อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้ไม่ดี ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะสามารถเลื่อนไถลไม่ได้ 7. พันธะและแรงระหว่างโมเลกุลใด ที่แข็งแรงมาก แล้วทําให้สารมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง ก. พันธะโคเวเลนต์ ข. พันธะไฮโดรเจน ค. พันธะไอออนิก ง. พันธะโลหะ 8. โลหะสามารถตีแผ่เป็นแผ่นบางๆ ได้เพราะเหตุใด ก. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ง่าย ข. มีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันในอะตอมที่อยู่ติดกัน ค. อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง ง. เวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งหมดในก้อนโลหะยึดอะตอมไว้อย่างเหนียวแน่น 9. โลหะเป็นตัวนําไฟฟ้าที่ดีเพราะเหตุใด ก. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ง่าย ข. เวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งหมดในก้อนโลหะยึดอะตอมไว้อย่างเหนียวแน่น ค. อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ได้ทุกทาง ง. มีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันในอะตอมที่อยู่ 10. โลหะมีผิวเป็นมันวาว ข้อใดเป็นการอธิบายสมบัติข้อนี้ ของโลหะได้ถูกต้อง ก. เพราะพันธะโลหะเกิดจากกลุ่มไอออนบวกกับกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนดึงดูดกัน ข. เพราะกลุ่มอิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้ ค. เพราะกลุ่มไอออนบวกในก้อนโลหะมีการจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบมีโครงสร้างที่แน่นอน ง. เพราะกลุ่มอิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้ 24
  • 28. 2525 คำชี้แจง นําคะแนนที่ได้จากการทําแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน และชุดกิจกรรมเสริมทักษะ ทางวิทยาศาสตร์มากรอกลงในตาราง 1. แบบทดสอบ แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ ก่อนเรียน 10 หลังเรียน 10 ผลการพัฒนา หมำยเหตุ ผลการพัฒนา = คะแนนทดสอบหลังเรียน−คะแนนทดสอบก่อนเรียน คะแนนเต็ม X 100 2. ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยำศำสตร์ กิจกรรมที่ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ 1 10 2 10 3 30 รวม 50 ค่าเฉลี่ย ร้อยละ แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้จำกชุดกิจกรรมเสริมทักษะทำงวิทยำศำสตร์ เล่ม 7 พันธะโลหะ 25
  • 29. 26 นิพนธ์ตังคณานุรักษ์และคณิตา ตังคณานุรักษ์. เคมีพื้นฐำนและเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แม็ค จํากัด, 2547. ศรีลักษณ์ผลวัฒนะ และประดับ นาคแก้ว. หนังสือเรียนรำยวิชำเคมีเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ภำคเรียนที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แม็ค จํากัด, 2553 ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. หนังสือเรียนรำยวิชำเพิ่มเติมเคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4-6. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพร้าว, 2554. Bishop, M. An Introduction to Chemistry. Carmel : Chiral Publishing Company, 2008. Silberberg, M.S. Chemistry : The Molecular Nature of Matter and Change. 4 th ed. New York : The McGrow-Hill Companies, 2006. บรรณำนุกรม 26
  • 30. 27
  • 31. เกณฑ์กำรให้คะแนนและกำรแปลผลคะแนนที่ได้ คะแนน ผลกำรตอบ กำรแปลผล 10 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ และสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน และสมบูรณ์พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ดีมาก 9 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ และสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน และสมบูรณ์ 8 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ และสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน ดี7 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ และสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน 6 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ และสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง พอใช้ 5 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ หรือสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน และสมบูรณ์พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 4 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ หรือสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน และสมบูรณ์ 3 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ หรือสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน ปรับปรุง 2 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ หรือสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง ครบถ้วน 1 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ หรือสมบัติของโลหะได้ถูกต้อง 0 อธิบายการเกิดพันธะโลหะ หรือสมบัติของโลหะไม่ได้ เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 28
  • 32. 1. ธาตุ 19 9A,32 16X, 28 14B,และ 85 37Y สร้างพันธะโลหะได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 2. โลหะสะท้อนแสงได้เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................................. 3. ธาตุคู่ใดต่อไปนี้ ที่สามารถนํามาหลอมรวมกันเป็นโลหะอัลลอยได้ดี เพราะเหตุใด 3.1) Fe กับ Mn 3.2) Na กับ Fe 3.3) Na กับ K 3.4) K กับ Al ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 4. กําหนดธาตุให้ดังนี้ 23 11X, 24 12Y,133 55P,137 56Qธาตุใดมีจุดหลอมเหลวสูงสุดและตํ่าสุด เพราะเหตุใด ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 5. จงอธิบายว่าเพราะเหตุใดโลหะจึงยืดออกเป็นแผ่นบางๆ ได้ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 19 9A สร้างพันธะโลหะไม่ได้ เพราะ อยู่หมู่ VIIA มีสมบัติเป็นอโลหะ 32 16X สร้างพันธะโลหะไม่ได้ เพราะ อยู่หมู่ VIA มีสมบัติเป็นอโลหะ28 14B สร้างพันธะโลหะไม่ได้ เพราะ อยู่หมู่ IVA มีสมบัติเป็นกึ่งโลหะ85 37Y สร้างพันธะโลหะได้ เพราะ อยู่หมู่ IA มีสมบัติเป็นโลหะ มีค่า IE1 ตํ่า เสียอิเล็กตรอนได้ง่าย เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 เกิดจากกลุ่มอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่โดยอิสระกระทบกับคลื่นแสง ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดการกระจายแสงได้ อัลลอย เป็นโลหะที่เกิดจากโลหะที่มีอะตอมขนาดใกล้เคียงกัน ส่วนใหญ่จึงเป็นโลหะผสมของธาตุแทรนซิชัน ดังนั้น ธาตุคู่ที่สามารถเกิดเป็นโลหะอัลลอยได้ก็คือ Fe กับ Mn ธาตุ X อยู่ หมู่ 1 คาบ 3 ธาตุ Y อยู่หมู่ 2 คาบ 3 ธาตุ P อยู่หมู่ 1 คาบ 6 ธาตุ Q อยู่หมุ่ 2 คาบ 6 และเนื่องจากธาตุที่มีความแข็งแรงมากจุดหลอมเหลวจะสูง ขึ้นอยู่กับ จํานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน มากกว่าและมีขนาดอะตอมเล็กกว่า ดังนั้น ธาตุที่มีจุดหลอมเหลวสูงสุด คือ ธาตุ Q และธาตุที่มีจุดหลอมเหลวตํ่าสุด คือ ธาตุ X เกิดจากการเลื่อนไถลของอนุภาค โดยไม่หลุดแยกจากกัน เพราะมีกลุ่มอิเล็กตรอนในทะเลอิเล็กตรอนช่วยยึดเหนี่ยวไว้ 29
  • 33. เฉลยใบกิจกรรมที่ 3 กำรให้คะแนนและกำรแปลผลคะแนนแผนที่ควำมคิด (Mind Mapping) ข้อ รำยกำรปฏิบัติ ระดับกำรปฏิบัติ 1 2 3 1 ให้ใช้หัวข้อใหญ่ไว้ตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ รองลงมาเป็นหัวข้อย่อย และตัวอย่าง 2 มีการใช้คําที่เชื่อมโยงและสัมพันธ์กัน 3 เขียนคําตัวใหญ่ สะดุดตา อ่านง่าย 4 เขียนคําเหนือเส้นใต้แต่ละเส้นและเชื่อมต่อกับเส้นอื่นๆ 5 ใช้สีช่วยแยกประเภทในแผนที่ความคิด 6 คําแต่ละคํา มีลักษณะเป็น "หน่วย" โดยแต่ละคําเชื่อมโยงกับคําอื่นๆ ได้อย่างอิสระ 7 มีความคิดอิสระ 8 เขียนเนื้ อหาสาระ ได้ครบถ้วนครอบคลุมตามที่กําหนด 9 สีสันสวยงาม น่ามอง 10 ความสะอาดในแผนที่ความคิด รวม เฉลยใบกิจกรรมที่ 3 30
  • 34. 30 31 เกณฑ์กำรประเมิน คะแนน 10 – 14 หมายถึง ปรับปรุง คะแนน 15 – 18 หมายถึง พอใช้ คะแนน 19 – 23 หมายถึง ปานกลาง คะแนน 24 – 26 หมายถึง ดี คะแนน 27 – 30 หมายถึง ดีมาก แบบทดสอบ ก่อนเรียน (Pre-Test) แบบทดสอบ หลังเรียน (Post-Test) ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย 1 ข 1 ง 2 ง 2 ก 3 ข 3 ค 4 ง 4 ข 5 ก 5 ก 6 ค 6 ก 7 ค 7 ง 8 ก 8 ง 9 ข 9 ค 10 ค 10 ข เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 31