SlideShare a Scribd company logo
บทเรียนสาเร็จรู ป
เสริมสร้ างคุณธรรม จริยธรรม
เรื่อง ระบบไหลเวียนเลือด
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์
ิ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4

โดย
นายสุ รชัย ผิวเหลือง

โรงเรียนพะโต๊ ะวิทยา
อาเภอพะโต๊ ะ จังหวัดชุ มพร
สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 11
้ ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน
้
กระทรวงศึกษาธิการ
คาแนะนาสาหรับนักเรี ยน

บทเรี ยนสาเร็จรู ปนี้ จัดทาขึ้นเพื่อให้นกเรี ยนศึกษาด้วยตนเอง โปรดอ่าน
ั
คาแนะนาก่อนศึกษาบทเรี ยน ดังต่อไปนี้
1. บทเรี ยนนี้ไม่ใช่ขอสอบ นักเรี ยนไม่ตองกังวลใจ ค่อย ๆทาไปเรื่ อย ๆ ทีละกรอบ
้
้
นักเรี ยนจะได้รับความรู ้ ได้ทาแบบฝึ กหัดและได้ทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตัวของนักเรี ยนเอง
2. ก่อนที่นกเรี ยนจะศึกษา ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนเพื่อวัดพื้นฐานความรู ้
ั
ั
เดิม
3. เริ่ มทาตั้งแต่กรอบแรกเรี ยงไปตามลาดับ โดยไม่ขามกรอบใดกรอบหนึ่ง
้
4. อ่านคาอธิบายและคาถามช้า ๆ ให้เข้าใจ แล้วจึงเขียนคาตอบลงในกระดาษอื่น
อย่าขีดเขียนลงในบทเรี ยนสาเร็จรู ปนี้
5. เมื่อตอบคาถามเสร็จกรอบหนึ่ง แล้วจึงเปิ ดไปดูคาตอบในกรอบต่อไป เพื่อตรวจ
คาตอบว่าตอบถูกหรื อไม่ ถ้าตอบถูกก็จงทากรอบต่อไป
่
6. ถ้าคาตอบผิด จงย้อนอ่านข้อความในกรอบที่ผานมาให้เข้าใจ แล้วตอบคาถาม
7. ทาไปเรื่ อย ๆ ไม่ตองรี บร้อน ถ้าเบื่อก็ให้พกสักครู่ แล้วกลับมาทาใหม่
้
ั
8. เมื่อศึกษาจบทุกกรอบแล้ว ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน เสร็จแล้วตรวจคาตอบ
ั
เพื่อดูผลความก้าวหน้าของตนเอง
9. นักเรี ยนจะต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิ ดดูคาตอบก่อนหรื อในขณะปฏิบติกิจกรรม
ั
10. เก็บอุปกรณ์การเรี ยนให้เรี ยบร้อย ภายหลังเสร็จสิ้ นภารกิจ
แบบทดสอบก่อนเรี ยน
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด เพียงคาตอบเดียว
ั
1. เลือดจากร่ างกายเข้าสู่ หวใจที่ใด
ั
ก. ห้องบนขวา
ข. ห้องบนซ้าย
ข. ห้องล่างขวา
ง. ห้องล่างซ้าย
่
่
2. โปรตีนที่ยอยแล้วเป็ นกรดอะมิโน อยูส่วนใดของเลือด
ก. พลาสมา
ข. เกล็ดเลือด
ค. เม็ดเลือดแดง
ง. เม็ดเลือดขาว
3. เม็ดเลือดแดงของคนวัยผูใหญ่จะสร้างที่ใด
้
ก. ตับ
ข. ม้าม
ค. ไขกระดูก
ง. เส้นเลือด
4. เม็ดเลือดขาวมีหน้าที่อะไร
ก. ลาเลียงน้ า
ข. ลาเลียงอาหาร
ค. ทาลายเชื้อโรค
ง. ทาให้เลือดตกตะกอน
5. สารใดในเลือดที่ทาหน้าที่นาออกซิเจน
ก. พลาสมา
ข. เกล็ดเลือด
ค. ฮีโมโกลบิน
ง. ไฟบริ โนเจน
6. หลอดเลือดชนิดใดมีผนังบางมากประกอบด้วยเซลล์ช้ นเดียว
ั
ก. หลอดเลือดดา
ข. หลอดเลือดฝอย
ค. หลอดน้ าเหลือง
ง. หลอดเลือดแดง
7. เกล็ดเลือดช่วยให้เลือดแข็งตัวในกรณี ใด
ก. เลือดจางเกินไป
ข. เลือดออกมีบาดแผล
ค. เลือดขาดวิตามินเค
ง. เลือดขาดเม็ดโลหิตขาว
8. การนับปริ มาณของอะไรในเลือดที่บอกให้ทราบว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้น
ก. น้ าตาล
ข. เกล็ดเลือด
ค. เม็ดเลือดขาว
ง. เม็ดเลือดแดง
9. เซลล์ในข้อใดที่ไม่มีนิวเคลียส
ก. เซลล์เม็ดเลือดแดง
ข. เซลล์เม็ดเลือดขาว
ค. เซลล์กล้ามเนื้อ
ง. เซลล์ประสาท
10. ชีพจรในภาวะปกติจะเต้นกี่ครั้งต่อนาที
ก. 72 ครั้ง
ข. 100 ครั้ง
ค. 120 ครั้ง
ง. 125 ครั้ง
แนวคิด
ระบบไหลเวียนของเลือด เป็ นระบบที่ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร
และออกซิเจนไปยังเซลล์ทวร่ างกายจะอาศัยกระบวนการไหลเวียนเลือด
ั่
ระบบไหลเวียนเลือดประกอบด้วยอวัยวะที่สาคัญ คือ หัวใจ ปอด
เส้นเลือด และเลือด

ผลการเรียนรู้ทคาดหวัง
ี่
1.
2.
3.
4.

บอกความสาคัญของระบบไหลเวียนเลือดได้
บอกอวัยวะที่สาคัญในระบบไหลเวียนเลือดได้
อธิบายหน้าที่และความสัมพันธ์ของอวัยวะในระบบไหลเวียนเลือดได้
เป็ นแบบอย่างที่ดี มีน้ าใจ ช่วยเหลือสังคม และมีความรับผิดชอบ
บทเรียนสาเร็จรู ป
เรื่อง ระบบไหลเวียนเลือด
กรอบที่ 1
ระบบไหลเวียนเลือด
ระบบไหลเวียนเลือด เป็ นระบบที่มีการลาเลียงสารไปยังเซลล์ต่างๆ
ทัวร่ างกาย ระบบไหลเวียนของเลือดแบ่งออกเป็ น 2 ระบบ ดังนี้
่
1. ระบบวงจรเปิ ด พบในสัตว์พวกแมลง หอย และกลุ่มดาวทะเล ซึ่งมี
ช่องว่างในลาตัวคล้ายหลอดเลือด
2. ระบบวงจรปิ ด พบในสัตว์พวกไส้เดือนดิน หมึก และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เลือดจะไหลเวียนไปในหลอดเลือด และจาเป็ นต้องมีหลอดเลือดฝอย
ั
ในการแลกเปลี่ยนสารต่างๆ ระหว่างเซลล์กบเลือด

คาถาม หลอดเลือดฝอยมีความสาคัญอย่างไร
ก. ทางเดินเลือด
ข. เป็ นที่แลกเปลี่ยนสาร
ค. เป็ นที่เก็บน้ าเลือด ง. เป็ นที่เก็บแก๊ส
ดูคาตอบในกรอบต่อไปเรื่ อย ๆ
กรอบที่ 2
ระบบไหลเวียนเลือด
- ระบบไหลเวียนเลือดเป็ นระบบ ที่ทาหน้าที่ลาเลียงสารอาหารและออกซิเจน
ไปเลี้ยงส่ วนต่างๆของร่ างกาย
- ระบบไหลเวียนเลือด ประกอบด้วย หัวใจ ปอด เส้นเลือด และเลือด
- การไหลเวียนของเลือด จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็ นระบบ และทางาน
ตลอดเวลา

คาถาม อวัยวะใดไม่เกี่ยวข้องกับระบบไหลเวียนเลือด
ค. หลอดเลือด
ง. ตับ
คาตอบของกรอบที่ 1
ข. เป็ นที่แลกเปลี่ยนสาร

ก. หัวใจ

ข. ปอด

ค่อย ๆ ศึกษาดูน่ะ ไม่ยากหรอก
กรอบที่ 3
อวัยวะในระบบไหลเวียนเลือด
หัวใจ หัวใจของมนุษย์มีขนาดเท่ากาปั้นของตนเอง หัวใจมีท้ งหมด
ั
4 ห้องคือ ห้องบน 2 ห้อง และห้องล่าง 2 ห้อง
- หัวใจ ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดผ่านทางหลอดเลือด เพื่อไปเลี้ยงเซลล์ทว
ั่
ร่ างกาย และรับเลือดจากร่ างกายและปอด
- หัวใจห้องบนกับหัวใจห้องล่างจะมีลิ้นหัวใจ (valve) ทาหน้าที่ปิด-เปิ ด
ควบคุมการไหลผ่านของเลือดภายในหัวใจ

คาถาม ลิ้นหัวใจทาหน้าที่อะไร
ก. ปิ ด-เปิ ด ควบคุมการไหลผ่านของเลือด
ค. แลกเปลี่ยนก๊าซ
คาตอบของกรอบที่ 2
ง. ตับ

ข. รับเลือดจากร่ างกาย
ง. สู บฉีดเลือด
อย่าลืมดูรูปภาพประกอบ
แล้วพยายาม ทาความเข้าใจ
กรอบที่ 4
่
หัวใจ ลักษณะของหัวใจหัวใจอยูระหว่างปอดทั้ง 2 ข้าง ภายในถุงเยือหุ ม
่ ้
หัวใจซึ่งมีน้ าเหลืองหล่อเลี้ยงอยู่
- ผนังหัวใจประกอบด้วยเนื้อเยือ 3 ชั้น คือชั้นนอกและชั้นในเป็ นเนื้อเยือ
่
่
บุผวบางๆ ชั้นกลางเป็ นกล้ามเนื้อพิเศษที่หนามาก
ิ
- หัวใจของคนเราแบ่งออกเป็ น 4 ห้อง ห้องบน 2 ห้อง เรี ยกว่า เอเตรี ยม
( atrium ) มีหน้าที่รับเลือดจากปอดและร่ างกาย เพื่อส่ งเข้าสู่ เวนตริ เคิล
- ห้องล่าง 2 ห้อง เรี ยกว่า เวนตริ เคิล(ventricle) มีผนังหนามาก เพราะ
ทาหน้าที่สูบเลือดไปเลี้ยงร่ างกาย

คาถาม ผนังหัวใจประกอบด้วยเนื้อเยือกี่ช้ น
่ ั
ก. 1 ชั้น

ข. 2 ชั้น
ค. 3 ชั้น
คาตอบของกรอบที่ 3
ก. ปิ ด- เปิ ด ควบคุมการไหลผ่านของเลือด

ง. 4 ชั้น
ศึกษาไปทีละขั้น
เหนื่อยก็พกได้นะค่ะ
ั
กรอบที่ 5
หัวใจ
หัวใจ มีหลอดเลือดที่นาเลือดมาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เรี ยกว่า โคโรนารี อาร์เทอรี่
(coronary arterices) ซึ่งมี 2 เส้น จะแตกแขนงไปเลี้ยงทุกส่ วนของเนื้อเยือหัวใจ
่
- เมื่อเลือดมาเลี้ยงหัวใจแล้ว บางส่ วนจะไหลกลับเข้าสู่ หวใจทางโคโรนารี เวน
ั
( coronary vein )

คาถาม หลอดเลือดที่นาเลือดมาเลี้ยงหัวใจข้อใด
ก. โคโรนารี อาร์เทอรี่ ข. โคโรนารี เวน
ค. ไตรคัสพิด
ง. เวนตริ เคิล
คาตอบของกรอบที่ 4
ค. 3 ชั้น

ทาได้ใช่ไหม
เก่งจัง
กรอบที่ 6
การทางานของหัวใจ
- ภายในหัวใจมีกล้ามเนื้อหัวใจทาหน้าที่สูบฉีดเลือดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมาก
- หัวใจคนปกติทวไปจะเต้น 72 ครั้งต่อนาที โดยที่สามารถหดและคลายตัวเป็ น
ั่
จังหวะ ตอนบีบตัวจะฉี ดเลือดออกจากหัวใจ ตอนคลายตัวจะสู บเลือดเข้าสู่ หวใจ
ั
- การบีบตัวของหัวใจจะทาให้เกิดแรงดันภายในหลอดเลือด ประมาณ 110-120
มิลลิเมตรปรอท ซึ่งถือเป็ นความดันเลือดของคนปกติที่สุขภาพดี

คาถาม ถ้าเลือดเข้าสู่ หวใจ กล้ามเนื้อหัวใจจะทางานในลักษณะใด
ั
ก.คลายตัว
ข. บีบรัดตัว
ค. สู บฉีดเลือด
ง. หดตัว
คาตอบของกรอบที่ 5
ก. โคโรนารี อาร์เทอรี่

อย่าเพิ่งหยุดนะค่ะข้างหน้า
ยังมีสิ่งที่น่าสนใจรออยู่
กรอบที่ 7
การหมุนเวียนของเลือดผ่ านหัวใจ
- หัวใจห้องเอเตรี ยมขวา รับเลือดจากหลอดเลือดดาชื่อซุพีเรี ยเวนาคาวา (superior
vena cava) ซึ่งนาเลือดมาจากหัวและแขน
- รับเลือดจากหลอดเลือดดาชื่ออินฟี เรี ยเวนาคาวา (inferior vena cava) จากลาตัว และ
ขาเข้าสู่ หวใจ เมื่อเลือดเข้าสู่ หวใจสู่ เวนตริ เคิลขวา ผ่านลิ้นไตรคัสพิด(tricuspid valve)
ั
ั
- เมื่อเวนตริ เคิลขวาบีบตัว เลือดจะผ่านลิ้นพัลโมนารี เซมิลูนาร์ เปิ ดเข้าสู่
หลอดเลือดแดง (พัลโมนารี อาร์เทอรี่ ) เพื่อไปแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
และรับออกซิเจนจากปอด กลับเข้าสู่ หวใจ
ั

คาถาม เส้นเลือดจากลาตัวและขา เรี ยกว่าอะไร
ก. เวนตริ เคิล
ข. พัลโมนารี เซมิลูนาร์
ค. ซุพีเรี ยเวนาคาวา
ง. อินฟี เรี ยเวนาคาวา
คาตอบของกรอบที่ 6
ก.คลายตัว

ถ้าไม่เข้าใจอย่าพึ่งท้อ
ลองกลับไปดูใหม่อีกครั้ง
กรอบที่ 8
หลอดเลือด
่
- หลอดเลือดมีอยูทุกส่ วนของร่ างกาย ทาหน้าที่นาสารอาหารและแก๊สออกซิเจน
เพื่อไปเลี้ยงส่ วนต่างๆของร่ างกาย การจาแนกหลอดเลือดตามขนาดและหน้าที่
สามารถแบ่งได้ 3 ชนิด คือ
1. หลอดเลือดแดง 2. หลอดเลือดดา 3. หลอดเลือดฝอย
- ขณะหัวใจบีบตัว เลือดจะถูกดันไปตามหลอดเลือดแดงด้วยความดันสู งมีผลทาให้
หลอดเลือดขยายตัว การหดตัวและขยายตัวของหลอดเลือดนี้ เรี ยกว่า ชีพจร

คาถาม หลอดเลือดที่เราใช้วดชีพจร เป็ นหลอดเลือดชนิดใด
ั
ก. หลอดเลือดแดง
ข. หลอดเลือดดา
ค. หลอดเลือดฝอย ง. ถูกทุกข้อ

คาตอบของกรอบที่ 7
ง. อินฟี เรี ยเวนาคาวา
กรอบที่ 9
เลือด
่
- ในร่ างกายของคนเรามีเลือดอยูประมาณ 6 ลิตร (6,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร)
- เลือดของคนเราประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้
1. ส่ วนที่เป็ นของเหลว คือน้ าเลือดหรื อพลาสมา ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์
ประกอบด้วยน้ าและสารต่างๆ เช่น กรดอะมิโน กรดไขมัน กลีเซอรอล น้ าตาลกลูโคส
2. ส่ วนที่เป็ นของแข็ง ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ ประกอบด้วย
2.1 เซลล์เม็ดเลือดแดง (red blood cell ) มีลกษณะกลมแบน ตรงกลางเว้าไม่มี
ั
่
นิวเคลียส เป็ นที่อยูของฮีโมโกลบิน ซึ่งจะรวมตัวกับแก๊สออกซิเจน เป็ นสารประกอบ

่
คาถาม สารชนิดใดที่ไม่ได้อยูพลาสมา
ก. กรดอะมิโน
ค. กรดไขมัน
คาตอบของกรอบที่ 8
ก. หลอดเลือดแดง

ข. ฮีโมโกลบิน
ง. กลีเซอรอล
กรอบที่ 10
เลือด
2.1 เซลล์เม็ดเลือดขาว ( white blood cell) มีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดงและ
มีนิวเคลียส เซลล์เม็ดเลือดขาว มีหลายชนิดและรู ปร่ างต่างกัน มีหน้าที่ทาลายเชื้อโรค
และสิ่ งแปลกปลอมที่เข้าสู่ ร่างกาย การทาลายเชื้อโรคของเม็ดเลือดขาวทาได้โดยการ
นากลับสู่ เซลล์แล้วย่อยสลาย และการสร้างสารเคมี เรี ยกว่า แอนติบอดี
2.2 เกล็ดเลือด ( platelets ) เป็ นส่ วนของเซลล์ที่มีรูปร่ างเป็ นแผ่นเล็กๆ ไม่มี
นิวเคลียส มีหน้าที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือดเมื่อเกิดบาดแผล

เซลล์เม็ดเลือดแดง

เซลล์เม็ดเลือดขาว

เซลล์เกล็ดเลือด

คาถาม สารในข้อใดที่เม็ดเลือดขาวสร้างขึ้นมาทาลายเชื้อโรค
ก. กรดอะมิโน
ข. ฮีโมโกลบิน
ค. แอนติบอดี
ง. กลีเซอรอล

คาตอบของกรอบที่ 9
ข. ฮีโมโกลบิน

ทาได้ไม่ยากเลย
พยายามหน่อยนะครับ
กรอบที่ 11
หลอดเลือดหรือเส้ นเลือด ( blood vessel ) มีอยู่ 3 ชนิด
1. หลอดเลือดแดง (arteries) เป็ นหลอดเลือดที่นาเลือดออกจากหัวใจ มีผนัง
่
เหนียวและยืดหยุนได้มีกล้ามเนื้อเรี ยบที่หดตัวและขยายตัวได้ดี
2. หลอดเลือดดา ( veins) เป็ นหลอดเลือดที่นาเลือดกลับเข้าสู่ หวใจ เพราะ
ั
ส่ วนใหญ่เป็ นเลือดที่ขาดสารอาหารและออกซิเจน
3. หลอดเลือดฝอย (capillaries) เป็ นหลอดเลือดเล็กๆที่แตกแขนงออกไปจาก
หลอดเลือดแดงกับหลอดเลือดดา ประกอบด้วยเซลล์เพียงชั้นเดียวเป็ นที่
ั
แลกเปลี่ยนก๊าซและสารต่างๆ ระหว่างเซลล์กบเลือด

คาถาม การแลกเปลี่ยนก๊าซจะเกิดขึ้นที่หลอดเลือดชนิดใด
ก. หลอดเลือดดา ข. หลอดเลือดแดง ค. หลอดเลือดฝอย
คาตอบของกรอบที่ 10
ค. แอนติบอดี

ง. เกิดขึ้นทุกตาแหน่ง

สู ้ สู ้ ใกล้สาเร็จแล้ว
กรอบที่ 12
ความดันเลือด เกิดขึ้นเนื่องจากการบีบและคลายตัวของหัวใจ
- ขณะที่หวใจบีบตัว เลือดจะถูกดันให้ไหลไปตามหลอดเลือดแดง ด้วยความ
ั
ดันสู ง สามารถวัดความดันได้ที่หลอดเลือดแดงต้นแขน
- ขณะที่หวใจคลายตัว เลือดจะไหลกลับเข้าสู่ หวใจตามหลอดเลือดดา ด้วยความดันต่า
ั
ั
- ปกติผใหญ่มีความดัน 120 / 80 มิลลิเมตรของปรอท โดยทัวไปหัวใจบีบตัวจะมี
ู้
่
ค่าประมาณ 100 + อายุ และหัวใจคลายตัวรับเลือดเข้าสู่ หวใจไม่เกิน 90 มิลลิเมตร
ั
่ ั
- ค่าความดันขึ้นอยูกบ เพศ อายุ ขนาดของร่ างกาย อารมณ์ การทางาน อริ ยบท

ตาแหน่งที่สามารถจับชีพจรได้
ข้อมือ

ข้อพับ

ต้นคอ

คาถาม การวัดความดันเลือดจะต้องวัดที่หลอดเลือดชนิดใด
ก. หลอดเลือดดา
ข. หลอดเลือดแดง
ค. หลอดเลือดฝอย
ง. วัดได้ทุกตาแหน่ง
คาตอบของกรอบที่ 11
ค. หลอดเลือดฝอย

สบายมากครับ
กรอบที่ 13
เรี ยนเก่งมากที่ทาถูกหมด แสดงว่านักเรี ยนเข้าใจแล้ว

เมื่อเข้าใจแล้ว ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนเลย
จะได้ทราบผลการพัฒนาของตนเอง

คาตอบของกรอบที่ 12
ข. สร้างฮอร์โมน
แบบทดสอบหลังเรี ยน
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด เพียงคาตอบเดียว
ั
1. เลือดจากร่ างกายเข้าสู่ หวใจที่ใด
ั
ก. ห้องบนขวา
ข. ห้องบนซ้าย
ค. ห้องล่างขวา
ง. ห้องล่างซ้าย
่
่
2. โปรตีนที่ยอยแล้วเป็ นกรดอะมิโน อยูส่วนใดของเลือด
ก. พลาสมา
ข. เกล็ดเลือด
ค. เม็ดเลือดแดง
ง. เม็ดเลือดขาว
3. เม็ดเลือดแดงของคนวัยผูใหญ่จะสร้างที่ใด
้
ก. ตับ
ข. ม้าม
ค. ไขกระดูก
ง. เส้นเลือด
4. เม็ดเลือดขาวมีหน้าที่อะไร
ก. ลาเลียงน้ า
ข. ลาเลียงอาหาร
ค. ทาลายเชื้อโรค
ง. ทาให้เลือดตกตะกอน
5. สารใดในเลือดที่ทาหน้าที่นาออกซิเจน
ก. พลาสมา
ข. เกล็ดเลือด
ค. ฮีโมโกลบิน
ง. ไฟบริ โนเจน
6. หลอดเลือดชนิดใดมีผนังบางมากประกอบด้วยเซลล์ช้ นเดียว
ั
ก. หลอดเลือดดา
ข. หลอดเลือดฝอย
ค. หลอดน้ าเหลือง
ง. หลอดเลือดแดง
7. เกล็ดเลือดช่วยให้เลือดแข็งตัวในกรณี ใด
ก. เลือดจางเกินไป
ข. เลือดออกมีบาดแผล
ค. เลือดขาดวิตามินเค
ง. เลือดขาดเม็ดโลหิตขาว
8. การนับปริ มาณของอะไรในเลือดที่บอกให้ทราบว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้น
ก. น้ าตาล
ข. เกล็ดเลือด
ค. เม็ดเลือดขาว
ง. เม็ดเลือดแดง
9. เซลล์ในข้อใดที่ไม่มีนิวเคลียส
ก. เซลล์เม็ดเลือดแดง
ข. เซลล์เม็ดเลือดขาว
ค. เซลล์กล้ามเนื้อ
ง. เซลล์ประสาท
10. ชีพจรในภาวะปกติจะเต้นกี่ครั้งต่อนาที
ก. 72 ครั้ง
ข. 100 ครั้ง
ค. 120 ครั้ง
ง. 125 ครั้ง
แบบประเมินตนเอง
จากการทาแบบทดสอบ
ก่อนเรียนได ้
หลังเรียนได ้

เกณฑ์การประเมิน
ด้านความรู ้
ถ้านักเรี ยนทาได้ 6 คะแนน ถือว่า ผ่าน
ถ้านักเรี ยนทาได้ 7 - 8 คะแนน ถือว่า ดี
ถ้านักเรี ยนทาได้ 9 - 10 คะแนน ถือว่า ดีมาก
คะแนนระหว่างเรี ยนได้

ถ้ านักเรียนพิจารณาผล แล้ วไม่ เป็ นที่น่าพอใจ
กลับไปทบทวนใหม่ อีกรอบได้ นะครับ

More Related Content

What's hot

วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้สุทน ดอนไพร
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
ระบบกระดูก
ระบบกระดูกระบบกระดูก
ระบบกระดูก
Lilrat Witsawachatkun
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
sukanya petin
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
dnavaroj
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
dnavaroj
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
Thitaree Samphao
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 

What's hot (20)

วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบกระดูก
ระบบกระดูกระบบกระดูก
ระบบกระดูก
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 

Viewers also liked

บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
Krupol Phato
 
บทเรียนสำเร็จรูปคณิต
บทเรียนสำเร็จรูปคณิตบทเรียนสำเร็จรูปคณิต
บทเรียนสำเร็จรูปคณิต
Jantree Samthong
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคChitsanupong Prommawan
 
Statistic chapter 1 & 2
Statistic chapter 1 & 2Statistic chapter 1 & 2
Statistic chapter 1 & 2
Sekolah Djuwita
 
ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิตระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิต
Thaweekoon Intharachai
 
จำล้ำหน้าด้วยเทคโนโลยี
จำล้ำหน้าด้วยเทคโนโลยีจำล้ำหน้าด้วยเทคโนโลยี
จำล้ำหน้าด้วยเทคโนโลยี
nenogtazaha
 
Histogram
HistogramHistogram
Histogram
ruhanaahmad
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
tuiye
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยthaneerat
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
Wichai Likitponrak
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
วรรณิภา ไกรสุข
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
วราภรณ์ หลายทวีวัฒน์
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
ครูอ้อ วิรยา
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 

Viewers also liked (20)

บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
บทเรียนสำเร็จรูปคณิต
บทเรียนสำเร็จรูปคณิตบทเรียนสำเร็จรูปคณิต
บทเรียนสำเร็จรูปคณิต
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
 
4 statistic
4 statistic4 statistic
4 statistic
 
Statistic chapter 1 & 2
Statistic chapter 1 & 2Statistic chapter 1 & 2
Statistic chapter 1 & 2
 
ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิตระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิต
 
จำล้ำหน้าด้วยเทคโนโลยี
จำล้ำหน้าด้วยเทคโนโลยีจำล้ำหน้าด้วยเทคโนโลยี
จำล้ำหน้าด้วยเทคโนโลยี
 
Histogram
HistogramHistogram
Histogram
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 

Similar to บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
joongka3332
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)kookoon11
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดkrutoyou
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
tuiye
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
Tatsawan Khejonrak
 
Heart
HeartHeart
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์kanitnun
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
Health
HealthHealth
Health
UsableLabs
 
Plan8.4
Plan8.4Plan8.4
Plan8.4
Zunakoe Naja
 
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
Kankamol Kunrat
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
answer
answeranswer
answer
Soi Noi Na
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1
สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1
สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1
KruKwang Adisorn
 

Similar to บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด (20)

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
Heart
HeartHeart
Heart
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Health
HealthHealth
Health
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
Plan8.4
Plan8.4Plan8.4
Plan8.4
 
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
ชีพจร
ชีพจรชีพจร
ชีพจร
 
answer
answeranswer
answer
 
Ppt circuratory
Ppt circuratoryPpt circuratory
Ppt circuratory
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1
สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1
สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1
 

More from Krupol Phato

06 การขอสอบใหม่
06 การขอสอบใหม่06 การขอสอบใหม่
06 การขอสอบใหม่
Krupol Phato
 
05 การส่งใบงาน
05 การส่งใบงาน05 การส่งใบงาน
05 การส่งใบงาน
Krupol Phato
 
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
Krupol Phato
 
03 การเข้าเรียน
03 การเข้าเรียน03 การเข้าเรียน
03 การเข้าเรียน
Krupol Phato
 
02 คู่มือการสมัครสมาชิก
02 คู่มือการสมัครสมาชิก02 คู่มือการสมัครสมาชิก
02 คู่มือการสมัครสมาชิก
Krupol Phato
 
01 วัตถุประสงค์การอบรม
01 วัตถุประสงค์การอบรม01 วัตถุประสงค์การอบรม
01 วัตถุประสงค์การอบรม
Krupol Phato
 
บทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classromบทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classrom
Krupol Phato
 
ตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง Krupol555 style
ตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง  Krupol555 styleตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง  Krupol555 style
ตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง Krupol555 style
Krupol Phato
 
Fill in the blank quiz
Fill in the blank quizFill in the blank quiz
Fill in the blank quiz
Krupol Phato
 
Multiple choice multichoice quiz
Multiple choice multichoice quizMultiple choice multichoice quiz
Multiple choice multichoice quiz
Krupol Phato
 
Multiple choice quiz
Multiple choice quizMultiple choice quiz
Multiple choice quiz
Krupol Phato
 
True or false quiz
True or false quizTrue or false quiz
True or false quiz
Krupol Phato
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์
ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์
ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์Krupol Phato
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์Krupol Phato
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯคู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯKrupol Phato
 
การสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเรา
การสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเราการสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเรา
การสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเราKrupol Phato
 
ศยามล เหมยม
ศยามล  เหมยมศยามล  เหมยม
ศยามล เหมยมKrupol Phato
 

More from Krupol Phato (20)

06 การขอสอบใหม่
06 การขอสอบใหม่06 การขอสอบใหม่
06 การขอสอบใหม่
 
05 การส่งใบงาน
05 การส่งใบงาน05 การส่งใบงาน
05 การส่งใบงาน
 
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
 
03 การเข้าเรียน
03 การเข้าเรียน03 การเข้าเรียน
03 การเข้าเรียน
 
02 คู่มือการสมัครสมาชิก
02 คู่มือการสมัครสมาชิก02 คู่มือการสมัครสมาชิก
02 คู่มือการสมัครสมาชิก
 
01 วัตถุประสงค์การอบรม
01 วัตถุประสงค์การอบรม01 วัตถุประสงค์การอบรม
01 วัตถุประสงค์การอบรม
 
บทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classromบทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classrom
 
ตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง Krupol555 style
ตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง  Krupol555 styleตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง  Krupol555 style
ตัวอย่างการเฉลยตามแนวทาง Krupol555 style
 
Fill in the blank quiz
Fill in the blank quizFill in the blank quiz
Fill in the blank quiz
 
Multiple choice multichoice quiz
Multiple choice multichoice quizMultiple choice multichoice quiz
Multiple choice multichoice quiz
 
Multiple choice quiz
Multiple choice quizMultiple choice quiz
Multiple choice quiz
 
True or false quiz
True or false quizTrue or false quiz
True or false quiz
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์
ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์
ลำดับรายชื่อสอบท่อง Phylum สัตว์
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯคู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการฯ
 
Manual tablet
Manual tabletManual tablet
Manual tablet
 
การสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเรา
การสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเราการสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเรา
การสร้างหน้าเพจเพิ่มเติมจาก Facebook ของเรา
 
ศยามล เหมยม
ศยามล  เหมยมศยามล  เหมยม
ศยามล เหมยม
 

บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด

  • 1. บทเรียนสาเร็จรู ป เสริมสร้ างคุณธรรม จริยธรรม เรื่อง ระบบไหลเวียนเลือด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ ิ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดย นายสุ รชัย ผิวเหลือง โรงเรียนพะโต๊ ะวิทยา อาเภอพะโต๊ ะ จังหวัดชุ มพร สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 11 ้ ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน ้ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คาแนะนาสาหรับนักเรี ยน บทเรี ยนสาเร็จรู ปนี้ จัดทาขึ้นเพื่อให้นกเรี ยนศึกษาด้วยตนเอง โปรดอ่าน ั คาแนะนาก่อนศึกษาบทเรี ยน ดังต่อไปนี้ 1. บทเรี ยนนี้ไม่ใช่ขอสอบ นักเรี ยนไม่ตองกังวลใจ ค่อย ๆทาไปเรื่ อย ๆ ทีละกรอบ ้ ้ นักเรี ยนจะได้รับความรู ้ ได้ทาแบบฝึ กหัดและได้ทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตัวของนักเรี ยนเอง 2. ก่อนที่นกเรี ยนจะศึกษา ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนเพื่อวัดพื้นฐานความรู ้ ั ั เดิม 3. เริ่ มทาตั้งแต่กรอบแรกเรี ยงไปตามลาดับ โดยไม่ขามกรอบใดกรอบหนึ่ง ้ 4. อ่านคาอธิบายและคาถามช้า ๆ ให้เข้าใจ แล้วจึงเขียนคาตอบลงในกระดาษอื่น อย่าขีดเขียนลงในบทเรี ยนสาเร็จรู ปนี้ 5. เมื่อตอบคาถามเสร็จกรอบหนึ่ง แล้วจึงเปิ ดไปดูคาตอบในกรอบต่อไป เพื่อตรวจ คาตอบว่าตอบถูกหรื อไม่ ถ้าตอบถูกก็จงทากรอบต่อไป ่ 6. ถ้าคาตอบผิด จงย้อนอ่านข้อความในกรอบที่ผานมาให้เข้าใจ แล้วตอบคาถาม 7. ทาไปเรื่ อย ๆ ไม่ตองรี บร้อน ถ้าเบื่อก็ให้พกสักครู่ แล้วกลับมาทาใหม่ ้ ั 8. เมื่อศึกษาจบทุกกรอบแล้ว ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน เสร็จแล้วตรวจคาตอบ ั เพื่อดูผลความก้าวหน้าของตนเอง 9. นักเรี ยนจะต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิ ดดูคาตอบก่อนหรื อในขณะปฏิบติกิจกรรม ั 10. เก็บอุปกรณ์การเรี ยนให้เรี ยบร้อย ภายหลังเสร็จสิ้ นภารกิจ
  • 3. แบบทดสอบก่อนเรี ยน คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด เพียงคาตอบเดียว ั 1. เลือดจากร่ างกายเข้าสู่ หวใจที่ใด ั ก. ห้องบนขวา ข. ห้องบนซ้าย ข. ห้องล่างขวา ง. ห้องล่างซ้าย ่ ่ 2. โปรตีนที่ยอยแล้วเป็ นกรดอะมิโน อยูส่วนใดของเลือด ก. พลาสมา ข. เกล็ดเลือด ค. เม็ดเลือดแดง ง. เม็ดเลือดขาว 3. เม็ดเลือดแดงของคนวัยผูใหญ่จะสร้างที่ใด ้ ก. ตับ ข. ม้าม ค. ไขกระดูก ง. เส้นเลือด 4. เม็ดเลือดขาวมีหน้าที่อะไร ก. ลาเลียงน้ า ข. ลาเลียงอาหาร ค. ทาลายเชื้อโรค ง. ทาให้เลือดตกตะกอน 5. สารใดในเลือดที่ทาหน้าที่นาออกซิเจน ก. พลาสมา ข. เกล็ดเลือด ค. ฮีโมโกลบิน ง. ไฟบริ โนเจน
  • 4. 6. หลอดเลือดชนิดใดมีผนังบางมากประกอบด้วยเซลล์ช้ นเดียว ั ก. หลอดเลือดดา ข. หลอดเลือดฝอย ค. หลอดน้ าเหลือง ง. หลอดเลือดแดง 7. เกล็ดเลือดช่วยให้เลือดแข็งตัวในกรณี ใด ก. เลือดจางเกินไป ข. เลือดออกมีบาดแผล ค. เลือดขาดวิตามินเค ง. เลือดขาดเม็ดโลหิตขาว 8. การนับปริ มาณของอะไรในเลือดที่บอกให้ทราบว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้น ก. น้ าตาล ข. เกล็ดเลือด ค. เม็ดเลือดขาว ง. เม็ดเลือดแดง 9. เซลล์ในข้อใดที่ไม่มีนิวเคลียส ก. เซลล์เม็ดเลือดแดง ข. เซลล์เม็ดเลือดขาว ค. เซลล์กล้ามเนื้อ ง. เซลล์ประสาท 10. ชีพจรในภาวะปกติจะเต้นกี่ครั้งต่อนาที ก. 72 ครั้ง ข. 100 ครั้ง ค. 120 ครั้ง ง. 125 ครั้ง
  • 5. แนวคิด ระบบไหลเวียนของเลือด เป็ นระบบที่ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร และออกซิเจนไปยังเซลล์ทวร่ างกายจะอาศัยกระบวนการไหลเวียนเลือด ั่ ระบบไหลเวียนเลือดประกอบด้วยอวัยวะที่สาคัญ คือ หัวใจ ปอด เส้นเลือด และเลือด ผลการเรียนรู้ทคาดหวัง ี่ 1. 2. 3. 4. บอกความสาคัญของระบบไหลเวียนเลือดได้ บอกอวัยวะที่สาคัญในระบบไหลเวียนเลือดได้ อธิบายหน้าที่และความสัมพันธ์ของอวัยวะในระบบไหลเวียนเลือดได้ เป็ นแบบอย่างที่ดี มีน้ าใจ ช่วยเหลือสังคม และมีความรับผิดชอบ
  • 6. บทเรียนสาเร็จรู ป เรื่อง ระบบไหลเวียนเลือด กรอบที่ 1 ระบบไหลเวียนเลือด ระบบไหลเวียนเลือด เป็ นระบบที่มีการลาเลียงสารไปยังเซลล์ต่างๆ ทัวร่ างกาย ระบบไหลเวียนของเลือดแบ่งออกเป็ น 2 ระบบ ดังนี้ ่ 1. ระบบวงจรเปิ ด พบในสัตว์พวกแมลง หอย และกลุ่มดาวทะเล ซึ่งมี ช่องว่างในลาตัวคล้ายหลอดเลือด 2. ระบบวงจรปิ ด พบในสัตว์พวกไส้เดือนดิน หมึก และสัตว์มีกระดูกสันหลัง เลือดจะไหลเวียนไปในหลอดเลือด และจาเป็ นต้องมีหลอดเลือดฝอย ั ในการแลกเปลี่ยนสารต่างๆ ระหว่างเซลล์กบเลือด คาถาม หลอดเลือดฝอยมีความสาคัญอย่างไร ก. ทางเดินเลือด ข. เป็ นที่แลกเปลี่ยนสาร ค. เป็ นที่เก็บน้ าเลือด ง. เป็ นที่เก็บแก๊ส ดูคาตอบในกรอบต่อไปเรื่ อย ๆ
  • 7. กรอบที่ 2 ระบบไหลเวียนเลือด - ระบบไหลเวียนเลือดเป็ นระบบ ที่ทาหน้าที่ลาเลียงสารอาหารและออกซิเจน ไปเลี้ยงส่ วนต่างๆของร่ างกาย - ระบบไหลเวียนเลือด ประกอบด้วย หัวใจ ปอด เส้นเลือด และเลือด - การไหลเวียนของเลือด จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็ นระบบ และทางาน ตลอดเวลา คาถาม อวัยวะใดไม่เกี่ยวข้องกับระบบไหลเวียนเลือด ค. หลอดเลือด ง. ตับ คาตอบของกรอบที่ 1 ข. เป็ นที่แลกเปลี่ยนสาร ก. หัวใจ ข. ปอด ค่อย ๆ ศึกษาดูน่ะ ไม่ยากหรอก
  • 8. กรอบที่ 3 อวัยวะในระบบไหลเวียนเลือด หัวใจ หัวใจของมนุษย์มีขนาดเท่ากาปั้นของตนเอง หัวใจมีท้ งหมด ั 4 ห้องคือ ห้องบน 2 ห้อง และห้องล่าง 2 ห้อง - หัวใจ ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดผ่านทางหลอดเลือด เพื่อไปเลี้ยงเซลล์ทว ั่ ร่ างกาย และรับเลือดจากร่ างกายและปอด - หัวใจห้องบนกับหัวใจห้องล่างจะมีลิ้นหัวใจ (valve) ทาหน้าที่ปิด-เปิ ด ควบคุมการไหลผ่านของเลือดภายในหัวใจ คาถาม ลิ้นหัวใจทาหน้าที่อะไร ก. ปิ ด-เปิ ด ควบคุมการไหลผ่านของเลือด ค. แลกเปลี่ยนก๊าซ คาตอบของกรอบที่ 2 ง. ตับ ข. รับเลือดจากร่ างกาย ง. สู บฉีดเลือด อย่าลืมดูรูปภาพประกอบ แล้วพยายาม ทาความเข้าใจ
  • 9. กรอบที่ 4 ่ หัวใจ ลักษณะของหัวใจหัวใจอยูระหว่างปอดทั้ง 2 ข้าง ภายในถุงเยือหุ ม ่ ้ หัวใจซึ่งมีน้ าเหลืองหล่อเลี้ยงอยู่ - ผนังหัวใจประกอบด้วยเนื้อเยือ 3 ชั้น คือชั้นนอกและชั้นในเป็ นเนื้อเยือ ่ ่ บุผวบางๆ ชั้นกลางเป็ นกล้ามเนื้อพิเศษที่หนามาก ิ - หัวใจของคนเราแบ่งออกเป็ น 4 ห้อง ห้องบน 2 ห้อง เรี ยกว่า เอเตรี ยม ( atrium ) มีหน้าที่รับเลือดจากปอดและร่ างกาย เพื่อส่ งเข้าสู่ เวนตริ เคิล - ห้องล่าง 2 ห้อง เรี ยกว่า เวนตริ เคิล(ventricle) มีผนังหนามาก เพราะ ทาหน้าที่สูบเลือดไปเลี้ยงร่ างกาย คาถาม ผนังหัวใจประกอบด้วยเนื้อเยือกี่ช้ น ่ ั ก. 1 ชั้น ข. 2 ชั้น ค. 3 ชั้น คาตอบของกรอบที่ 3 ก. ปิ ด- เปิ ด ควบคุมการไหลผ่านของเลือด ง. 4 ชั้น ศึกษาไปทีละขั้น เหนื่อยก็พกได้นะค่ะ ั
  • 10. กรอบที่ 5 หัวใจ หัวใจ มีหลอดเลือดที่นาเลือดมาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เรี ยกว่า โคโรนารี อาร์เทอรี่ (coronary arterices) ซึ่งมี 2 เส้น จะแตกแขนงไปเลี้ยงทุกส่ วนของเนื้อเยือหัวใจ ่ - เมื่อเลือดมาเลี้ยงหัวใจแล้ว บางส่ วนจะไหลกลับเข้าสู่ หวใจทางโคโรนารี เวน ั ( coronary vein ) คาถาม หลอดเลือดที่นาเลือดมาเลี้ยงหัวใจข้อใด ก. โคโรนารี อาร์เทอรี่ ข. โคโรนารี เวน ค. ไตรคัสพิด ง. เวนตริ เคิล คาตอบของกรอบที่ 4 ค. 3 ชั้น ทาได้ใช่ไหม เก่งจัง
  • 11. กรอบที่ 6 การทางานของหัวใจ - ภายในหัวใจมีกล้ามเนื้อหัวใจทาหน้าที่สูบฉีดเลือดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมาก - หัวใจคนปกติทวไปจะเต้น 72 ครั้งต่อนาที โดยที่สามารถหดและคลายตัวเป็ น ั่ จังหวะ ตอนบีบตัวจะฉี ดเลือดออกจากหัวใจ ตอนคลายตัวจะสู บเลือดเข้าสู่ หวใจ ั - การบีบตัวของหัวใจจะทาให้เกิดแรงดันภายในหลอดเลือด ประมาณ 110-120 มิลลิเมตรปรอท ซึ่งถือเป็ นความดันเลือดของคนปกติที่สุขภาพดี คาถาม ถ้าเลือดเข้าสู่ หวใจ กล้ามเนื้อหัวใจจะทางานในลักษณะใด ั ก.คลายตัว ข. บีบรัดตัว ค. สู บฉีดเลือด ง. หดตัว คาตอบของกรอบที่ 5 ก. โคโรนารี อาร์เทอรี่ อย่าเพิ่งหยุดนะค่ะข้างหน้า ยังมีสิ่งที่น่าสนใจรออยู่
  • 12. กรอบที่ 7 การหมุนเวียนของเลือดผ่ านหัวใจ - หัวใจห้องเอเตรี ยมขวา รับเลือดจากหลอดเลือดดาชื่อซุพีเรี ยเวนาคาวา (superior vena cava) ซึ่งนาเลือดมาจากหัวและแขน - รับเลือดจากหลอดเลือดดาชื่ออินฟี เรี ยเวนาคาวา (inferior vena cava) จากลาตัว และ ขาเข้าสู่ หวใจ เมื่อเลือดเข้าสู่ หวใจสู่ เวนตริ เคิลขวา ผ่านลิ้นไตรคัสพิด(tricuspid valve) ั ั - เมื่อเวนตริ เคิลขวาบีบตัว เลือดจะผ่านลิ้นพัลโมนารี เซมิลูนาร์ เปิ ดเข้าสู่ หลอดเลือดแดง (พัลโมนารี อาร์เทอรี่ ) เพื่อไปแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และรับออกซิเจนจากปอด กลับเข้าสู่ หวใจ ั คาถาม เส้นเลือดจากลาตัวและขา เรี ยกว่าอะไร ก. เวนตริ เคิล ข. พัลโมนารี เซมิลูนาร์ ค. ซุพีเรี ยเวนาคาวา ง. อินฟี เรี ยเวนาคาวา คาตอบของกรอบที่ 6 ก.คลายตัว ถ้าไม่เข้าใจอย่าพึ่งท้อ ลองกลับไปดูใหม่อีกครั้ง
  • 13. กรอบที่ 8 หลอดเลือด ่ - หลอดเลือดมีอยูทุกส่ วนของร่ างกาย ทาหน้าที่นาสารอาหารและแก๊สออกซิเจน เพื่อไปเลี้ยงส่ วนต่างๆของร่ างกาย การจาแนกหลอดเลือดตามขนาดและหน้าที่ สามารถแบ่งได้ 3 ชนิด คือ 1. หลอดเลือดแดง 2. หลอดเลือดดา 3. หลอดเลือดฝอย - ขณะหัวใจบีบตัว เลือดจะถูกดันไปตามหลอดเลือดแดงด้วยความดันสู งมีผลทาให้ หลอดเลือดขยายตัว การหดตัวและขยายตัวของหลอดเลือดนี้ เรี ยกว่า ชีพจร คาถาม หลอดเลือดที่เราใช้วดชีพจร เป็ นหลอดเลือดชนิดใด ั ก. หลอดเลือดแดง ข. หลอดเลือดดา ค. หลอดเลือดฝอย ง. ถูกทุกข้อ คาตอบของกรอบที่ 7 ง. อินฟี เรี ยเวนาคาวา
  • 14. กรอบที่ 9 เลือด ่ - ในร่ างกายของคนเรามีเลือดอยูประมาณ 6 ลิตร (6,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร) - เลือดของคนเราประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้ 1. ส่ วนที่เป็ นของเหลว คือน้ าเลือดหรื อพลาสมา ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ ประกอบด้วยน้ าและสารต่างๆ เช่น กรดอะมิโน กรดไขมัน กลีเซอรอล น้ าตาลกลูโคส 2. ส่ วนที่เป็ นของแข็ง ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ ประกอบด้วย 2.1 เซลล์เม็ดเลือดแดง (red blood cell ) มีลกษณะกลมแบน ตรงกลางเว้าไม่มี ั ่ นิวเคลียส เป็ นที่อยูของฮีโมโกลบิน ซึ่งจะรวมตัวกับแก๊สออกซิเจน เป็ นสารประกอบ ่ คาถาม สารชนิดใดที่ไม่ได้อยูพลาสมา ก. กรดอะมิโน ค. กรดไขมัน คาตอบของกรอบที่ 8 ก. หลอดเลือดแดง ข. ฮีโมโกลบิน ง. กลีเซอรอล
  • 15. กรอบที่ 10 เลือด 2.1 เซลล์เม็ดเลือดขาว ( white blood cell) มีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดงและ มีนิวเคลียส เซลล์เม็ดเลือดขาว มีหลายชนิดและรู ปร่ างต่างกัน มีหน้าที่ทาลายเชื้อโรค และสิ่ งแปลกปลอมที่เข้าสู่ ร่างกาย การทาลายเชื้อโรคของเม็ดเลือดขาวทาได้โดยการ นากลับสู่ เซลล์แล้วย่อยสลาย และการสร้างสารเคมี เรี ยกว่า แอนติบอดี 2.2 เกล็ดเลือด ( platelets ) เป็ นส่ วนของเซลล์ที่มีรูปร่ างเป็ นแผ่นเล็กๆ ไม่มี นิวเคลียส มีหน้าที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือดเมื่อเกิดบาดแผล เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว เซลล์เกล็ดเลือด คาถาม สารในข้อใดที่เม็ดเลือดขาวสร้างขึ้นมาทาลายเชื้อโรค ก. กรดอะมิโน ข. ฮีโมโกลบิน ค. แอนติบอดี ง. กลีเซอรอล คาตอบของกรอบที่ 9 ข. ฮีโมโกลบิน ทาได้ไม่ยากเลย พยายามหน่อยนะครับ
  • 16. กรอบที่ 11 หลอดเลือดหรือเส้ นเลือด ( blood vessel ) มีอยู่ 3 ชนิด 1. หลอดเลือดแดง (arteries) เป็ นหลอดเลือดที่นาเลือดออกจากหัวใจ มีผนัง ่ เหนียวและยืดหยุนได้มีกล้ามเนื้อเรี ยบที่หดตัวและขยายตัวได้ดี 2. หลอดเลือดดา ( veins) เป็ นหลอดเลือดที่นาเลือดกลับเข้าสู่ หวใจ เพราะ ั ส่ วนใหญ่เป็ นเลือดที่ขาดสารอาหารและออกซิเจน 3. หลอดเลือดฝอย (capillaries) เป็ นหลอดเลือดเล็กๆที่แตกแขนงออกไปจาก หลอดเลือดแดงกับหลอดเลือดดา ประกอบด้วยเซลล์เพียงชั้นเดียวเป็ นที่ ั แลกเปลี่ยนก๊าซและสารต่างๆ ระหว่างเซลล์กบเลือด คาถาม การแลกเปลี่ยนก๊าซจะเกิดขึ้นที่หลอดเลือดชนิดใด ก. หลอดเลือดดา ข. หลอดเลือดแดง ค. หลอดเลือดฝอย คาตอบของกรอบที่ 10 ค. แอนติบอดี ง. เกิดขึ้นทุกตาแหน่ง สู ้ สู ้ ใกล้สาเร็จแล้ว
  • 17. กรอบที่ 12 ความดันเลือด เกิดขึ้นเนื่องจากการบีบและคลายตัวของหัวใจ - ขณะที่หวใจบีบตัว เลือดจะถูกดันให้ไหลไปตามหลอดเลือดแดง ด้วยความ ั ดันสู ง สามารถวัดความดันได้ที่หลอดเลือดแดงต้นแขน - ขณะที่หวใจคลายตัว เลือดจะไหลกลับเข้าสู่ หวใจตามหลอดเลือดดา ด้วยความดันต่า ั ั - ปกติผใหญ่มีความดัน 120 / 80 มิลลิเมตรของปรอท โดยทัวไปหัวใจบีบตัวจะมี ู้ ่ ค่าประมาณ 100 + อายุ และหัวใจคลายตัวรับเลือดเข้าสู่ หวใจไม่เกิน 90 มิลลิเมตร ั ่ ั - ค่าความดันขึ้นอยูกบ เพศ อายุ ขนาดของร่ างกาย อารมณ์ การทางาน อริ ยบท ตาแหน่งที่สามารถจับชีพจรได้ ข้อมือ ข้อพับ ต้นคอ คาถาม การวัดความดันเลือดจะต้องวัดที่หลอดเลือดชนิดใด ก. หลอดเลือดดา ข. หลอดเลือดแดง ค. หลอดเลือดฝอย ง. วัดได้ทุกตาแหน่ง คาตอบของกรอบที่ 11 ค. หลอดเลือดฝอย สบายมากครับ
  • 18. กรอบที่ 13 เรี ยนเก่งมากที่ทาถูกหมด แสดงว่านักเรี ยนเข้าใจแล้ว เมื่อเข้าใจแล้ว ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนเลย จะได้ทราบผลการพัฒนาของตนเอง คาตอบของกรอบที่ 12 ข. สร้างฮอร์โมน
  • 19. แบบทดสอบหลังเรี ยน คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด เพียงคาตอบเดียว ั 1. เลือดจากร่ างกายเข้าสู่ หวใจที่ใด ั ก. ห้องบนขวา ข. ห้องบนซ้าย ค. ห้องล่างขวา ง. ห้องล่างซ้าย ่ ่ 2. โปรตีนที่ยอยแล้วเป็ นกรดอะมิโน อยูส่วนใดของเลือด ก. พลาสมา ข. เกล็ดเลือด ค. เม็ดเลือดแดง ง. เม็ดเลือดขาว 3. เม็ดเลือดแดงของคนวัยผูใหญ่จะสร้างที่ใด ้ ก. ตับ ข. ม้าม ค. ไขกระดูก ง. เส้นเลือด 4. เม็ดเลือดขาวมีหน้าที่อะไร ก. ลาเลียงน้ า ข. ลาเลียงอาหาร ค. ทาลายเชื้อโรค ง. ทาให้เลือดตกตะกอน 5. สารใดในเลือดที่ทาหน้าที่นาออกซิเจน ก. พลาสมา ข. เกล็ดเลือด ค. ฮีโมโกลบิน ง. ไฟบริ โนเจน
  • 20. 6. หลอดเลือดชนิดใดมีผนังบางมากประกอบด้วยเซลล์ช้ นเดียว ั ก. หลอดเลือดดา ข. หลอดเลือดฝอย ค. หลอดน้ าเหลือง ง. หลอดเลือดแดง 7. เกล็ดเลือดช่วยให้เลือดแข็งตัวในกรณี ใด ก. เลือดจางเกินไป ข. เลือดออกมีบาดแผล ค. เลือดขาดวิตามินเค ง. เลือดขาดเม็ดโลหิตขาว 8. การนับปริ มาณของอะไรในเลือดที่บอกให้ทราบว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้น ก. น้ าตาล ข. เกล็ดเลือด ค. เม็ดเลือดขาว ง. เม็ดเลือดแดง 9. เซลล์ในข้อใดที่ไม่มีนิวเคลียส ก. เซลล์เม็ดเลือดแดง ข. เซลล์เม็ดเลือดขาว ค. เซลล์กล้ามเนื้อ ง. เซลล์ประสาท 10. ชีพจรในภาวะปกติจะเต้นกี่ครั้งต่อนาที ก. 72 ครั้ง ข. 100 ครั้ง ค. 120 ครั้ง ง. 125 ครั้ง
  • 21. แบบประเมินตนเอง จากการทาแบบทดสอบ ก่อนเรียนได ้ หลังเรียนได ้ เกณฑ์การประเมิน ด้านความรู ้ ถ้านักเรี ยนทาได้ 6 คะแนน ถือว่า ผ่าน ถ้านักเรี ยนทาได้ 7 - 8 คะแนน ถือว่า ดี ถ้านักเรี ยนทาได้ 9 - 10 คะแนน ถือว่า ดีมาก คะแนนระหว่างเรี ยนได้ ถ้ านักเรียนพิจารณาผล แล้ วไม่ เป็ นที่น่าพอใจ กลับไปทบทวนใหม่ อีกรอบได้ นะครับ