SlideShare a Scribd company logo
มิวเทชัน
                      (MUTATION)
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
มิวเทชัน (MUTATION)
มิวเทชัน หรือการกลายพันธุ์ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะพันธุกรรม
และลักษณะที่เปลี่ยนแปลง สามารถจะถ่ายทอดจากชั่วอายุหนึ่งได้ แบ่ง
ออกเป็น 2 ระดับคือ
1.มิวเทชันระดับโครโมโซม(chromosome mutation) คือการกลายพันธุ์ที่
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงโครโมโซม อาจจะเป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ
โครโมโซมหรือการเปลี่ยนแปลงจานวน โครโมโซม
2. มิวเทชันระดับยีน(gene mutation หรือpoint mutation) คือการ
เปลี่ยนแปลงจากยีนหนึ่งไปเป็นอีกยีนหนึ่งซึ่งเป็นผลจาก
การเปลี่ยนแปลงนิวคลีโอไทด์ในโมเลกุลของดีเอ็นเอ


                                                 ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การกลายพันธุ์ในระดับยีน
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนิวคลีโอไทด์ในดีเอ็นเอ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1. การแทนที่คู่เบส (base pair substitution ) คือ การแทนที่คู่เบสในสายโพลี
   นิวคลีโอไทด์ของดีเอ็นเอ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
  1.1 ทรานซิชัน (transition) คือ การแทนทีเ่ บสพิวรีน(A,G) ตัวหนึ่งด้วยเบส
   พิวรีนอีกตัวหนึ่ง หรือเบสไพริมิดีน(T,C) ตัวหนึ่งด้วยเบสไพริมิดนอีกตัวหนึ่ง
                                                                 ี
  1.2 ทรานสเวอร์ชัน (transversion) คือ การแทนที่เบสพิวรีนด้วยเบสไพริมิดีน
   หรือ เบสไพริมิดีนถูกแทนที่ด้วยเบสพิวรีน



                                                          ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การเกิดมิวเทชันเฉพาะที่



                          ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ผลที่จากการเกิดการแทนที่คู่เบส

อาจทาให้สายพอลิเพปไทด์สั้นลงเมื่อเป็นรหัสหยุด หรือ สายยาว
ขึ้นเมื่อรหัสหยุดถูกเปลี่ยน อาจสังเคราะห์กรดอะมิโนตัวเดิม หรือตัวใหม่
ก็ได้ พอลิเพปไทด์ อาจมีคุณสมบัติเหมือนเดิม หรือ เปลียนไป เช่น
                                                       ่
โรค sickle cell anemia เกิดจากกรดอะมิโนตัวที่ 6 ของสายบีตา
เปลี่ยนจาก กรดกลูตามิก เป็น วาลีน ทาให้เม็ดแดงเป็นรูปเคียว




                                                      ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
โรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์
 เกิดจากการเปลียนแปลงลาดับเบสในยีนเป็นตัวอย่างของการเกิดมิวเทชัน
               ่




http://www.mwit.ac.th/~bio/script/mutation.pdf


                                                   ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การเกิดมิวเทชันเฉพาะที่
แบบการแทนที่ของคู่เบส




      ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การกลายพันธุ์ในระดับยีน

2. เฟรมชิฟท์ มิวเทชัน (frameshift mutation) คือ การกลายพันธุ์ที่เกิด
   จากการสูญเสีย หรือการเพิ่มนิวคลีโอไทด์ 1 นิวคลีโอไทด์หรือมากกว่า
   หรือมีทั้งการเพิ่มและการขาดของนิวคลีโอไทด์ในสายพอลินวคลีโอไทด์
                                                         ิ
   ของดีเอ็นเอ ทาให้การถอดรหัสพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไป




                                                       ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การเกิดมิวเทชัน
                 การเกิดการมิวเทชันแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือ
                 1. มิวเทชันที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ (spontaneous
                    mutation)อาจเกิดขึ้นเนื่องจากรังสี สารเคมี อุณหภูมิใน
                    ธรรมชาติ ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ทาให้เกิดการเปลี่ยนตาแหน่ง
                    ไฮโดรเจนอะตอมในโมเลกุลของ เบส(tautomeric shift)
                    หรือการสูญเสียไฮโดรเจนอะตอมในโมเลกุลของเบส
                    (ionization)ทาให้การจับคู่ของเบสผิดไปจากเดิมมีผลทาให้
                    เกิดการแทนที่คู่เบสแบบทรานซิชันหรือทรานสเวอร์ชัน ทา
                    ให้รหัสพันธุกรรมเปลี่ยนไป แต่อัตราการเกิดมิวเทชันชนิด
                    นี้จะต่ามากเช่น เกิดในอัตรา 10-6 หรือ10-5
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
2.การมิวเทชันที่เกิดจากการชักนา(induced mutation)เป็นการกลายพันธุ์
ที่เกิดจากมนุษย์ใช้สิ่งก่อกลายพันธุ์(mutagen)ชักนาให้เกิดขึ้นซึ่งสิ่งก่อ
กลายพันธุ์มีดังนี้

                    2.1. สิ่งก่อกลายพันธุ์ทางกายภาพ(physical mutagen)

            2.2 สิ่งก่อกลายพันธุ์ทางเคมี(chemical mutagen)




                                                          ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
2.1. สิ่งก่อกลายพันธุ์ทางกายภาพ(physical mutagen)ได้แก่ อุณหภูมิ รังสี
ต่างๆ รังสีสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
    ก.รังสีทก่อให้เกิดไอออน(ionizing radiation) รังสีประเภทนี้มีอานาจใน
                 ี่
การทะลุทะลวงผ่านเนื้อเยื่อได้สูง ซึ่งมักจะทาให้เกิดการแตกหักของโครโมโซม
ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโครโมโซมรังสีเหล่านี้ได้แก่ รังสีแอลฟา เบตา
แกมมา นิวตรอน หรือรังสีเอ็กซ์
    ข.รังสีทไม่ก่อให้เกิดไอออน(non ionizing radiation) รังสีประเภทนี้
              ี่
มีอานาจในการทะลุทะลวงผ่านเนื้อเยื่อได้ต่ามักจะทาให้เกิดไทมีนไดเมอร์
(thymine dimer) หรือไซโทซีนไดเมอร์(cytosine dymer) รังสีประเภทนี้
ได้แก่รังสีอัลตราไวโอเลต(UV)


                                                        ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
2.2 สิ่งก่อกลายพันธุ์ทางเคมี (chemical mutagen) ได้แก่
สารเคมีต่างๆซึ่งมีหลายชนิด เช่น

      ก. สารเคมีที่มีสูตรโครงสร้างคล้ายคลึงกับเบสชนิดต่างๆของดีเอ็นเอ
(base analogues) ซึ่งสามารถเข้าแทนที่เบสเหล่านั้นได้ระหว่างที่เกิดการ
จาลองโมเลกุลของ ดีเอ็นเอ ทาให้เกิดการแทนที่คู่เบสและรหัสพันธุกรรมที่
เปลี่ยนแปลงไปสารเคมีเหล่านี้ ได้แก่ 5-โบรโมยูราซิล ,2-อะมิโนพิวรีน
5-โบรโมยูราซิล มีสูตรโครงสร้างคล้ายคลึงกับไทมีน เมื่อเกิดการจาลอง
โมเลกุลของดีเอ็นเอจะสามารถเข้าไปแทนที่ไทมีนได้ และสามารถเกิด
tautomericหรือionizationได้ซึ่งเมื่อเกิดแล้วแทนที่จะจับคู่ กับอะดินีน จะ
ไปจับคู่กับกวานีน เมื่อมีการจาลองโมเลกุลต่อไปอีกจะทาให้เกิดการแทนที่คู่
เบสขึ้นได้                                                  ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ข. สารเคมีททาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสูตรโครงสร้างของเบสซึ่งมีผลทาให้เกิด
              ี่
การแทนที่คู่เบสเช่นเดียวกัน ทาให้รหัสพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไปสารเคมีเหล่านี้
ได้แก่ กรดไนตรัส ไฮดรอกซิลลามีน ไนโตรเจนมัสตาด เอธิลมีเทนซัลโฟเนต
กรดไนตรัส จะทาหน้าที่ดึงหมู่อะมิโนออกจากโมเลกุลของเบสอะดินีน ไซโทซีน และ
กวานีน ทาให้เบสอะดีนีนเปลียนเป็นไฮโปแซนทีน ซึ่งสามารถจับคู่กับเบสไซโทซีน
                             ่
ได้ เบสไซโทซีนเปลี่ยนเป็นยูราซิลซึ่งสามารถจับคู่กับเบสอะดีนีนได้ และเบส
กวานีน เปลี่ยนเป็นแซนทีน ซึ่งสามารถจับคู่กับเบสไซโทซีนได้ดังนั้นเมื่อเกิดการ
จาลองโมเลกุลของดีเอ็นเอจะทาให้เกิดการแทนที่คู่เบสแบบทรานซิชัน




                                                          ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ค. สารเคมีททาให้เกิดการเพิ่มและการขาดของนิวคลีโอไทด์ในโมเลกุลของ
                 ี่
 ดีเอ็นเอซึ่งมีผลทาให้รหัสพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไป สารเคมีเหล่านี้
 ได้แก่ สีย้อมเช่น อะคริดีน ออเรนจ์ ,โพรฟลาวีน
       โมเลกุลของอะคริดีน ออเรนจ์ หรือโพรฟาวีน สามารถเข้าไปแทรกอยู่
 ระหว่างนิวคลีโอไทด์ในโมเลกุลของดีเอ็นเอหรือทาให้โมเลกุลของนิวคลีโอไทด์ท่ี
 ถูกแทรกโดย อะคริดีน ออเรนจ์ หรือโพรฟาวีนหลุดออกมา เมื่อมีการจาลอง
 โมเลกุลของดีเอ็นเอ จะได้โมเลกุลของดีเอ็นเอที่มีการเพิ่มของนิวคลีโอไทด์และ
 การขาดหายไปของนิวคลีโอไทด์ ยีนที่เปลี่ยนแปลงไปนี้อาจจะกลายเป็นยีน
 เด่นหรือยีนด้อยก็ได้ หรืออาจทาให้เกิดการตายขึ้นได้(lethal gene)

มิวทาเจนหลายชนิด เป็น สารก่อมะเร็ง(carcinogen)
                                                         ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ปัจจัยที่ทาให้เกิดมิวเทชัน
ตัวกระตุ้นหรือตัวชักนาให้เกิดมิวเทชัน เรียกว่า สิ่งก่อกลายพันธุ์ (mutagen) เช่น
1. รังสี (radiation) เช่น รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ รังสีอัลตราไวโอเลต
2. สารเคมี (chemical substance) เช่น สารคลอชิซิน(colchicine) มีผลทา
ให้จานวนชุดโครโมโซมเพิมขึ้นเป็น tetraploid(4n) เนื่องจากสารนีไปทาลาย
                           ่                                       ้
ไมโทติก สปินเดิล ในระยะเมทาเฟส
3. ไวรัส (virus) ทาให้เกิดเนื้องอกและมะเร็ง
    สิ่งก่อกลายพันธุ์ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้ง
มนุษย์ด้วย มิวทาเจนหลายอย่างเป็นสารก่อมะเร็ง(carcinogen) ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของเซลล์ร่างกาย เซลล์สืบพันธุ์


                                                             ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
คิดหน่อย ?

เราสามารถสังเกตมิวเทชันที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ได้หรือไม่

 คาตอบ
        ไม่ได้ แต่สามารถวิเคราะห์ได้จาก ฟีโนไทป์ และจากพันธุประวัติ




                                                          ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
มิวเทชันระดับโครโมโซม(chromosome mutation)
ดูได้จากฟีโนไทป์ พันธุประวัติ และ คาริโอไทป์
1. เปลี่ยนแปลงโครงสร้างโครโมโซม
     - บางส่วนหายไป เช่น แขนสั้นของโครโมโซมคู่ที่ 5 หายไป ทาให้กลายเป็น
      กลุ่มอาการคริดูชาต์ ( cri du chat syndrome )
     - บางส่วนหักแล้วต่อกลับหัวกลับหาง หรือ บางส่วนไปแลกเปลี่ยนกับคู่อื่น
      เช่น Beckwith-Wiedemann syndrome เกิดจากการทีมีชิ้นส่วนโครโมโซม
                                                                 ่
      เพิ่มขึ้นมาในแขนข้างสั้นของโครโมโซมคู่ที่ 11 ซึ่งอาจได้รับมาจากพ่อหรือแม่เด็ก
      จะมีลาตัวใหญ่เมื่อคลอด ลาตัวเจริญเร็วกว่าศีรษะเพราะอวัยวะภายในมีขนาด
      ใหญ่ ไตมักเสียสภาพการทางาน สะดือโปน
                                                               ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ลักษณะของผู้ป่วยคือ มีปัญญาอ่อนศีรษะเล็กกว่าปกติ
การเจริญเติบโตช้าหน้ากลม ใบหูอยู่ต่ากว่าปกติและคนไข้มีเสียงร้องแหลม
คล้ายเสียงแมวร้อง พบในเด็กหญิงมากกว่าเด็กชาย



                                                      ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
2. เปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซม มักเกิดจาก non-disjunction

  เพิม-ลดเป็นแท่ง
     ่
1) เกิดกับ autosome
   เช่น คู่ที่ 13 เกินมา 1 แท่ง (trisomy 13 : 47 แท่ง)= Patau syndrome
        คู่ที่ 18 เกินมา 1 แท่ง (trisomy 18 : 47 แท่ง)=Edwards syndrome
        คู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง (trisomy 21 : 47 แท่ง)=Down syndrome




                                                      ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
เด็กทีมีอาการดาวน์
      ่



                     ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
โรคเอ็ดเวิร์ด ซินโดรม มีชื่อเรียกทั่วๆไปอีกอย่างหนึ่งคือ อี ไตรโซมี
เอ็ดเวิร์ด ซินโดรม( E trisomy , Edward’s syndrome)
อาการของโรค ลักษณะผิดปกติ ทารกที่คลอดออกมามักเป็นเพศหญิง ลักษณะอาการที่พบ
ได้คือ ความผิดปกติของกระโหลกศีรษะด้านหลัง คือศีรษะยาวและท้ายทอยยื่น ใบหน้าใหญ่
และเป็นเหลี่ยม ตาชิดกัน ปากและกรามเล็ก ขนาดศีรษะเล็ก (Microcephaly) มีรอยพับ
ย่นที่เปลือกตาด้านนอก (espiscanthal folds) ตาแหน่งใบหูต่ากว่าปกติ อาจพบว่ามีปาก
แหว่งเพดานโหว่ หลังคอเป็นลอน และมีการเกร็งของกล้ามเนื้อ แขนเกร็งอยู่ในท่างอ เท้างอ
ขึ้นอาจมีความผิดปกติแต่เมื่อกามือนิ้วชี้และนิ้วก้อยจะเกยทับนิ้วกลางและนิ้วนาง จากการ
เกร็งตัวของกล้ามเนื้อ อาจมีความผิดปกติแต่กาเนิดของหัวใจและไต ที่สาคัญอีกอย่างหนึ่ง คือ
ประมาณร้อยละ 80 ที่พบเป็นหญิง มักตายตั้งแต่อายุยังน้อย ทารกส่วนมากจะเสียชีวิต
ภายใน 1 ปี



                                                                  ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
Edward’s syndrome

                    ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด (Edward's syndrome)



                                           ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การเปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซมมักจะเกิดขึ้นเมื่อมีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
ผิดปกติ โดยฮอมอโลกัสโครโมโซมจะไม่แยกออกจากกันในระยะแอนาเฟสของ
ไมโอซิส I หรือ ไมโอซิส II โครโมโซมจึงเคลื่อนย้ายไปยังขั้วเดียวกันของเซลล์
เรียกกระบวนการนี้ว่า นอนดิสจังชัน (non-disjunction)




                                                         ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
2) เกิดกับ sex chromosome
  เช่น ผู้หญิงมีโครโมโซมเพศเป็น X (45 แท่ง)= Turner syndrome
       ผู้หญิงมีโครโมโซมเพศเป็น XXX (47 แท่ง)= Triple X syndrome
       ผู้ชายมีโครโมโซมเพศเป็น XYY (47 แท่ง)= double Y syndrome
       ผู้ชายมีโครโมโซมเพศเป็น XXY, XXXY, XXXXY(47,48,49 แท่ง)
                                = Klinefelter syndrome




                                                  ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
กลุมอาการเทอร์เนอร์ (Turner’s syndrome) และคาริโอไทป์
           ่




ที่มา: http://health.kapook.com/view16735.html
                                                   ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
โรคเทอร์เนอร์ จะเกิดเฉพาะกับเพศหญิงเท่านั้น พบครั้งแรกในปี ค.ศ.1938 โดย
นายแพทย์ Henry Hubert Turner และพบเด็กเป็นโรคนี้ตั้งแต่แรกเกิดในอัตรา 1
ต่อ 2,000 คน
     นอกจากเด็กหญิงที่เป็นโรคเทอร์เนอร์ จะเป็นหมันแล้ว ลักษณะภายนอกที่เห็นได้ชัด
ของผู้ป่วยโรคนี้ก็คือ จะมีอาการปัญญาอ่อน ที่บริเวณคอมีพังผืดกางเป็นปีก (Web
Neck) หน้าอกแบนกว้าง เต้านมเล็ก หัวนมอยู่ห่างกัน เหยียดแขนได้ไม่ตรง เพราะ
ปลายแขนจะกางออก มือเท้าบวม และตัวเตี้ยแม้มีอายุเท่ากับคนปกติทั่วไป ไม่มีอาการ
เข้าสู่วัยสาว คือ เต้านมไม่โตขึ้น ไม่มีประจาเดือน ฯลฯ
    อย่างไรก็ตาม ในผู้ที่มีลักษณะของกลุ่มอาการเทอร์เนอร์ จะต้องอยู่ในความดูแลของ
แพทย์ เพราะผู้ที่เป็นโรคเทอร์เนอร์ จะมีความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบไต ระบบทางเดินปัสสาวะร่วมด้วย ทาให้เสี่ยงต่อโรคต่าง ๆ ตามมา เช่น
โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคไต โรคไทรอยด์ และเมื่อโรคนี้เกิดจากความผิดปกติของ
โครโมโซม จึงไม่มีหนทางใดจะรักษาอาการให้หายขาดได้ ได้แต่เพียงการบรรเทาอาการ
ต่าง ๆ ให้เป็นน้อยลงเท่านั้น                                    ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
เพิ่ม-ลดเป็นชุด
เรียกภาวะ polyploidy ถ้าพบในพืชจะทาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ดอก ผลโตขึ้น
สร้างสารมากขึ้น และถ้าเป็นเลขคี่(3x ,5x,………) จะ meiosisไม่ได้ ทาให้
เป็นพืชไร้เมล็ด ส่วนในสัตว์มักตายตั้งแต่ระยะเอ็มบริโอ

polyploidy เป็นสาเหตุหนึ่งของการวิวัฒนาการของส่งมีชีวิต ถ้าเพิ่มจาก
โครโมโซมพื้นฐานชุดเดียวกันเรียกว่าออโตพอลิพลอยด์ (autopolyploid) ถ้า
ต่างชุดกันหรือต่างสปีชีสกัน เรียกว่าอัลโลพอลิพลอยด์(allopolyploid)
                        ์




                                                      ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ตัวอย่าง autopolyploid กล้วยหอม ซึ่งเป็นทริพพลอยด์ มีชุดของจีโนมเป็น
AAA เกิดจากกล้วยป่าที่มีจีโนมเป็น AA เป็นต้น พืชที่เป็นออโตโพลีพลอยด์
นอกจากกล้วยแล้วยังมี มะเขือเทศ ข้าวโพด ลาโพง กาแฟ ถั่วลิสง และมอส เป็น
ต้น




                                                      ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ตัวอย่าง allopolyploid เช่นกล้วยน้าว้า เป็นทริพพลอยด์ มีชุดของโครโมโซม
หรือจีโนมเป็น ABB เพราะเกิดจากกล้วยป่าที่มีจีโนม AA และกล้วยป่าตานีที่มี
จีโนมเป็นBB นอกจากนี้ยังมียาสูบ มันฝรั่ง และกาแฟ เป็นต้น




                                                        ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
กล้วยกล้าย (AAB) กล้วยน้าว้า (ABB) กล้วยหักมุก (ABB) กล้วยเทพรส
(ABBB) เกิดโพลีพลอยด์หลังจากการเกิดการผสมของกล้วยป่า M. acuminata
Colla มีจีโนมAAกับกล้วยตานี M. balbisiana Colla จีโนมBBซึ่งอยู่แถบ
อินเดีย และต่อมาได้มีการเคลื่อนย้ายไปปลูกในประเทศต่าง ๆ




                                                   ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
พืชที่เป็น polyploid ในทางการเกษตรมีเป็นจานวนมาก พวกนี้เกิดจากการ
double chromosome ในตัวเอง คือในขณะแบ่งเซลล์แบบ meiosis เกิดการ
ผิดพลาดขึ้นในธรรมชาติ โดย chromosome มิได้ลดลงกึ่งหนึ่ง ทาให้ได้ egg
cell ที่เป็น diploid เมื่อผสมกับเกสรที่เป็น diploid เช่นกัน ก็จะได้ tetraploid
ซึ่งเป็น fertile สามารถสืบพันธุ์ต่อไปได้ จึงมีเหลือมาถึงปัจจุบัน จะสังเกตว่าพวก
polyploid ที่เป็นเลขคู่เท่านั้น ที่สืบพันธุ์ตอไปได้ เพราะตอนแบ่งเซลล์แบบ
                                             ่
meiosis มันเข้าคู่กันได้ ส่วนพวก polyploid ที่เป็นเลขคี่ จะเป็นหมันและสูญพันธุ์
ไป ในพืชปลูกมีมากมาย เช่น ข้าวสาลี ฝ้าย ฯลฯ พวกนี้จะมีขนาดใหญ่กว่า
diploid ปกติ ให้ผลผลิตสูงกว่า จึงมักได้รบเลือกไว้ทาพันธุ์ต่อไป
                                               ั




                                                            ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
คิดหน่อย


               ทาไมกล้วยที่เป็น polyploid ที่เป็นเลขคี่ ยังสามารถมีชีวิตอยู่
               และสามารถกระจายพันธุ์ไปได้

การที่กล้วยที่เป็นพอลิพลอยด์สามารถมีชีวิตอยู่ได้นี้ ส่วนใหญ่พราะ
พืชดังกล่าวสามารถขยายพันธุ์แบบไม่ใช้เพศ ดังเช่นในกล้วยมีการ
แยกหน่อไปปลูกได้ จึงทาให้มการกระจายพันธุ์ไปยังที่ต่าง ๆ ใน
                            ี
เวลาต่อมา


                                                             ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
Polyploid ในพืชปลูกที่เด่น ๆ คือ ข้าวสาลี และฝ้าย ในข้าวสาลีแบ่งได้เป็น
หลายพวก สปีชีสต่าง ๆ แล้วแต่ระดับ Ploidy มีตั้งแต่ 2X 4X และ
               ์
6X ข้าวสาลีที่นามาทาขนมเค้ก เป็นพวก 6X ทาขนมปังเป็นพวก 4X พวก
pasta เป็นพวก 2X ฝ้ายที่ชาวบ้านปลูกและนามาทอผ้านั้นเป็นพวก
6X ปัจจุบันวงการพันธุศาสตร์ ใช้ X แทนเบสิคเซ็ทของโครโมโซม เช่น
2n=4x ไม่ใช้ n ดังในอดีต เพราะ n และ 2n ใช้แสดงสภาวะว่าเป็น sex
cell หรือ somatic cell เท่านั้น

สัตว์น้าที่เป็นหมัน จะดีที่ตัวเมียไม่เเบ่งพลังงาน ไปใช้ใน
กระบวนการสืบพันธุ์ ทาให้เจริญเติบโตได้เท่าตัวผู้
เช่น กุ้งก้ามกราม ตัวผู้ตัวโตกว่าตัวเมีย
                                                            ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การเกิดพอลิพลอยด์
   พอลิพลอยด์ อาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น
การเกิดพอลิพลอยด์เกิดได้จากกลไก ดังต่อไปนี้
1. เกิดจากการแบ่งเซลล์ในไมโทซิสผิดปกติ โดยอาจเกิดจากเซลล์ร่างกายหรือเกิด
ในช่วงของการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ ทาให้จานวนโครโมโซมเพิมขึ้นเป็น 2 เท่า
                                                    ่
2. เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสผิดปกติ ทาให้ได้เซลล์สืบพันธุ์ไม่มีการลด
จานวนโครโมโซมลงครึ่งหนึ่งในไมโอซิส 1 (unreduced gamete) ทาให้ได้เซล
สืบพันธุ์ที่เป็น 2n
3. เกิดจากการที่ไข่ถูกผสมโดยสเปิร์มมากกว่า 1 ตัว หรือ
เมื่อเกิดการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส ผิดปกติในเกสรตัวผู้
                                                          ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
วิธีการทาให้เกิดพอลิพลอยด์

1. การเกิดตามธรรมชาติ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า พายุ
สามารถทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจานวนและรูปร่างของโครโมโซมได้

      ซึ่งพบว่ามีพืชพอลิพลอยด์ใน Angiosperm มาตั้งแต่โบราณกาล
พอลิพลอยด์ที่พบมีทั้งออโตพอลิพลอยด์ และอัลโลพอลิพลอยด์ ดังเช่น
กล้วยหอม AAA เกิดมาจากกล้วยป่าในพื้นที่แถบมาเลเซีย




                                                     ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
2. การสร้างขึนของมนุษย์
              ้
2.1 การใช้ความร้อนสูงอย่างรวดเร็ว ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นได้กับพืชที่มีการ
เปลี่ยนแปลงได้ง่าย
2.2 การใช้รังสี สามารถทาให้เกิดการกลายพันธุ์ในสิ่งที่มีชวิตได้ ซึ่งบางครั้งอาจ
                                                         ี
เกิดพอลิพลอยด์ได้เช่นกัน
2.3 การใช้สารเคมี เป็นวิธีทใช้กันมาก สารเคมีทาให้เกิดพอลิพลอยด์ได้
                             ี่
เนื่องจาก เกิดการยับยั้งการเกิดผนังเซลล์กั้นในช่วงของการแบ่งเซลล์ จะไปทาให้
จานวนโครโมโซมเพิมขึ้นเท่าตัว สารเคมีที่นิยมใช้กันมากได้แก่ โคลชิซีน
                   ่
(colchicine) นอกจากนี้ยังมี ไนตรัสออกไซด์ (nitrous oxide) Oryzalin
Amiprophos methyl และ Podophylin


                                                            ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ความรู้เรื่องมิวเทชันในระดับ DNA จะช่วยให้เราเข้าใจและหาทางแก้ไขโรคทางพันธุกรรมได้
      อย่างไรก็ตามการเกิดมิวเทชันบางอย่างทาให้เกิดพันธุ์ใหม่ ๆ เป็นผลดีแก่มนุษย์ ก่อให้เกิด
วิวัฒนาการตามธรรมชาติ
        ปัจจุบันการชักนาให้เกิดมิวเทชันเฉพาะที่ ถูกนามาใช้ประโยชน์ในการศึกษาการพัฒนา
ของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เช่น ยีสต์ แมลงหวี่ หนอนตัวกลม
     และอะราบิดอพซิส (Arabidopsis sp.) ซึ่งเป็นพืชชนิดหนึ่งในวงศ์ผักกาด ที่
นักวิทยาศาสตร์จากสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น ตกลงกันให้เป็นพืชต้นแบบในการ
จัดทาแผนที่พันธุกรรมและหาลาดับเบสสาเร็จเป็นครั้งแรกเนื่องจากเป็นพืชขนาดเล็กเจริญเติบโต
เร็ว วัฎจักรชีวิตสัน มีขนาดจีโนมประมาณ 120 ล้านคู่เบส ซึ่งการศึกษาตรวจสอบหน้าที่ของ
                   ้
โปรตีนแต่ละชนิดเพื่อนาข้อมูลไปเป็นพื้นฐานในการศึกษาและปรับปรุงพันธุ์พืชชนิดอื่น ๆ ที่มี
ลักษณะตามที่ต้องการ การทาให้เกิดมิวเทชันเฉพาะที่เป็นการยับยั้งการทางานของโปรตีนชนิด
นั้น ๆ จะทาให้สามารถวิเคราะห์ถึงบทบาทหน้าที่ของโปรตีนต่างๆ


                                                                     ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
Yaovaree Nornakhum
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
Wichai Likitponrak
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
Wan Ngamwongwan
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
Wichai Likitponrak
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 

What's hot (20)

บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 

Viewers also liked

การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม on-uma
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
มิวเทชั่น1
มิวเทชั่น1มิวเทชั่น1
มิวเทชั่น1CHappies Cat
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Wan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์Jinwara Sriwichai
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมhmeenop
 
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Tiggy Ratana
 
Mutation and DNA repair
Mutation and DNA repairMutation and DNA repair
Mutation and DNA repair
Mahidol University, Thailand
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์pongrawee
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการSumalee Khvamsuk
 

Viewers also liked (20)

การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
มิวเทชั่น1
มิวเทชั่น1มิวเทชั่น1
มิวเทชั่น1
 
5555555
55555555555555
5555555
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
 
Mutation and DNA repair
Mutation and DNA repairMutation and DNA repair
Mutation and DNA repair
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
A Student's Prayer
A Student's PrayerA Student's Prayer
A Student's Prayer
 

Similar to มิวเทชัน (Mutation)

ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
Jiraporn
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
Jiraporn
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosomeAngel Jang
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมAngel Jang
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎาsupphawan
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
Ta Lattapol
 

Similar to มิวเทชัน (Mutation) (20)

ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
B03
B03B03
B03
 
Gene
GeneGene
Gene
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
อุปกรณ์
อุปกรณ์อุปกรณ์
อุปกรณ์
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 

More from Wan Ngamwongwan

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
Wan Ngamwongwan
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
Wan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
Wan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
Wan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
Wan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

มิวเทชัน (Mutation)

  • 1. มิวเทชัน (MUTATION) ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
  • 2. มิวเทชัน (MUTATION) มิวเทชัน หรือการกลายพันธุ์ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะพันธุกรรม และลักษณะที่เปลี่ยนแปลง สามารถจะถ่ายทอดจากชั่วอายุหนึ่งได้ แบ่ง ออกเป็น 2 ระดับคือ 1.มิวเทชันระดับโครโมโซม(chromosome mutation) คือการกลายพันธุ์ที่ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงโครโมโซม อาจจะเป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ โครโมโซมหรือการเปลี่ยนแปลงจานวน โครโมโซม 2. มิวเทชันระดับยีน(gene mutation หรือpoint mutation) คือการ เปลี่ยนแปลงจากยีนหนึ่งไปเป็นอีกยีนหนึ่งซึ่งเป็นผลจาก การเปลี่ยนแปลงนิวคลีโอไทด์ในโมเลกุลของดีเอ็นเอ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 3. การกลายพันธุ์ในระดับยีน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนิวคลีโอไทด์ในดีเอ็นเอ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1. การแทนที่คู่เบส (base pair substitution ) คือ การแทนที่คู่เบสในสายโพลี นิวคลีโอไทด์ของดีเอ็นเอ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1.1 ทรานซิชัน (transition) คือ การแทนทีเ่ บสพิวรีน(A,G) ตัวหนึ่งด้วยเบส พิวรีนอีกตัวหนึ่ง หรือเบสไพริมิดีน(T,C) ตัวหนึ่งด้วยเบสไพริมิดนอีกตัวหนึ่ง ี 1.2 ทรานสเวอร์ชัน (transversion) คือ การแทนที่เบสพิวรีนด้วยเบสไพริมิดีน หรือ เบสไพริมิดีนถูกแทนที่ด้วยเบสพิวรีน ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 4. การเกิดมิวเทชันเฉพาะที่ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 5. ผลที่จากการเกิดการแทนที่คู่เบส อาจทาให้สายพอลิเพปไทด์สั้นลงเมื่อเป็นรหัสหยุด หรือ สายยาว ขึ้นเมื่อรหัสหยุดถูกเปลี่ยน อาจสังเคราะห์กรดอะมิโนตัวเดิม หรือตัวใหม่ ก็ได้ พอลิเพปไทด์ อาจมีคุณสมบัติเหมือนเดิม หรือ เปลียนไป เช่น ่ โรค sickle cell anemia เกิดจากกรดอะมิโนตัวที่ 6 ของสายบีตา เปลี่ยนจาก กรดกลูตามิก เป็น วาลีน ทาให้เม็ดแดงเป็นรูปเคียว ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 8. การกลายพันธุ์ในระดับยีน 2. เฟรมชิฟท์ มิวเทชัน (frameshift mutation) คือ การกลายพันธุ์ที่เกิด จากการสูญเสีย หรือการเพิ่มนิวคลีโอไทด์ 1 นิวคลีโอไทด์หรือมากกว่า หรือมีทั้งการเพิ่มและการขาดของนิวคลีโอไทด์ในสายพอลินวคลีโอไทด์ ิ ของดีเอ็นเอ ทาให้การถอดรหัสพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไป ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 10. การเกิดมิวเทชัน การเกิดการมิวเทชันแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือ 1. มิวเทชันที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ (spontaneous mutation)อาจเกิดขึ้นเนื่องจากรังสี สารเคมี อุณหภูมิใน ธรรมชาติ ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ทาให้เกิดการเปลี่ยนตาแหน่ง ไฮโดรเจนอะตอมในโมเลกุลของ เบส(tautomeric shift) หรือการสูญเสียไฮโดรเจนอะตอมในโมเลกุลของเบส (ionization)ทาให้การจับคู่ของเบสผิดไปจากเดิมมีผลทาให้ เกิดการแทนที่คู่เบสแบบทรานซิชันหรือทรานสเวอร์ชัน ทา ให้รหัสพันธุกรรมเปลี่ยนไป แต่อัตราการเกิดมิวเทชันชนิด นี้จะต่ามากเช่น เกิดในอัตรา 10-6 หรือ10-5 ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 12. 2.1. สิ่งก่อกลายพันธุ์ทางกายภาพ(physical mutagen)ได้แก่ อุณหภูมิ รังสี ต่างๆ รังสีสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ ก.รังสีทก่อให้เกิดไอออน(ionizing radiation) รังสีประเภทนี้มีอานาจใน ี่ การทะลุทะลวงผ่านเนื้อเยื่อได้สูง ซึ่งมักจะทาให้เกิดการแตกหักของโครโมโซม ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโครโมโซมรังสีเหล่านี้ได้แก่ รังสีแอลฟา เบตา แกมมา นิวตรอน หรือรังสีเอ็กซ์ ข.รังสีทไม่ก่อให้เกิดไอออน(non ionizing radiation) รังสีประเภทนี้ ี่ มีอานาจในการทะลุทะลวงผ่านเนื้อเยื่อได้ต่ามักจะทาให้เกิดไทมีนไดเมอร์ (thymine dimer) หรือไซโทซีนไดเมอร์(cytosine dymer) รังสีประเภทนี้ ได้แก่รังสีอัลตราไวโอเลต(UV) ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 13. 2.2 สิ่งก่อกลายพันธุ์ทางเคมี (chemical mutagen) ได้แก่ สารเคมีต่างๆซึ่งมีหลายชนิด เช่น ก. สารเคมีที่มีสูตรโครงสร้างคล้ายคลึงกับเบสชนิดต่างๆของดีเอ็นเอ (base analogues) ซึ่งสามารถเข้าแทนที่เบสเหล่านั้นได้ระหว่างที่เกิดการ จาลองโมเลกุลของ ดีเอ็นเอ ทาให้เกิดการแทนที่คู่เบสและรหัสพันธุกรรมที่ เปลี่ยนแปลงไปสารเคมีเหล่านี้ ได้แก่ 5-โบรโมยูราซิล ,2-อะมิโนพิวรีน 5-โบรโมยูราซิล มีสูตรโครงสร้างคล้ายคลึงกับไทมีน เมื่อเกิดการจาลอง โมเลกุลของดีเอ็นเอจะสามารถเข้าไปแทนที่ไทมีนได้ และสามารถเกิด tautomericหรือionizationได้ซึ่งเมื่อเกิดแล้วแทนที่จะจับคู่ กับอะดินีน จะ ไปจับคู่กับกวานีน เมื่อมีการจาลองโมเลกุลต่อไปอีกจะทาให้เกิดการแทนที่คู่ เบสขึ้นได้ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 14. ข. สารเคมีททาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสูตรโครงสร้างของเบสซึ่งมีผลทาให้เกิด ี่ การแทนที่คู่เบสเช่นเดียวกัน ทาให้รหัสพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไปสารเคมีเหล่านี้ ได้แก่ กรดไนตรัส ไฮดรอกซิลลามีน ไนโตรเจนมัสตาด เอธิลมีเทนซัลโฟเนต กรดไนตรัส จะทาหน้าที่ดึงหมู่อะมิโนออกจากโมเลกุลของเบสอะดินีน ไซโทซีน และ กวานีน ทาให้เบสอะดีนีนเปลียนเป็นไฮโปแซนทีน ซึ่งสามารถจับคู่กับเบสไซโทซีน ่ ได้ เบสไซโทซีนเปลี่ยนเป็นยูราซิลซึ่งสามารถจับคู่กับเบสอะดีนีนได้ และเบส กวานีน เปลี่ยนเป็นแซนทีน ซึ่งสามารถจับคู่กับเบสไซโทซีนได้ดังนั้นเมื่อเกิดการ จาลองโมเลกุลของดีเอ็นเอจะทาให้เกิดการแทนที่คู่เบสแบบทรานซิชัน ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 15. ค. สารเคมีททาให้เกิดการเพิ่มและการขาดของนิวคลีโอไทด์ในโมเลกุลของ ี่ ดีเอ็นเอซึ่งมีผลทาให้รหัสพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไป สารเคมีเหล่านี้ ได้แก่ สีย้อมเช่น อะคริดีน ออเรนจ์ ,โพรฟลาวีน โมเลกุลของอะคริดีน ออเรนจ์ หรือโพรฟาวีน สามารถเข้าไปแทรกอยู่ ระหว่างนิวคลีโอไทด์ในโมเลกุลของดีเอ็นเอหรือทาให้โมเลกุลของนิวคลีโอไทด์ท่ี ถูกแทรกโดย อะคริดีน ออเรนจ์ หรือโพรฟาวีนหลุดออกมา เมื่อมีการจาลอง โมเลกุลของดีเอ็นเอ จะได้โมเลกุลของดีเอ็นเอที่มีการเพิ่มของนิวคลีโอไทด์และ การขาดหายไปของนิวคลีโอไทด์ ยีนที่เปลี่ยนแปลงไปนี้อาจจะกลายเป็นยีน เด่นหรือยีนด้อยก็ได้ หรืออาจทาให้เกิดการตายขึ้นได้(lethal gene) มิวทาเจนหลายชนิด เป็น สารก่อมะเร็ง(carcinogen) ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 16. ปัจจัยที่ทาให้เกิดมิวเทชัน ตัวกระตุ้นหรือตัวชักนาให้เกิดมิวเทชัน เรียกว่า สิ่งก่อกลายพันธุ์ (mutagen) เช่น 1. รังสี (radiation) เช่น รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ รังสีอัลตราไวโอเลต 2. สารเคมี (chemical substance) เช่น สารคลอชิซิน(colchicine) มีผลทา ให้จานวนชุดโครโมโซมเพิมขึ้นเป็น tetraploid(4n) เนื่องจากสารนีไปทาลาย ่ ้ ไมโทติก สปินเดิล ในระยะเมทาเฟส 3. ไวรัส (virus) ทาให้เกิดเนื้องอกและมะเร็ง สิ่งก่อกลายพันธุ์ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้ง มนุษย์ด้วย มิวทาเจนหลายอย่างเป็นสารก่อมะเร็ง(carcinogen) ซึ่งเกี่ยวข้องกับ การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของเซลล์ร่างกาย เซลล์สืบพันธุ์ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 17. คิดหน่อย ? เราสามารถสังเกตมิวเทชันที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ได้หรือไม่ คาตอบ ไม่ได้ แต่สามารถวิเคราะห์ได้จาก ฟีโนไทป์ และจากพันธุประวัติ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 18. มิวเทชันระดับโครโมโซม(chromosome mutation) ดูได้จากฟีโนไทป์ พันธุประวัติ และ คาริโอไทป์ 1. เปลี่ยนแปลงโครงสร้างโครโมโซม - บางส่วนหายไป เช่น แขนสั้นของโครโมโซมคู่ที่ 5 หายไป ทาให้กลายเป็น กลุ่มอาการคริดูชาต์ ( cri du chat syndrome ) - บางส่วนหักแล้วต่อกลับหัวกลับหาง หรือ บางส่วนไปแลกเปลี่ยนกับคู่อื่น เช่น Beckwith-Wiedemann syndrome เกิดจากการทีมีชิ้นส่วนโครโมโซม ่ เพิ่มขึ้นมาในแขนข้างสั้นของโครโมโซมคู่ที่ 11 ซึ่งอาจได้รับมาจากพ่อหรือแม่เด็ก จะมีลาตัวใหญ่เมื่อคลอด ลาตัวเจริญเร็วกว่าศีรษะเพราะอวัยวะภายในมีขนาด ใหญ่ ไตมักเสียสภาพการทางาน สะดือโปน ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 20. 2. เปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซม มักเกิดจาก non-disjunction เพิม-ลดเป็นแท่ง ่ 1) เกิดกับ autosome เช่น คู่ที่ 13 เกินมา 1 แท่ง (trisomy 13 : 47 แท่ง)= Patau syndrome คู่ที่ 18 เกินมา 1 แท่ง (trisomy 18 : 47 แท่ง)=Edwards syndrome คู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง (trisomy 21 : 47 แท่ง)=Down syndrome ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 21. เด็กทีมีอาการดาวน์ ่ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 22. โรคเอ็ดเวิร์ด ซินโดรม มีชื่อเรียกทั่วๆไปอีกอย่างหนึ่งคือ อี ไตรโซมี เอ็ดเวิร์ด ซินโดรม( E trisomy , Edward’s syndrome) อาการของโรค ลักษณะผิดปกติ ทารกที่คลอดออกมามักเป็นเพศหญิง ลักษณะอาการที่พบ ได้คือ ความผิดปกติของกระโหลกศีรษะด้านหลัง คือศีรษะยาวและท้ายทอยยื่น ใบหน้าใหญ่ และเป็นเหลี่ยม ตาชิดกัน ปากและกรามเล็ก ขนาดศีรษะเล็ก (Microcephaly) มีรอยพับ ย่นที่เปลือกตาด้านนอก (espiscanthal folds) ตาแหน่งใบหูต่ากว่าปกติ อาจพบว่ามีปาก แหว่งเพดานโหว่ หลังคอเป็นลอน และมีการเกร็งของกล้ามเนื้อ แขนเกร็งอยู่ในท่างอ เท้างอ ขึ้นอาจมีความผิดปกติแต่เมื่อกามือนิ้วชี้และนิ้วก้อยจะเกยทับนิ้วกลางและนิ้วนาง จากการ เกร็งตัวของกล้ามเนื้อ อาจมีความผิดปกติแต่กาเนิดของหัวใจและไต ที่สาคัญอีกอย่างหนึ่ง คือ ประมาณร้อยละ 80 ที่พบเป็นหญิง มักตายตั้งแต่อายุยังน้อย ทารกส่วนมากจะเสียชีวิต ภายใน 1 ปี ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 23. Edward’s syndrome ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 24. กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด (Edward's syndrome) ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 25. การเปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซมมักจะเกิดขึ้นเมื่อมีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส ผิดปกติ โดยฮอมอโลกัสโครโมโซมจะไม่แยกออกจากกันในระยะแอนาเฟสของ ไมโอซิส I หรือ ไมโอซิส II โครโมโซมจึงเคลื่อนย้ายไปยังขั้วเดียวกันของเซลล์ เรียกกระบวนการนี้ว่า นอนดิสจังชัน (non-disjunction) ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 26. 2) เกิดกับ sex chromosome เช่น ผู้หญิงมีโครโมโซมเพศเป็น X (45 แท่ง)= Turner syndrome ผู้หญิงมีโครโมโซมเพศเป็น XXX (47 แท่ง)= Triple X syndrome ผู้ชายมีโครโมโซมเพศเป็น XYY (47 แท่ง)= double Y syndrome ผู้ชายมีโครโมโซมเพศเป็น XXY, XXXY, XXXXY(47,48,49 แท่ง) = Klinefelter syndrome ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 27. กลุมอาการเทอร์เนอร์ (Turner’s syndrome) และคาริโอไทป์ ่ ที่มา: http://health.kapook.com/view16735.html ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 28. โรคเทอร์เนอร์ จะเกิดเฉพาะกับเพศหญิงเท่านั้น พบครั้งแรกในปี ค.ศ.1938 โดย นายแพทย์ Henry Hubert Turner และพบเด็กเป็นโรคนี้ตั้งแต่แรกเกิดในอัตรา 1 ต่อ 2,000 คน นอกจากเด็กหญิงที่เป็นโรคเทอร์เนอร์ จะเป็นหมันแล้ว ลักษณะภายนอกที่เห็นได้ชัด ของผู้ป่วยโรคนี้ก็คือ จะมีอาการปัญญาอ่อน ที่บริเวณคอมีพังผืดกางเป็นปีก (Web Neck) หน้าอกแบนกว้าง เต้านมเล็ก หัวนมอยู่ห่างกัน เหยียดแขนได้ไม่ตรง เพราะ ปลายแขนจะกางออก มือเท้าบวม และตัวเตี้ยแม้มีอายุเท่ากับคนปกติทั่วไป ไม่มีอาการ เข้าสู่วัยสาว คือ เต้านมไม่โตขึ้น ไม่มีประจาเดือน ฯลฯ อย่างไรก็ตาม ในผู้ที่มีลักษณะของกลุ่มอาการเทอร์เนอร์ จะต้องอยู่ในความดูแลของ แพทย์ เพราะผู้ที่เป็นโรคเทอร์เนอร์ จะมีความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบไต ระบบทางเดินปัสสาวะร่วมด้วย ทาให้เสี่ยงต่อโรคต่าง ๆ ตามมา เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคไต โรคไทรอยด์ และเมื่อโรคนี้เกิดจากความผิดปกติของ โครโมโซม จึงไม่มีหนทางใดจะรักษาอาการให้หายขาดได้ ได้แต่เพียงการบรรเทาอาการ ต่าง ๆ ให้เป็นน้อยลงเท่านั้น ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 29. เพิ่ม-ลดเป็นชุด เรียกภาวะ polyploidy ถ้าพบในพืชจะทาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ดอก ผลโตขึ้น สร้างสารมากขึ้น และถ้าเป็นเลขคี่(3x ,5x,………) จะ meiosisไม่ได้ ทาให้ เป็นพืชไร้เมล็ด ส่วนในสัตว์มักตายตั้งแต่ระยะเอ็มบริโอ polyploidy เป็นสาเหตุหนึ่งของการวิวัฒนาการของส่งมีชีวิต ถ้าเพิ่มจาก โครโมโซมพื้นฐานชุดเดียวกันเรียกว่าออโตพอลิพลอยด์ (autopolyploid) ถ้า ต่างชุดกันหรือต่างสปีชีสกัน เรียกว่าอัลโลพอลิพลอยด์(allopolyploid) ์ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 30. ตัวอย่าง autopolyploid กล้วยหอม ซึ่งเป็นทริพพลอยด์ มีชุดของจีโนมเป็น AAA เกิดจากกล้วยป่าที่มีจีโนมเป็น AA เป็นต้น พืชที่เป็นออโตโพลีพลอยด์ นอกจากกล้วยแล้วยังมี มะเขือเทศ ข้าวโพด ลาโพง กาแฟ ถั่วลิสง และมอส เป็น ต้น ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 31. ตัวอย่าง allopolyploid เช่นกล้วยน้าว้า เป็นทริพพลอยด์ มีชุดของโครโมโซม หรือจีโนมเป็น ABB เพราะเกิดจากกล้วยป่าที่มีจีโนม AA และกล้วยป่าตานีที่มี จีโนมเป็นBB นอกจากนี้ยังมียาสูบ มันฝรั่ง และกาแฟ เป็นต้น ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 32. กล้วยกล้าย (AAB) กล้วยน้าว้า (ABB) กล้วยหักมุก (ABB) กล้วยเทพรส (ABBB) เกิดโพลีพลอยด์หลังจากการเกิดการผสมของกล้วยป่า M. acuminata Colla มีจีโนมAAกับกล้วยตานี M. balbisiana Colla จีโนมBBซึ่งอยู่แถบ อินเดีย และต่อมาได้มีการเคลื่อนย้ายไปปลูกในประเทศต่าง ๆ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 33. พืชที่เป็น polyploid ในทางการเกษตรมีเป็นจานวนมาก พวกนี้เกิดจากการ double chromosome ในตัวเอง คือในขณะแบ่งเซลล์แบบ meiosis เกิดการ ผิดพลาดขึ้นในธรรมชาติ โดย chromosome มิได้ลดลงกึ่งหนึ่ง ทาให้ได้ egg cell ที่เป็น diploid เมื่อผสมกับเกสรที่เป็น diploid เช่นกัน ก็จะได้ tetraploid ซึ่งเป็น fertile สามารถสืบพันธุ์ต่อไปได้ จึงมีเหลือมาถึงปัจจุบัน จะสังเกตว่าพวก polyploid ที่เป็นเลขคู่เท่านั้น ที่สืบพันธุ์ตอไปได้ เพราะตอนแบ่งเซลล์แบบ ่ meiosis มันเข้าคู่กันได้ ส่วนพวก polyploid ที่เป็นเลขคี่ จะเป็นหมันและสูญพันธุ์ ไป ในพืชปลูกมีมากมาย เช่น ข้าวสาลี ฝ้าย ฯลฯ พวกนี้จะมีขนาดใหญ่กว่า diploid ปกติ ให้ผลผลิตสูงกว่า จึงมักได้รบเลือกไว้ทาพันธุ์ต่อไป ั ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 34. คิดหน่อย ทาไมกล้วยที่เป็น polyploid ที่เป็นเลขคี่ ยังสามารถมีชีวิตอยู่ และสามารถกระจายพันธุ์ไปได้ การที่กล้วยที่เป็นพอลิพลอยด์สามารถมีชีวิตอยู่ได้นี้ ส่วนใหญ่พราะ พืชดังกล่าวสามารถขยายพันธุ์แบบไม่ใช้เพศ ดังเช่นในกล้วยมีการ แยกหน่อไปปลูกได้ จึงทาให้มการกระจายพันธุ์ไปยังที่ต่าง ๆ ใน ี เวลาต่อมา ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 35. Polyploid ในพืชปลูกที่เด่น ๆ คือ ข้าวสาลี และฝ้าย ในข้าวสาลีแบ่งได้เป็น หลายพวก สปีชีสต่าง ๆ แล้วแต่ระดับ Ploidy มีตั้งแต่ 2X 4X และ ์ 6X ข้าวสาลีที่นามาทาขนมเค้ก เป็นพวก 6X ทาขนมปังเป็นพวก 4X พวก pasta เป็นพวก 2X ฝ้ายที่ชาวบ้านปลูกและนามาทอผ้านั้นเป็นพวก 6X ปัจจุบันวงการพันธุศาสตร์ ใช้ X แทนเบสิคเซ็ทของโครโมโซม เช่น 2n=4x ไม่ใช้ n ดังในอดีต เพราะ n และ 2n ใช้แสดงสภาวะว่าเป็น sex cell หรือ somatic cell เท่านั้น สัตว์น้าที่เป็นหมัน จะดีที่ตัวเมียไม่เเบ่งพลังงาน ไปใช้ใน กระบวนการสืบพันธุ์ ทาให้เจริญเติบโตได้เท่าตัวผู้ เช่น กุ้งก้ามกราม ตัวผู้ตัวโตกว่าตัวเมีย ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 36. การเกิดพอลิพลอยด์ พอลิพลอยด์ อาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น การเกิดพอลิพลอยด์เกิดได้จากกลไก ดังต่อไปนี้ 1. เกิดจากการแบ่งเซลล์ในไมโทซิสผิดปกติ โดยอาจเกิดจากเซลล์ร่างกายหรือเกิด ในช่วงของการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ ทาให้จานวนโครโมโซมเพิมขึ้นเป็น 2 เท่า ่ 2. เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสผิดปกติ ทาให้ได้เซลล์สืบพันธุ์ไม่มีการลด จานวนโครโมโซมลงครึ่งหนึ่งในไมโอซิส 1 (unreduced gamete) ทาให้ได้เซล สืบพันธุ์ที่เป็น 2n 3. เกิดจากการที่ไข่ถูกผสมโดยสเปิร์มมากกว่า 1 ตัว หรือ เมื่อเกิดการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส ผิดปกติในเกสรตัวผู้ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 37. วิธีการทาให้เกิดพอลิพลอยด์ 1. การเกิดตามธรรมชาติ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า พายุ สามารถทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจานวนและรูปร่างของโครโมโซมได้ ซึ่งพบว่ามีพืชพอลิพลอยด์ใน Angiosperm มาตั้งแต่โบราณกาล พอลิพลอยด์ที่พบมีทั้งออโตพอลิพลอยด์ และอัลโลพอลิพลอยด์ ดังเช่น กล้วยหอม AAA เกิดมาจากกล้วยป่าในพื้นที่แถบมาเลเซีย ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 38. 2. การสร้างขึนของมนุษย์ ้ 2.1 การใช้ความร้อนสูงอย่างรวดเร็ว ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นได้กับพืชที่มีการ เปลี่ยนแปลงได้ง่าย 2.2 การใช้รังสี สามารถทาให้เกิดการกลายพันธุ์ในสิ่งที่มีชวิตได้ ซึ่งบางครั้งอาจ ี เกิดพอลิพลอยด์ได้เช่นกัน 2.3 การใช้สารเคมี เป็นวิธีทใช้กันมาก สารเคมีทาให้เกิดพอลิพลอยด์ได้ ี่ เนื่องจาก เกิดการยับยั้งการเกิดผนังเซลล์กั้นในช่วงของการแบ่งเซลล์ จะไปทาให้ จานวนโครโมโซมเพิมขึ้นเท่าตัว สารเคมีที่นิยมใช้กันมากได้แก่ โคลชิซีน ่ (colchicine) นอกจากนี้ยังมี ไนตรัสออกไซด์ (nitrous oxide) Oryzalin Amiprophos methyl และ Podophylin ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 39. ความรู้เรื่องมิวเทชันในระดับ DNA จะช่วยให้เราเข้าใจและหาทางแก้ไขโรคทางพันธุกรรมได้ อย่างไรก็ตามการเกิดมิวเทชันบางอย่างทาให้เกิดพันธุ์ใหม่ ๆ เป็นผลดีแก่มนุษย์ ก่อให้เกิด วิวัฒนาการตามธรรมชาติ ปัจจุบันการชักนาให้เกิดมิวเทชันเฉพาะที่ ถูกนามาใช้ประโยชน์ในการศึกษาการพัฒนา ของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เช่น ยีสต์ แมลงหวี่ หนอนตัวกลม และอะราบิดอพซิส (Arabidopsis sp.) ซึ่งเป็นพืชชนิดหนึ่งในวงศ์ผักกาด ที่ นักวิทยาศาสตร์จากสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น ตกลงกันให้เป็นพืชต้นแบบในการ จัดทาแผนที่พันธุกรรมและหาลาดับเบสสาเร็จเป็นครั้งแรกเนื่องจากเป็นพืชขนาดเล็กเจริญเติบโต เร็ว วัฎจักรชีวิตสัน มีขนาดจีโนมประมาณ 120 ล้านคู่เบส ซึ่งการศึกษาตรวจสอบหน้าที่ของ ้ โปรตีนแต่ละชนิดเพื่อนาข้อมูลไปเป็นพื้นฐานในการศึกษาและปรับปรุงพันธุ์พืชชนิดอื่น ๆ ที่มี ลักษณะตามที่ต้องการ การทาให้เกิดมิวเทชันเฉพาะที่เป็นการยับยั้งการทางานของโปรตีนชนิด นั้น ๆ จะทาให้สามารถวิเคราะห์ถึงบทบาทหน้าที่ของโปรตีนต่างๆ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร