SlideShare a Scribd company logo
L/O/G/O
ระบบไหลเวียนโลหิต (Circulatory System)
www.kruseksan.com
วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
จุดประสงค์การเรียนรู้
ทดลองและอธิบายโครงสร้างและการทางานของระบบหมุนเวียนเลือด
อธิบายการทางานที่สัมพันธ์กันของระบบต่าง ๆ ที่มนุษย์ดารงชีวิตอยู่ได้ปกติ
สารวจ วิเคราะห์และอธิบายพฤติกรรมบางอย่างของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าบางชนิด
สืบค้นข้อมูลและอธิบายผลของสารเสพติดต่อการทางานของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย4
1
2
3
เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้นี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์
ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและ การทางานของระบบ
หมุนเวียนโลหิต และอธิบายการทางานที่สัมพันธ์กันของระบบ
ต่าง ๆ ที่ทาให้มนุษย์มีการเจริญเติบโตและนาไปใช้ประโยชน์
ในการดารงชีวิตได้อย่างปกติสุข
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
ระบบหมุนเวียนโลหิต เป็นระบบที่เลือด
ทาหน้าที่ ลาเลียงสารต่าง ๆ ไปยังเซลล์ทั่วร่างกาย
เช่น สารอาหาร แก๊สต่าง ๆ เกลือแร่ ฮอร์โมน และ
รับของเสียส่งออกนอกร่างกายโดยลาเลียงไปตาม
เส้นเลือด เช่น CO2 ยูเรีย ยูริก แอมโมเนีย
ระบบหมุนเวียนโลหิต มี 2 แบบ
แบบวงจรปิด แบบวงจรเปิด
เลือดไหลจากหลอดเลือด
เข้าสู่ช่องว่างในลาตัว เลือด
สัมผัสกับเนื้อเยื่อ
มีการแลกเปลี่ยนสารต่าง ๆ
โดยตรง
ได้แก่ แมลง กุ้ง ปู เป็นต้น• ได้แก่ คน และสัตว์มีกระดูกสัน
หลังทังหมด ไส้เดือนดิน ปลาหมึก
 เลือดไหลเวียนในหลอดเลือดและหัวใจ
 ไม่ออกจากหลอดเลือด
 เลือดไม่สัมผัสกับเนื้อเยื่อ
หลังจากที่อาหารถูกย่อยจนเล็กที่สุดแล้ว จะแพร่เข้าสู่ผนังลาไส้เล็ก
ผ่านเข้าสู่หลอดเลือด เคลื่อนที่ไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกายพร้อมกับเลือด อวัยวะสาคัญ
3 ส่วน ดังนี้ หัวใจ (heart) , หลอดเลือด (blood vassel) และเลือด (blood)
(close circulatory system) (open circulatory system)
ส่วนประกอบและหน้าที่ของเลือด
ส่วนที่เป็นของเหลว 55 %
ส่วนที่เป็นของแข็ง 45 %
เรียกว่า พลาสมา (plasma) หรือน้าเลือด
ประกอบด้วย น้า 91 %
สารต่าง ๆ เอนไซม์ ฮอร์โมน แก๊ส
ของเสีย ได้แก่ ยูเรีย CO2
เม็ดเลือดแดง(Red blood cell )
เม็ดเลือดขาว (White blood cell )
เกล็ดเลือด (Platelet)
ส่วนประกอบของเลือด
เป็นสารประกอบโปรตีน ลักษณะค่อนข้างกลม มีสีแดง ตรงกลางเว้า เมื่อโตเต็มที่
ไม่มีนิวเคลียส มีสารสีแดง เรียกว่า ฮีโมโกลบิน มีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบ มีอายุ 110 - 120 วัน
สร้างที่ ไขกระดูก ทาลายที่ ตับ ในเด็กสร้างที่ ตับ ม้าม และไขกระดูก
หน้าที่ ของเซลล์เม็ดเลือดแดง
ลาเลียง O2 เซลล์
ลาเลียง CO2 ปอด
1 mm3 มีเซลล์เม็ดเลือดแดงประมาณ 5 ล้านเม็ด
รูป เซลล์เม็ดเลือดแดง
ฮีโมโกลบิน + O2 ออกซีฮีโมโกลบิน
(Oxyhemoglobin)
เซลล์เม็ดเลือดแดง (Red blood cell)
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
ลักษณะ กลม ไม่มีสี มีนิวเคลียส ขนาดใหญ่กว่า
เม็ดเลือดแดงสร้างที่ ไขกระดูก ม้าม และ
ต่อมน้าเลือง อายุ 7 - 14 วัน
เม็ดเลือดขาว
ทาหน้าที่ ทาลายเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอม
หรือการสร้างโปรตีน ที่เรียกว่า antibody มาทาลาย
เชื้อโรค
1 mm3 มีเซลล์เม็ดเลือดขาวประมาณ 4,000- 10,000 เม็ด
รูป เซลล์เม็ดเลือดขาว
เซลล์เม็ดเลือดขาว (White blood cell )
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
เพิ่มเติม มีนิวเคลียส และมีโครโมโซม ใช้ในการตรวจ
DNA และแบ่งเป็น 2 ชนิด ตามหน้าที่
1. ฟาโกไซต์ (phagocyte) : มีวิธีการทาลายเชื้อโรค
หรือสิ่งแปลกปลอมแบบเขมือบ (phagocytosis)
2. ลิมโฟไซต์ (Lymphocyte) : สร้างภูมิคุ้มกัน
(Immunity) โดยหลัง Antibody ต่อสู้กับเชื้อโรค
รูป เซลล์เม็ดเลือดขาว
เซลล์เม็ดเลือดขาว (White blood cell )
โรคลิวคีเมีย (Leukemai) หรือโรคมะเร็งเซลล์เม็ดเลือดขาว
คือ โรคที่เกิดจากการสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวของไขกระดูกผิดปกติ
ทาให้ผู้ป่วยเกิดอาการผิดปกติตามแต่ชนิดของเซลล์มะเร็ง และอาจตายได้
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
เพลตเลต หรือเศษเม็ดเลือด
เกล็ดเลือด แผ่นเลือดไม่ใช่เซลล์ เป็น
ชิ้นส่วนของเซลล์ ไม่มีสี ไม่มี
นิวเคลียสมีรูปร่างไม่แน่นอนขนาดเล็ก
กว่าเม็ดเลือดแดงเกือบ 4 เท่า มีอายุ
4 วัน ทาหน้าที่ ช่วยในการแข็งตัวของ
เลือด ในขณะที่เส้นเลือดฉีก
เพลตเลต (Platelet)
กระบวนการแข็งตัวของเลือด (blood clotting)
กระบวนการแข็งตัวของเลือด (blood clotting)
มี 2 ขั้นตอน คือ การเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด และการสร้างไฟบรินเพื่อประสานเกล็ดเลือดที่มารวมกลุ่ม
กัน โดยมีวิตามิน K และ Ca ช่วยด้วย
โปรธรอมบินในเลือด + แคลเซียม (Ca)
(วิตามิน K + ตับ)
ไพบริน (fibrin) ไฟบริโนเจน (fibrinogen)
(เส้นใยละเอียดสานปิดบาดแผลและ
เซลล์เม็ดเลือดแดงตกตะกอนจับกันเอง)
ธรอมโบพลาสติน
thromoplasm
เกล็ดเลือดและเนื้อเยื่อรอบ ๆ บาดแผนสร้าง
ธรอมบิน (thrombin)
กระบวนการแข็งตัวของเลือด (blood clotting)
กระบวนการแข็งตัวของเลือด
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
การหมุนเวียนของเลือด
ภายในหลอดเลือดจะถูกควบคุมโดย
หัวใจ ซึ่งทาหน้าที่ เหมือนเครื่องสูบฉีด เพื่อ
ทาให้เกิดแรงดันที่สามารถจะดันให้เลือดไหล
ไปตามหลอดเลือดต่าง ๆ ที่อยู่ทั่วร่างกาย และ
สามารถไหลกลับเข้าสู่หัวใจได้ ผู้ค้นพบเป็น
คนแรกได้แก่ นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ
ชื่อ วิลเลี่ยม ฮาร์วีย์ รูป การหมุนเวียนของเลือด
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
หัวใจ (Heart)
หัวใจอยู่ระหว่างปอดทั้ง 2 ข้าง ค่อนไปทางซ้ายเล็กน้อย ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดให้
ไหล ตามหลอดเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย แล้วไหลกลับคืนสู่หัวใจ
หัวใจประกอบ ด้วยกล้ามเนื้อพิเศษที่เรียกว่า
กล้ามเนื้อหัวใจมี 4 ห้อง แบ่งออกเป็น ห้องบน 2 ห้อง
เรียกว่า เอเตรียม (Atrium) ห้องล่าง 2 ห้อง เรียกว่า
เวนตริเคิล(Ventricle)ระหว่างห้องบนซ้าย-ล่างซ้าย
จะมีลิ้น ไบคัสพิด (bicuspid valve) คั่นอยู่
และห้องบนขวา-ล่างขวา จะมีลิ้น ไตรคัสพิด
(tricuspid valve) คั่นอยู่ ลิ้นหัวใจทาหน้าที่
ป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ
โครงสร้างภายในของหัวใจ
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
วงจรเลือด
เลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
เอเตรียมขวา ผ่านลิ้นไตรคัสพิด
เวนตริเคิลขวา
ปอด
เวนตริเคิลซ้าย
เอเตรียมซ้าย ผ่านไบคัสพิด
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
ภาพเคลื่อนไหวการไหลเวียนของเลือด
สังเกต การไหลเวียน
ของเลือดผ่านหัวใจตาม
ลูกศร
1. หัวใจห้องบนขวา (Right Atrium)
รับหลอดเลือดดาจากหลอดเลือดเวน
ขนาดใหญ่ 2 เส้น คือ Superior vena Cava
จากส่วนหัวและแขน และ Inferior vena
cava จากส่วนตัวและขา
2. หัวใจห้องบนขวา (Right Atrium)
บีบตัวนาเลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่างขวา
โดยผ่าน ลิ้นไตรคัสปิด Tricuspid Valve
กันอยู่ระหว่างห้องบนขวาและล่างขวา
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
ภาพเคลื่อนไหวการไหลเวียนของเลือด
สังเกต การไหลเวียน
ของเลือดผ่านหัวใจตาม
ลูกศร
3. หัวใจล่างขวา (Right ventricle)บีบตัว
เลือดจะไหลผ่าน Pulmonary semilunar
Valve เพื่อฉีดไปยังเส้นเลือด Pulmonary
Artery นาไปแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอด โดย
จะปล่อย CO2 ออก รับ O2 เข้าแทน เลือด
จะไหลกลับสู่หัวใจทาง Pulmonary vein
เข้าหัวใจห้องบนซ้าย (Left Atrium)
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
ภาพเคลื่อนไหวการไหลเวียนของเลือด
สังเกต การไหลเวียน
ของเลือดผ่านหัวใจตาม
ลูกศร
4. หัวใจห้องบนซ้าย (Left Atrium) บีบตัว
นาเลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่างซ้าย (Left
Ventricle) ผ่าน Bicuspid valve หรือเรียก
อีกชื่อ Mitral valve ที่กั้นอยู่ระหว่างห้อง
บนซ้ายและล่างซ้าย
5. หัวใจห้องล่างซ้าย (Left Ventricle)บีบตัว
เลือดจะเข้าสู่ Aorta หลอดเลือดแดงขนาด
ใหญ่ที่สุดในร่างกาย และมีลิ้น
Aortic semilunar valve กั้นไม่ให้เลือด
ไหลย้อนกลับเข้าหัวใจ
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
ภาพเคลื่อนไหวการไหลเวียนของเลือด
สังเกต การไหลเวียน
ของเลือดผ่านหัวใจตาม
ลูกศร
5. Aorta จะมีแขนงต่าง ๆ คือ หลอดเลือด
Artery ส่งเลือดที่ฟอกแล้วไปยังส่วนต่าง ๆ
ของร่างกาย
ข้อควรจา
- หัวใจห้องล่างซ้าย เป็นห้องที่ผนังหนาที่สุด
เพราะต้องสูบฉีดเลือดแดงไปทั่วร่างกาย
- หลอดเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี บรรจุเลือด
ดา เพื่อไปฟอกที่ปอด
- หลอดเลือดพัลโมนารีเวน บรรจุเลือดแดง
ที่ฟอกจากปอดแล้วเข้าสู่หัวใจ
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
หลอดเลือด (blood vessels)
หลอดเลือด ทาหน้าที่ลาเลียงเลือดจาก
หัวใจไปยังอวัยวะส่วนต่าง ๆ ทั่วร่างกาย และ
เป็นเส้นทางให้เลือดจากอวัยวะต่าง ๆ ทั่ว
ร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจ
หลอดเลือดในร่างกายมี 3 ชนิด ได้แก่
1. หลอดเลือดแดง (Artery)
2. หลอดเลือดดา (Vein)
3. หลอดเลือดฝอย (Capillary)
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
หลอดเลือดแดง เป็นหลอดเลือดที่นาเลือดออกจากหัวใจไปยังเซลล์ต่าง ๆ ของ
ร่างกาย มีผนังหนาแข็งแรง เพื่อให้มีความทนทานต่อแรงดันเลือดที่ถูกฉีดออกไป ไม่
มีลิ้นกั้นภายใน เลือดที่อยู่ในหลอดเลือดแดง มีปริมาณแก๊สออกซิเจนมาก เรียกว่า
“ เลือดแดง ” ยกเว้น หลอดเลือดแดงที่นาเลือดออกจากหัวใจไปยังปอดภายในเป็น
เลือดที่มีปริมาณ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มาก เรียกว่า “ เลือดดา ”
1. หลอดเลือดแดง (Artery)
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
หลอดเลือดดา เป็นหลอดเลือดที่นาเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
เข้าสู่หัวใจ หลอดเลือดดามีผนังบางกว่าหลอดเลือดแดง มีลิ้นกั้นภายใน
เพื่อป้องกันเลือดไหลย้อนกลับ เลือดที่ไหลอยู่ภายในหลอดเลือดมีปริมาณ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มาก ยกเว้น หลอดเลือดดาที่นาเลือดจากปอดเข้า
สู่หัวใจ จะเป็น เลือดแดง
2. หลอดเลือดดา (Vein)
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
รูป โครงสร้างของหลอดเลือดแดง และหลอดเลือดดา
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
3. หลอดเลือดฝอย (Capillary)
หลอดเลือดฝอย เป็นหลอดเลือดที่
เชื่อมต่อระหว่างหลอดเลือดแดงและ
หลอดเลือดดา สานเป็นร่างแหแทรกอยู่ตาม
เนื้อเยื่อต่าง ๆ ของร่างกาย มีขนาดเล็ก
ละเอียด เป็นฝอย มีผนังบางมา
ประกอบด้วยเซลล์เพียงชั้นเดียว
เป็นแหล่งที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สและ
สารต่าง ๆ ระหว่างเลือดกับเซลล์ของ
ร่างกาย
รูป หลอดเลือดฝอย
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
ความดันเลือด (Blood pressure)
คือ ความดันที่เกิดจากการบีบตัวและคลายตัวของหัวใจ ขณะหัวใจบีบตัว
เลือดจะถูกดันออกไปตามหลอดเลือดแดงด้วยความดันสูงทาให้เลือดเคลื่อนที่ไปตาม
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และในขณะที่หัวใจคลายตัวเลือดจะไหลกลับเข้าสู่หัวใจตาม
หลอดเลือดดาด้วยความดันต่า ความดันเลือดมีหน่วยเป็น มิลลิเมตรของปรอทมีค่า
ตัวเลข 2 ค่า เช่น 120 / 80 มิลลิเมตรของปรอท
120 = ค่าความดันเลือด ขณะหัวใจบีบตัวให้เลือดออกจากหัวใจ (S1:Systolic pressure)
80 = ค่าความดันเลือด ขณะหัวใจคลายตัวรับเลือดเข้าสู่หัวใจ (S2:Diastolic pressure)
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
ปกติความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว มีค่า 100 + อายุ ความดันเลือด
ขณะหัวใจรับเลือดไม่ควรเกิน 90 มิลลิเมตรของปรอท เครื่องมือวัดความดันเลือด เรียกว่า
มาตรความดันเลือด (Sphymonanomiter) ใช้คู่กับหูฟังหรือ สเตทโทสโคป (Stethoscope)
วัดความดันที่หลอดเลือดแดงที่ต้นแขน
ความรู้เพิ่มเติม
เครื่องมือวัดความดันเลือด
ปัจจัยที่มีผลต่อความดันเลือด
ปัจจัยที่มีผลต่อ
ความดันเลือด
ขนาดของร่างกาย
คนที่ร่างกายใหญ่โตหรือคนอ้วนจะ
มีความดันเลือดสูงกว่าคนผอม
อายุ
ผู้สูงอายุมีความดันเลือดมากกว่า
เด็ก เนื่องจากผนังหลอดเลือดมี
ความยืดหยุ่นลดลง
อารมณ์
คนที่เครียดวิตกกังวล โกรธ หรือ
ตกใจ จะมีความดันเลือดสูงกว่าคน
อารมณ์ปกติ
เพศ
ปกติเพศหญิงมีความดันเลือดต่า
กว่าเพศชาย ยกเว้นหญิงที่กาลังจะ
หมดประจาเดือน
สภาพร่างกาย
เช่น หลอดเลือดตีบ ระดับไขมันใน
เลือดสูงจะทาให้ความดัน
เลือดสูง
การทางาน
ทางานหนักและการออกกาลังกาย
จะมีความดันเลือดสูง
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
1. ความดันเลือดเฉลี่ยปกติของหญิงในวัยหนุ่มสาว คือ 110 / 70 มิลลิเมตรปรอท
2. ความดันเลือดเฉลี่ยปกติของชายในวัยหนุ่มสาว คือ 120 / 80 มิลลิเมตรปรอท
3. โรคความดันเลือดสูงจะพบมากในผู้สูงอายุ ผู้ที่โกรธง่าย และผู้ที่มีจิตใจอยู่ใน
ภาวะเครียดเป็นประจา สาเหตุของโรคที่สาคัญ คือ การตีบตันของหลอดเลือด
4. อารมณ์ เช่น ขณะโกรธร่างกายจะผลิตสารชนิดหนึ่งออกมา ซึ่งสารนี้จะมีผลต่อ
การบีบตัวของหัวใจ
ความรู้เพิ่มเติม
ชีพจร (pulse)
ชีพจร คือ จังหวะการบีบตัวและคลายตัวของ
ผนังเส้นเลือดตามจังหวะการเต้นของหัวใจ
โดยปกติหัวใจเต้นเฉลี่ยประมาณ 72 ครั้ง ต่อ
1 นาที และอัตราการเต้นของชีพจรในเพศชาย
จะสูงกว่าเพศหญิง การวัดชีพจรจะวัดจาก
เส้นเลือดแดงบริเวณข้อมือ และข้อศอก
รูป การวัดชีพจรที่ ข้อมือ ข้อศอก
และซอกคอ
ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
การหมุนเวียนของแก๊ส ในร่างกายจะเกิดควบคู่
กับการหมุนเวียนของเลือด โดยส่วนใหญ่แล้วเป็นการ
หมุนเวียนของแก๊สที่สาคัญ 2 ชนิด คือ แก๊สออกซิเจน และ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
อวัยวะสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการหมุนเวียนของ
แก๊ส คือ ปอด โดยปอดจะทาหน้าที่ ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ระหว่างแก๊สภายในร่างกายกับแก๊สที่อยู่ภายนอกร่างกาย
การหมุนเวียนแก๊ส
L/O/G/O
Thank You!
www.kruseksan.com

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานพัน พัน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
Thitaree Samphao
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
Ta Lattapol
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
Ta Lattapol
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
sukanya petin
 

What's hot (20)

บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 

Viewers also liked

อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
kasidid20309
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
sripranom srisom
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
Napaphat Bassnowy
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Viewers also liked (9)

อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 

Similar to ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)

ระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตJanejira Meezong
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
tuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
tuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดkrutoyou
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
joongka3332
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
NookPiyathida
 
Heart
HeartHeart
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
Tatsawan Khejonrak
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Jiradet Dongroong
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
B08
B08B08
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
Wan Ngamwongwan
 

Similar to ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System) (20)

ระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิต
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
Ccs (2)
Ccs (2)Ccs (2)
Ccs (2)
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
Heart
HeartHeart
Heart
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
B08
B08B08
B08
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
Brain
BrainBrain
Brain
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro3 pdf
Astro3 pdfAstro3 pdf
Astro3 pdf
 
Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 
Astro1 pdf
Astro1 pdfAstro1 pdf
Astro1 pdf
 
Cm rally episode 4 thai
Cm rally episode 4 thaiCm rally episode 4 thai
Cm rally episode 4 thai
 
Cm rally episode 3 thai
Cm rally episode 3 thaiCm rally episode 3 thai
Cm rally episode 3 thai
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)

  • 1. L/O/G/O ระบบไหลเวียนโลหิต (Circulatory System) www.kruseksan.com วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
  • 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ ทดลองและอธิบายโครงสร้างและการทางานของระบบหมุนเวียนเลือด อธิบายการทางานที่สัมพันธ์กันของระบบต่าง ๆ ที่มนุษย์ดารงชีวิตอยู่ได้ปกติ สารวจ วิเคราะห์และอธิบายพฤติกรรมบางอย่างของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าบางชนิด สืบค้นข้อมูลและอธิบายผลของสารเสพติดต่อการทางานของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย4 1 2 3 เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้นี้แล้ว นักเรียนควรจะสามารถ
  • 3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและ การทางานของระบบ หมุนเวียนโลหิต และอธิบายการทางานที่สัมพันธ์กันของระบบ ต่าง ๆ ที่ทาให้มนุษย์มีการเจริญเติบโตและนาไปใช้ประโยชน์ ในการดารงชีวิตได้อย่างปกติสุข
  • 4. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) ระบบหมุนเวียนโลหิต เป็นระบบที่เลือด ทาหน้าที่ ลาเลียงสารต่าง ๆ ไปยังเซลล์ทั่วร่างกาย เช่น สารอาหาร แก๊สต่าง ๆ เกลือแร่ ฮอร์โมน และ รับของเสียส่งออกนอกร่างกายโดยลาเลียงไปตาม เส้นเลือด เช่น CO2 ยูเรีย ยูริก แอมโมเนีย
  • 5. ระบบหมุนเวียนโลหิต มี 2 แบบ แบบวงจรปิด แบบวงจรเปิด เลือดไหลจากหลอดเลือด เข้าสู่ช่องว่างในลาตัว เลือด สัมผัสกับเนื้อเยื่อ มีการแลกเปลี่ยนสารต่าง ๆ โดยตรง ได้แก่ แมลง กุ้ง ปู เป็นต้น• ได้แก่ คน และสัตว์มีกระดูกสัน หลังทังหมด ไส้เดือนดิน ปลาหมึก  เลือดไหลเวียนในหลอดเลือดและหัวใจ  ไม่ออกจากหลอดเลือด  เลือดไม่สัมผัสกับเนื้อเยื่อ หลังจากที่อาหารถูกย่อยจนเล็กที่สุดแล้ว จะแพร่เข้าสู่ผนังลาไส้เล็ก ผ่านเข้าสู่หลอดเลือด เคลื่อนที่ไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกายพร้อมกับเลือด อวัยวะสาคัญ 3 ส่วน ดังนี้ หัวใจ (heart) , หลอดเลือด (blood vassel) และเลือด (blood) (close circulatory system) (open circulatory system)
  • 6. ส่วนประกอบและหน้าที่ของเลือด ส่วนที่เป็นของเหลว 55 % ส่วนที่เป็นของแข็ง 45 % เรียกว่า พลาสมา (plasma) หรือน้าเลือด ประกอบด้วย น้า 91 % สารต่าง ๆ เอนไซม์ ฮอร์โมน แก๊ส ของเสีย ได้แก่ ยูเรีย CO2 เม็ดเลือดแดง(Red blood cell ) เม็ดเลือดขาว (White blood cell ) เกล็ดเลือด (Platelet) ส่วนประกอบของเลือด
  • 7. เป็นสารประกอบโปรตีน ลักษณะค่อนข้างกลม มีสีแดง ตรงกลางเว้า เมื่อโตเต็มที่ ไม่มีนิวเคลียส มีสารสีแดง เรียกว่า ฮีโมโกลบิน มีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบ มีอายุ 110 - 120 วัน สร้างที่ ไขกระดูก ทาลายที่ ตับ ในเด็กสร้างที่ ตับ ม้าม และไขกระดูก หน้าที่ ของเซลล์เม็ดเลือดแดง ลาเลียง O2 เซลล์ ลาเลียง CO2 ปอด 1 mm3 มีเซลล์เม็ดเลือดแดงประมาณ 5 ล้านเม็ด รูป เซลล์เม็ดเลือดแดง ฮีโมโกลบิน + O2 ออกซีฮีโมโกลบิน (Oxyhemoglobin) เซลล์เม็ดเลือดแดง (Red blood cell) ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System)
  • 8. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) ลักษณะ กลม ไม่มีสี มีนิวเคลียส ขนาดใหญ่กว่า เม็ดเลือดแดงสร้างที่ ไขกระดูก ม้าม และ ต่อมน้าเลือง อายุ 7 - 14 วัน เม็ดเลือดขาว ทาหน้าที่ ทาลายเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอม หรือการสร้างโปรตีน ที่เรียกว่า antibody มาทาลาย เชื้อโรค 1 mm3 มีเซลล์เม็ดเลือดขาวประมาณ 4,000- 10,000 เม็ด รูป เซลล์เม็ดเลือดขาว เซลล์เม็ดเลือดขาว (White blood cell )
  • 9. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) เพิ่มเติม มีนิวเคลียส และมีโครโมโซม ใช้ในการตรวจ DNA และแบ่งเป็น 2 ชนิด ตามหน้าที่ 1. ฟาโกไซต์ (phagocyte) : มีวิธีการทาลายเชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอมแบบเขมือบ (phagocytosis) 2. ลิมโฟไซต์ (Lymphocyte) : สร้างภูมิคุ้มกัน (Immunity) โดยหลัง Antibody ต่อสู้กับเชื้อโรค รูป เซลล์เม็ดเลือดขาว เซลล์เม็ดเลือดขาว (White blood cell ) โรคลิวคีเมีย (Leukemai) หรือโรคมะเร็งเซลล์เม็ดเลือดขาว คือ โรคที่เกิดจากการสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวของไขกระดูกผิดปกติ ทาให้ผู้ป่วยเกิดอาการผิดปกติตามแต่ชนิดของเซลล์มะเร็ง และอาจตายได้
  • 10. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) เพลตเลต หรือเศษเม็ดเลือด เกล็ดเลือด แผ่นเลือดไม่ใช่เซลล์ เป็น ชิ้นส่วนของเซลล์ ไม่มีสี ไม่มี นิวเคลียสมีรูปร่างไม่แน่นอนขนาดเล็ก กว่าเม็ดเลือดแดงเกือบ 4 เท่า มีอายุ 4 วัน ทาหน้าที่ ช่วยในการแข็งตัวของ เลือด ในขณะที่เส้นเลือดฉีก เพลตเลต (Platelet)
  • 11. กระบวนการแข็งตัวของเลือด (blood clotting) กระบวนการแข็งตัวของเลือด (blood clotting) มี 2 ขั้นตอน คือ การเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด และการสร้างไฟบรินเพื่อประสานเกล็ดเลือดที่มารวมกลุ่ม กัน โดยมีวิตามิน K และ Ca ช่วยด้วย โปรธรอมบินในเลือด + แคลเซียม (Ca) (วิตามิน K + ตับ) ไพบริน (fibrin) ไฟบริโนเจน (fibrinogen) (เส้นใยละเอียดสานปิดบาดแผลและ เซลล์เม็ดเลือดแดงตกตะกอนจับกันเอง) ธรอมโบพลาสติน thromoplasm เกล็ดเลือดและเนื้อเยื่อรอบ ๆ บาดแผนสร้าง ธรอมบิน (thrombin)
  • 13. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) การหมุนเวียนของเลือด ภายในหลอดเลือดจะถูกควบคุมโดย หัวใจ ซึ่งทาหน้าที่ เหมือนเครื่องสูบฉีด เพื่อ ทาให้เกิดแรงดันที่สามารถจะดันให้เลือดไหล ไปตามหลอดเลือดต่าง ๆ ที่อยู่ทั่วร่างกาย และ สามารถไหลกลับเข้าสู่หัวใจได้ ผู้ค้นพบเป็น คนแรกได้แก่ นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ ชื่อ วิลเลี่ยม ฮาร์วีย์ รูป การหมุนเวียนของเลือด
  • 14. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) หัวใจ (Heart) หัวใจอยู่ระหว่างปอดทั้ง 2 ข้าง ค่อนไปทางซ้ายเล็กน้อย ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดให้ ไหล ตามหลอดเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย แล้วไหลกลับคืนสู่หัวใจ หัวใจประกอบ ด้วยกล้ามเนื้อพิเศษที่เรียกว่า กล้ามเนื้อหัวใจมี 4 ห้อง แบ่งออกเป็น ห้องบน 2 ห้อง เรียกว่า เอเตรียม (Atrium) ห้องล่าง 2 ห้อง เรียกว่า เวนตริเคิล(Ventricle)ระหว่างห้องบนซ้าย-ล่างซ้าย จะมีลิ้น ไบคัสพิด (bicuspid valve) คั่นอยู่ และห้องบนขวา-ล่างขวา จะมีลิ้น ไตรคัสพิด (tricuspid valve) คั่นอยู่ ลิ้นหัวใจทาหน้าที่ ป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ โครงสร้างภายในของหัวใจ
  • 15. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) วงจรเลือด เลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เอเตรียมขวา ผ่านลิ้นไตรคัสพิด เวนตริเคิลขวา ปอด เวนตริเคิลซ้าย เอเตรียมซ้าย ผ่านไบคัสพิด
  • 16. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) ภาพเคลื่อนไหวการไหลเวียนของเลือด สังเกต การไหลเวียน ของเลือดผ่านหัวใจตาม ลูกศร 1. หัวใจห้องบนขวา (Right Atrium) รับหลอดเลือดดาจากหลอดเลือดเวน ขนาดใหญ่ 2 เส้น คือ Superior vena Cava จากส่วนหัวและแขน และ Inferior vena cava จากส่วนตัวและขา 2. หัวใจห้องบนขวา (Right Atrium) บีบตัวนาเลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่างขวา โดยผ่าน ลิ้นไตรคัสปิด Tricuspid Valve กันอยู่ระหว่างห้องบนขวาและล่างขวา
  • 17. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) ภาพเคลื่อนไหวการไหลเวียนของเลือด สังเกต การไหลเวียน ของเลือดผ่านหัวใจตาม ลูกศร 3. หัวใจล่างขวา (Right ventricle)บีบตัว เลือดจะไหลผ่าน Pulmonary semilunar Valve เพื่อฉีดไปยังเส้นเลือด Pulmonary Artery นาไปแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอด โดย จะปล่อย CO2 ออก รับ O2 เข้าแทน เลือด จะไหลกลับสู่หัวใจทาง Pulmonary vein เข้าหัวใจห้องบนซ้าย (Left Atrium)
  • 18. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) ภาพเคลื่อนไหวการไหลเวียนของเลือด สังเกต การไหลเวียน ของเลือดผ่านหัวใจตาม ลูกศร 4. หัวใจห้องบนซ้าย (Left Atrium) บีบตัว นาเลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่างซ้าย (Left Ventricle) ผ่าน Bicuspid valve หรือเรียก อีกชื่อ Mitral valve ที่กั้นอยู่ระหว่างห้อง บนซ้ายและล่างซ้าย 5. หัวใจห้องล่างซ้าย (Left Ventricle)บีบตัว เลือดจะเข้าสู่ Aorta หลอดเลือดแดงขนาด ใหญ่ที่สุดในร่างกาย และมีลิ้น Aortic semilunar valve กั้นไม่ให้เลือด ไหลย้อนกลับเข้าหัวใจ
  • 19. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) ภาพเคลื่อนไหวการไหลเวียนของเลือด สังเกต การไหลเวียน ของเลือดผ่านหัวใจตาม ลูกศร 5. Aorta จะมีแขนงต่าง ๆ คือ หลอดเลือด Artery ส่งเลือดที่ฟอกแล้วไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ข้อควรจา - หัวใจห้องล่างซ้าย เป็นห้องที่ผนังหนาที่สุด เพราะต้องสูบฉีดเลือดแดงไปทั่วร่างกาย - หลอดเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี บรรจุเลือด ดา เพื่อไปฟอกที่ปอด - หลอดเลือดพัลโมนารีเวน บรรจุเลือดแดง ที่ฟอกจากปอดแล้วเข้าสู่หัวใจ
  • 20. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) หลอดเลือด (blood vessels) หลอดเลือด ทาหน้าที่ลาเลียงเลือดจาก หัวใจไปยังอวัยวะส่วนต่าง ๆ ทั่วร่างกาย และ เป็นเส้นทางให้เลือดจากอวัยวะต่าง ๆ ทั่ว ร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจ หลอดเลือดในร่างกายมี 3 ชนิด ได้แก่ 1. หลอดเลือดแดง (Artery) 2. หลอดเลือดดา (Vein) 3. หลอดเลือดฝอย (Capillary)
  • 21. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) หลอดเลือดแดง เป็นหลอดเลือดที่นาเลือดออกจากหัวใจไปยังเซลล์ต่าง ๆ ของ ร่างกาย มีผนังหนาแข็งแรง เพื่อให้มีความทนทานต่อแรงดันเลือดที่ถูกฉีดออกไป ไม่ มีลิ้นกั้นภายใน เลือดที่อยู่ในหลอดเลือดแดง มีปริมาณแก๊สออกซิเจนมาก เรียกว่า “ เลือดแดง ” ยกเว้น หลอดเลือดแดงที่นาเลือดออกจากหัวใจไปยังปอดภายในเป็น เลือดที่มีปริมาณ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มาก เรียกว่า “ เลือดดา ” 1. หลอดเลือดแดง (Artery)
  • 22. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) หลอดเลือดดา เป็นหลอดเลือดที่นาเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เข้าสู่หัวใจ หลอดเลือดดามีผนังบางกว่าหลอดเลือดแดง มีลิ้นกั้นภายใน เพื่อป้องกันเลือดไหลย้อนกลับ เลือดที่ไหลอยู่ภายในหลอดเลือดมีปริมาณ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มาก ยกเว้น หลอดเลือดดาที่นาเลือดจากปอดเข้า สู่หัวใจ จะเป็น เลือดแดง 2. หลอดเลือดดา (Vein)
  • 23. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) รูป โครงสร้างของหลอดเลือดแดง และหลอดเลือดดา
  • 24. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) 3. หลอดเลือดฝอย (Capillary) หลอดเลือดฝอย เป็นหลอดเลือดที่ เชื่อมต่อระหว่างหลอดเลือดแดงและ หลอดเลือดดา สานเป็นร่างแหแทรกอยู่ตาม เนื้อเยื่อต่าง ๆ ของร่างกาย มีขนาดเล็ก ละเอียด เป็นฝอย มีผนังบางมา ประกอบด้วยเซลล์เพียงชั้นเดียว เป็นแหล่งที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สและ สารต่าง ๆ ระหว่างเลือดกับเซลล์ของ ร่างกาย รูป หลอดเลือดฝอย
  • 25. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) ความดันเลือด (Blood pressure) คือ ความดันที่เกิดจากการบีบตัวและคลายตัวของหัวใจ ขณะหัวใจบีบตัว เลือดจะถูกดันออกไปตามหลอดเลือดแดงด้วยความดันสูงทาให้เลือดเคลื่อนที่ไปตาม ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และในขณะที่หัวใจคลายตัวเลือดจะไหลกลับเข้าสู่หัวใจตาม หลอดเลือดดาด้วยความดันต่า ความดันเลือดมีหน่วยเป็น มิลลิเมตรของปรอทมีค่า ตัวเลข 2 ค่า เช่น 120 / 80 มิลลิเมตรของปรอท 120 = ค่าความดันเลือด ขณะหัวใจบีบตัวให้เลือดออกจากหัวใจ (S1:Systolic pressure) 80 = ค่าความดันเลือด ขณะหัวใจคลายตัวรับเลือดเข้าสู่หัวใจ (S2:Diastolic pressure)
  • 26. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) ปกติความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว มีค่า 100 + อายุ ความดันเลือด ขณะหัวใจรับเลือดไม่ควรเกิน 90 มิลลิเมตรของปรอท เครื่องมือวัดความดันเลือด เรียกว่า มาตรความดันเลือด (Sphymonanomiter) ใช้คู่กับหูฟังหรือ สเตทโทสโคป (Stethoscope) วัดความดันที่หลอดเลือดแดงที่ต้นแขน ความรู้เพิ่มเติม เครื่องมือวัดความดันเลือด
  • 27. ปัจจัยที่มีผลต่อความดันเลือด ปัจจัยที่มีผลต่อ ความดันเลือด ขนาดของร่างกาย คนที่ร่างกายใหญ่โตหรือคนอ้วนจะ มีความดันเลือดสูงกว่าคนผอม อายุ ผู้สูงอายุมีความดันเลือดมากกว่า เด็ก เนื่องจากผนังหลอดเลือดมี ความยืดหยุ่นลดลง อารมณ์ คนที่เครียดวิตกกังวล โกรธ หรือ ตกใจ จะมีความดันเลือดสูงกว่าคน อารมณ์ปกติ เพศ ปกติเพศหญิงมีความดันเลือดต่า กว่าเพศชาย ยกเว้นหญิงที่กาลังจะ หมดประจาเดือน สภาพร่างกาย เช่น หลอดเลือดตีบ ระดับไขมันใน เลือดสูงจะทาให้ความดัน เลือดสูง การทางาน ทางานหนักและการออกกาลังกาย จะมีความดันเลือดสูง
  • 28. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) 1. ความดันเลือดเฉลี่ยปกติของหญิงในวัยหนุ่มสาว คือ 110 / 70 มิลลิเมตรปรอท 2. ความดันเลือดเฉลี่ยปกติของชายในวัยหนุ่มสาว คือ 120 / 80 มิลลิเมตรปรอท 3. โรคความดันเลือดสูงจะพบมากในผู้สูงอายุ ผู้ที่โกรธง่าย และผู้ที่มีจิตใจอยู่ใน ภาวะเครียดเป็นประจา สาเหตุของโรคที่สาคัญ คือ การตีบตันของหลอดเลือด 4. อารมณ์ เช่น ขณะโกรธร่างกายจะผลิตสารชนิดหนึ่งออกมา ซึ่งสารนี้จะมีผลต่อ การบีบตัวของหัวใจ ความรู้เพิ่มเติม
  • 29. ชีพจร (pulse) ชีพจร คือ จังหวะการบีบตัวและคลายตัวของ ผนังเส้นเลือดตามจังหวะการเต้นของหัวใจ โดยปกติหัวใจเต้นเฉลี่ยประมาณ 72 ครั้ง ต่อ 1 นาที และอัตราการเต้นของชีพจรในเพศชาย จะสูงกว่าเพศหญิง การวัดชีพจรจะวัดจาก เส้นเลือดแดงบริเวณข้อมือ และข้อศอก รูป การวัดชีพจรที่ ข้อมือ ข้อศอก และซอกคอ
  • 30. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulartory System) การหมุนเวียนของแก๊ส ในร่างกายจะเกิดควบคู่ กับการหมุนเวียนของเลือด โดยส่วนใหญ่แล้วเป็นการ หมุนเวียนของแก๊สที่สาคัญ 2 ชนิด คือ แก๊สออกซิเจน และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ อวัยวะสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการหมุนเวียนของ แก๊ส คือ ปอด โดยปอดจะทาหน้าที่ ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างแก๊สภายในร่างกายกับแก๊สที่อยู่ภายนอกร่างกาย การหมุนเวียนแก๊ส