SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
เรื่อง การถ่ายละอองเรณู การปฏิสนธิ และวัฏจักรชีวิตของพืช
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
คุณครูฐิตารีย์ สาเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
 การนาละอองเรณูที่แก่เต็มที่มาตกลงบนยอดเกสรตัว
เมีย
 ปัจจัยทีทาให้เกิดการถ่ายละอองเรณู (ผสมพันธุ์):
 เกสรตัวผู้พร้อมสาหรับการผสมพันธุ์ = ละอองเรณู
แก่ (แตกออกจากอับเรณู)
 ยอดเกสรตัวเมียพร้อมสาหรับการผสมพันธุ์ = มีขน
หรือน้าหวาน ออกมาที่ยอด/ต่อมน้าหวาน
 วิธีการ :
 เกิดขึ้นโดยมนุษย์
ผสมเพื่อให้เกิดการติดผล
ผสมเพื่อปรับปรุงพันธุ์
 เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ
แมลง/นกมาดูดน้าหวาน ซึ่งพาเกสรติดมาด้วย
ลมพัดละอองเกสรจะต้นหนึ่งสู่อีกต้นหนึ่ง
แรงดูดของละอองเรณูเมื่ออับเรณูแตก
การถ่ายละอองเรณู (POLLINATIN)
 ถ่ายละอองเรณูภายในดอกเดียวกัน/ข้ามดอกในต้นเดียวกัน (Self pollination):
ส่งผลให้ลักษณะทางพันธุกรรมของพืชรุ่นลูกเหมือนต้นเดิม ในธรรมชาติมีวิธี
ป้องกันการผสมกันเองโดยทาให้ละอองเรณูและเซลล์ไข่เจริญไม่พร้อมกัน
 ถ่ายละอองเรณูข้ามต้นในพืชชนิดเดียวกัน (Cross pollination): ส่งผลให้ลักษณะ
ทางพันธุกรรมของพืชรุ่นลูกแตกต่างไปจากพืชต้นเดิม ทาให้พืชมีลักษณะต่างๆ
หลากหลายและอาจได้พืชพันธุ์ใหม่เกิดขึ้น
การถ่ายละอองเรณู (POLLINATIN)
 Sperm (n) + egg (n)  zygote (2n)  embryo (2n)
 Sperm (n) + polar nuclei (n + n)  endosperm (3n)
 เรียกการปฏิสนธิแบบนี้ว่า การปฏิสนธิซ้อน (double Fertilization)
การปฏิสนธิของพืชดอก (FERTILIZATION)
 1. หลอดละอองเรณูงอกไปตามก้านเกสรตัวเมีย ภายในบรรจุ generative nucleus
(n) และ tube nucleus (n)
 2. generative nucleus (n) แบ่งแบบ mitosis 1 ครั้ง ได้ sperm nucleus 2 ตัว
 3. tube nucleus สลายตัว และ sperm nucleus ผ่านรู micropyle ของออวุล
เข้าไป
 4. sperm nucleus ตัวที่ 1 รวมกับเซลล์ไข่ได้เป็น ไซโกต
 5. sperm nucleus ตัวที่ 2 รวมกับโพลาร์นิวคลีไอ ได้เป็นเอนโดสเปิร์ม
การปฏิสนธิของพืชดอก (FERTILIZATION)
ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงหลังการปฏิสนธิ
กลีบเลี้ยง เหี่ยวแห้งหลุดไป แต่ในพืชบางชนิดยังคงอยู่ เช่นมังคุด
กลีบดอก/ยอดเกสรตัวเมีย/
ก้านเกสรตัวเมีย
เหี่ยวแห้งและร่วงหลุดไป
Ovule เมล็ด
Ovary ผล (บางชนิดเช่น แอปเปิล ชมพู่ ผลเกิดจากฐานรอง
ดอก)
ผนังหุ้มรังไข่ เปลือกและเนื้อของผล
Sperm + egg  Zygote เอ็มบริโอหรือต้นอ่อน
Sperm + polar nuclei 
endosperm
อาหารเลี้ยงเอ็มบริโอหรือต้นอ่อน
การเปลี่ยนแปลงหลังการปฏิสนธิ
 การเจริญของ zygote ไปเป็น embryo เกิดจากแบ่งเซลล์แบบ mitosis ได้ 2 เซลล์
 เซลล์ด้านล่างติดกับรู micropyle เรียกว่า เซลล์ฐาน (basal cell) แบ่งเซลล์เพิ่ม
จานวน เรียกว่า เซลล์สนับสนุน (suspensor) ทาหน้าที่ยึด embryo
 เซลล์ด้านบนเรียกว่า แอพิคัลเซลล์ (apical cell) แบ่งเซลล์รวดเร็วและอยู่ด้านบนของ
เซลล์สนับสนุน
 แอพิคัลเซลล์ จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อและส่วนต่างๆ ของ embryo
การเปลี่ยนแปลงหลังการปฏิสนธิ
 วัฏจักรชีวิตแบบสลับ (Alternation of
Generation)
 มี 2 ระยะ คือ ระยะสปอโรไฟต์ (2n) :
สร้างสปอร์ และระยะแกมีโตไฟต์ (n) : สร้าง
เซลล์สืบพันธุ์
1. gametophyte : มีโครโมโซม 1 ชุด
หรือ hapioid (n) ทาหน้าที่สร้างเซลล์
สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียโดยแบ่งเซลล์แบบ
meiosis
2. เกิดการปฏิสนธิ ได้ Zygote ซึ่งมี
จานวนโครโมโซม 2 ชุด หรือ diploid (2n)
3. ไซโกตแบ่งตัวแบบ mitosis เพิ่ม
จานวนเซลล์และพัฒนาเป็น embryo ซึ่ง
เจริญต่อไปสู่ระยะ sporophyte
4. sporophyte : spore mother cell
แบ่งเซลล์แบบ meiosis สร้างสปอร์
วัฏจักรชีวิตของพืชดอก
1
2
3
4
วัฏจักรชีวิตของพืชดอก
 ระยะสปอโรไฟต์เซลล์พืชอยู่ในสภาพ diploid เพราะเป็นเซลล์ที่มีจานวน
โครโมโซม 2n
 Spore mother cell (2n) ในระยะ sporophyte ประกอบด้วย microspore
mother cell และ megaspore mother cell ซึ่งจะแบ่งเซลล์แบบ meiosis เพื่อ
สร้าง spore
 Microspore และ Megaspore ต่างก็เป็นเซลล์ที่มีจานวนโครงโมโซม n หรืออยู่
ในสภาพ haploid
 Spore จะเกิดกระบวนการแบ่งเซลล์แบบ mitosis เพื่อเจริญและพัฒนาเข้าสู่
ระยะ gametophyte ซึ่งทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์
 เซลล์สืบพันธุ์เพศเมียและเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ที่สร้างขึ้นจะเกิดการปฏิสนธิโดยผ่าน
กระบวนการถ่ายเรณูได้เป็น Zygote แล้วเกิดการแบ่งเซลล์แบบ mitosis เพื่อเจริญ
และพัฒนาเป็น embryo จนกระทั้งเจริญเติบโตไปเป็นต้นพืชในระยะสปอร์โรไฟต์ต้น
ใหม่ต่อไป
วัฏจักรชีวิตของพืชดอก
 ผลแท้จริงเกิดจากรังไข่ได้รับการปฏิสนธิ
 ฐานรองดอกพัฒนาเป็นผล: แอปเปิ้ล
สาลี่ ฝรั่ง ชมพู่
 กลีบเลี้ยงพัฒนาเป็นส่วนหนึ่งของผล:
มังคุด มะเขือ ทับทิม
 ผลบางชนิดมาจากรังไข่ที่ไม่ได้รับการ
ปฏิสนธิเรียกว่า ผลเทียม หรือ ผลลม
(parthenocarpic fruit) วิธีการทาให้
เกิดผลเทียมเรียกว่า parthenocarpy
เช่น กล้วยหอม มะเขือยาว มะเขือเทศ
องุ่นไม่มีเมล็ด
ผล (FRUIT)
 ผลเจริญมาจากรังไข่
 ผนังผล (pericarp) เจริญมาจากผนังรัง
ไข่ แบ่งเป็น 3 ชั้น
 Exocarp : เนื้อเยื่อชั้นนอกสุดหรือเปลือก
ประกอบด้วย epidermis ชั้นเดียว
 Mesocarp ; ชั้นกลาง มีท่อลาเลียง มีโซ
คาร์พในพืชบางชนิดอ่อนนุ่มเป็นส่วนเนื้อ
ผลไม้
 Endocarp : ชั้นในสุดของผนังผล พืช
บางชนิดเอนโดคาร์พสามารถรับประธาน
ได้
 ผลบางชนิดโครงสร้างทั้งสามไม่สามารถ
แยกออกจากกันได้ เช่น ถั่วเหลือง พริก
โครงสร้างของผล
 เกณฑ์การจาแนกชนิดของผล
 1.โครงสร้างและลักษณะของดอก
 2.จานวนและชนิดของรังไข่
 3.จานวนคาร์เพลที่อยู่ภายในรังไข่
 4.ลักษณะของผนังผลเมื่อผลแก่
 5.การแตกของผนังผลเมื่อผลแก่
 6.ส่วนของดอก เช่น กลีบเลี้ยง กลีบดอก
ฐานรองดอก ที่เจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็นผล
 จากเกณฑ์ดังกล่าวทาให้จาแนกผลได้ 3
ชนิด คือ ผลเดี่ยว ผลกลุ่ม และผลรวม
ชนิดของผล
 ผลที่เกิดจากรังไข่เดียวในดอกเดียว
 1 ก้านดอกมี ≥ 1 ดอก แต่ละดอกไม่เชื่อม
ติดกัน
 ภายในดอกมี 1 รังไข่ (Ovary)
 ภายในรังไข่มี ≥ 1 เมล็ด (Ovary)
 ตัวอย่างผลเดี่ยว เช่น ตะขบ ทุเรียน ลิ้นจี่
เงาะ ลาไย องุ่น กระถิน สละ มะพร้าว
ข้าวโพด ส้ม
ผลเดี่ยว (SIMPLE FRUIT)
 ผลที่เกิดจากกลุ่มของรังไข่ที่อยู่ในดอก
เดี่ยว
 1 ก้านดอกมี 1 ดอก
 ภายในดอกมี > 1รังไข่
 ภายในรังไข่มี 1 เมล็ด
 ผลที่เกิดขึ้น
 ผลเป็นกลุ่มหรือกระจุกอยู่บน
แกนกลางเดียวกัน เนื่องจากรังไข่
อัดแน่น เช่น สตรอเบอร์รี จาปี
จาปา การเวก กระดังงา กุหลาบ
บัวหลวง น้อยหน่า ลูกจาก หวาย
ผลกลุ่ม (AGGREGATE FRUIT)
 ผลที่เกิดจากดอกช่อก้านสั้นมาเชื่อม
ติดกันแน่นจนเหมือนเป็นผลเดี่ยว
 1 ก้านดอกมี > 1 ดอกย่อย
 ภายในดอกมี 1 รังไข่
 ภายในรังไข่มี 1/ หลายเมล็ด
 ผลที่เกิดขึ้น
 ผลย่อยรวมกันเป็นเนื้อเดียวคล้ายเป็น
ผลเดี่ยว เช่น ขนุน สาเก ยอ มะเดื่อ
สับปะรด หม่อน
ผลรวม (MULTIPLE FRUIT)
ผล (FRUIT)
 ส่วนที่เปลี่ยนแปลงมาจาก Ovule
หลังจากเกิดการปฏิสนธิแล้ว
 เป็นที่อยู่ของ embryo ซึ่งจะเจริญเป็น
พืชต้นใหม่
 เมล็ดเป็นส่วนสาคัญต่อการดารงพันธุ์
ของพืชดอก
 โครงสร้างของเมล็ดประกอบด้วย
 เปลือกเมล็ด (Seed coat)
 เอ็มบริโอ (embryo)
 เอนโดสเปิร์ม (endosperm)
เมล็ด (SEED)
 เปลี่ยนแปลงมาจากผนังออวุล (integument)
 หน้าที่ป้องกันอันตรายให้เอ็มบริโอ
 เมล็ดมีเปลือกหุ้ม 2 ชั้น
 ชั้นนอก : เปลี่ยนแปลงมาจากผนังชั้นนอกของ
ออวุล แข็ง และเหนียว = testa
 ชั้นใน : เป็นเยื่อบางสีขาว เปลี่ยนแปลงมาจาก
ผนังชั้นในของออวุล = tegmen
 รอยแผลเป็นเล็กๆ เกิดจากก้านออวุลหลุดออก =
hilum มีเนื้อเยื่ออวบสีขาวคล้ายฟองน้าติดอยู่ =
caruncle ช่วยอุ้มน้าไว้ใช้ในการงอก
 เปลือกหุ้มเมล็ดของ กระเทียมเถา แคแสด และ
ทองอุไร เปลี่ยนแปลงไปเป็นแผ่นบาง ทาหน้าที่ช่วย
ให้เมล็ดปลิวไปตามลมได้
เปลือกเมล็ด (SEED COAT)
 เกิดจากการปฏิสนธิระหว่างเซลล์ไข่กับสเปิร์ม
 1.ใบเลี้ยง (cotyledon) : ป้องกันอันตรายให้กับ
ยอดอ่อนขณะงอก ย่อยและดูดซึมอาหารจากเอนโด
สเปิร์มมาเก็บไว้ที่ใบเลี้ยง
 2.คอลิเคิล (caulicle) : ลาต้นอ่อนหรือเอ็มบริโอ
 Epicotyl : อยู่เหนือใบเลี้ยง ปลายสุดเรียกว่า
ยอดแรกเกิด (plumule) เจริญเป็นลาต้นยอด
และใบแท้ เมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีเนื้อเยื่อ
พิเศษ เรียก coleoptile ห่อหุ้มปลายยอดแรก
เกิด
 Hypocotyls : อยู่ใต้ใบเลี้ยง ส่วนปลายเรียกว่า
radicle จะพัฒนาไปเป็นรากอ่อน ในพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยว radicle จะหุ้มด้วย coleorhiza
เพื่อป้องกันอันตราย
o 3.เอนโดสเปิร์ม (endosperm): สะสมอาหาร
ไว้เลี้ยงต้นอ่อน
เอ็มบริโอ (EMBRYO)
เมล็ดข้าว ข้าวโพด = สะสมคาร์โบไฮเดรต
เมล็ดละหุ่ง มะพร้าว = สะสมไขมัน
เมล็ดถั่วเหลือง = สะสมโปรตีน
เอนโดสเปิร์มที่เป็นน้า+เนื้อ = มะพร้าว ตาล หมาก
 Pro embryo: ไซโกตแบ่งตัว
ออกเป็น 2 เซลล์ เซลล์ด้านล่าง
ใหญ่ แบ่งตัวช้ากว่าจะฝังตัวใน
เอนโดสเปิร์ม
 Globular stage: เซลล์ข้างบน
แบ่งตัวต่อไปจนเป็นก้อนกลม
 Heart-shaped stage: เอ็มบริโอ
ก้อนกลมจะพัฒนาไปเป็นกลุ่ม
เซลล์รูปหัวใจ
 Torpedo stage: พัฒนาส่วนของ
ใบเลี้ยง
เอ็มบริโอ (EMBRYO)
 เมล็ดพืชใบเลี้ยงคู่ทั่วไป (ถั่ว)
 สะสมอาหารไว้ที่ใบเลี้ยง
 เอนโดสเปิร์มถูกใช้ระหว่างการพัฒนา
ของเมล็ด
 มีใบเลี้ยง 2 ใบ
 ไม่มีเยื่อฟองน้า (caruncle)
รูปแบบของเมล็ด
 เมล็ดพืชใบเลี้ยงคู่กลุ่มละหุ่ง
 สะสมอาหารไว้ที่เอนโดสเปิร์ม
 มีใบเลี้ยง 2 ใบบางๆ อยู่กลางเมล็ด
 มีเยื่อฟองน้า
รูปแบบของเมล็ด
 เมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไป (ข้าวโพด)
 สะสมอาหารไว้ที่เอนโดสเปิร์ม
 มีใบเลี้ยง 1 ใบ
 มีเนื้อเยื่อหุ้มปลายยอด (coleoptile)
 มีเนื้อเยื่อหุ้มปลายราก (coleorhiza)
 ไม่มีเยื่อฟองน้า
รูปแบบของเมล็ด
 เมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวประเภทข้าว
 มีเปลือกหุ้มเมล็ด = แกลบ
 เปลือกหุ้มเมล็ดสีม่วง = รา
 สะสมอาหารไว้ที่เอนโดสเปิร์ม =
ขาว
 มีใบเลี้ยง 1 ใบ สะสมอาหารน้อย
 มีปลายยอด (plumule)
 มีเนื้อเยื่อหุ้มปลายยอด
 มีเนื้อเยื่อหุ้มปลายราก
 ไม่มีเยื่อฟองน้า
รูปแบบของเมล็ด
 เมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวประเภทมะพร้าว
 ผลมะพร้าว = เปลือก + กาบ + กะลา
 มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีม่วง
รูปแบบของเมล็ด
 สะสมอาหารไว้ที่เอน
โดสเปิร์ม (น้า+เนื้อ
มะพร้าว)
 มีใบเลี้ยง+ ยอดอ่อน
= จาวมะพร้าว
 ไม่มีเยื่อฟองน้า
 1. พืชดูดน้าเข้าสู่เมล็ดด้วยกระบวนการ
imbibition
 2. embryo ผลิตจิบเบอเรลลิน (GA)
ไปกระตุ้นเซลล์ชั้น aleurone ให้ผลิต
เอนไซม์ amylase
 3. amylase ย่อยแป้งภายในเอนโด
สเปิร์มเป็นกลูโคส
 4. กลูโคสเข้าไปสู่กระบวนการไกลโคไล
ซิส ได้พลังงานใช้ในการงอก
 5. มีการพัฒนาของ radicle เป็นราก
งอกออกมาจากเมล็ด
 6. ส่วนของยอดแทงออกมาจากเมล็ด
พัฒนาเป็นลาต้นและใบ
การงอกของเมล็ด
(SEED GERMINATION)
 การงอกที่ใบเลี้ยงชูขึ้นมาเหนือพื้นดิน
(epigeal gemination):
 ชูใบเลี้ยงเหนือดิน
 Hypocotyl เจริญดี
 พบในพืชใบเลี้ยงคู่
 การงอกที่ใบเลี้ยงจมอยู่ใต้พื้นดิน
(hypogeal gemination):
 ใบเลี้ยงยังอยู่ใต้ดิน
 Epicotyl เจริญดี
 พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว + ส้ม ขนุน
ถั่วลันเตา
ลักษณะการงอก
 ความชื้น: เปลือกหุ้มเล็ดอ่อนนุ่ม ทาให้ออกซิเจนแพร่เข้า
 วัสดุที่ปฏิกิริยา hydroltsis : amylase : แป้ง
moltoseglucose , protease:
proteinamino acid
 ลาเลียงสารจากการย่อยให้ต้นอ่อน
 ออกซิเจน : จาเป็นต่อการสลายสารอาหารระดับเซลล์ พืชน้า
งอกได้แม้ O2 ต่า
 อุณหภูมิ : พืชเขตหนาวจะงอกที่ T ต่า บวบเหลี่ยมจะงอกที่
T ต่าสลับสูง
 แสง: พืชที่ต้องการแสงในการงอก : วัชพืช ยาสูบ
ผักกาดหอม ปอ พืชที่ไม่ต้องการแสงในการงอก เช่น
แตงกวา กระเจี๊ยบ ข้าวโพด ผักบุ้งจีน
ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด : ปัจจัยภายนอก
 สภาพพักตัวของเมล็ด (seed dormancy) เมล็ดพืชทั่วไปเมื่อได้รับสิ่งแวดล้อมที่
เหมาะสมสภาพพักตัวจะหมดไปทาให้เอ็มบริโอสามารถเจริญเติบโตได้ บางชนิดมีสภาพ
พักตัวสั้นมาก เช่น ขนุน มะละกอ มะขามเทศ, บางชนิดไม่มีสภาพักตัวเลย เช่น โกงกาง
, บางชนิดมีสภาพพักตัวนานมาก แต่เมล็ดพืชบางชนิดแม้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสมก็ยังอยู่ในสภาพพักตัว
 1. เปลือกเมล็ด บางชนิดหนาและแข็งมากทาให้น้าไม่สามารถผ่านเข้าสู่ภายในเมล็ดได้
ในธรรมชาติจะมีการทาลายสภาพพักตัว เช่น ย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ในดิน (มะม่วง,
ปาล์ม), ผ่านระบบย่อยอาหารของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหรือนกแล้วถ่ายเป็นมูล (โพธิ์ ไทร
ตะขบ), ถูกไฟเผา (หญ้า ไผ่บางชนิด ตะเคียน สัก)
 2. เปลือกเมล็ดมีสารซึ่งไม่ยอมให้น้าซึมผ่าน เช่น ไข คิวทิน ลิกนิน ซูเบอริน แก้ไขโดย
การแช่เมล็ดในน้า
 3. เปลือกเมล็ดไม่ยอมให้แก๊สออกซิเจนผ่าน เช่น พืชวงศ์หญ้าบางชนิด แก้ไขโดยใช้วิธี
กล เช่น ทุบทาให้เปลือกเมล็ดแตกออก
ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด : ปัจจัยภายใน
 Embryo: เมล็ดไม่สามารถงอกได้หากเอ็มบริโอเจริญไม่เต็มที่จะต้องรอเวลาช่วงหนึ่งเมล็ด
จึงจะงอกได้ เช่น มะพร้าว วิธีแก้คือ ต้องทิ้งไว้ให้เอ็มบริโอเจริญเต็มที่อยู่ในผลเป็น
ระยะเวลาหนึ่ง
 Endosperm เมล็ดพืชบางชนิดมีน้อยมาก เช่น กล้วยไม้ จึงทาให้ไม่มีอาหารเพียงพอ
สาหรับเลี้ยงเอ็มบริโอระหว่างการงอก วิธีแก้คือ ในธรรมชาติพบว่ามีไมคอร์ไรซาบางชนิด
เจริญร่วมกับเมล็ดเพื่อช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์, นาไปเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงและใส่สาร
กระตุ้นการงอก
 สารเคมี สารเคมีบางชนิดจะยับยั้งการงอกของเมล็ด เช่น กรดแอบไซซิกที่มีสมบัติยับยั้ง
การทางานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการงอกเคลือบอยู่ วิธีแก้ไขคือ ฝนที่ตกหรือนาเมล็ด
มาล้างน้า, ใช้สารเร่งการงอก เช่น gibberellin; GA, ตัดใบเลี้ยงของเอมบริโอ, ฤดูหนาว
หรืออากาศเย็นทาให้กรดแอบไซซิกลดง GA หรือ cytokinin ที่ส่งเสริมการงอกของเมล็ด
เพิ่มขึ้น
 การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์มีหลายประการ เช่น ความสามารถในการงอก
หรือความมีชีวิต, ความแข็งแรง, ความบริสุทธิ์, ความชื้น ฯลฯ
 การวัดดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ ใช้หลักการว่า เมล็ดใดที่มีความแข็งแรงมาก
ย่อมจะงอกได้เร็วกว่า
 นับจานวนเมล็ดงอกทุกวันแล้วบันทึกจนกว่าจะไม่มีเมล็ดงอกเพิ่มอีก
 เปรียบเทียบกับพืชชนิดเดียวกัน แต่จากหลายแหล่ง (จานวนเมล็ดเท่ากัน)
การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์
 1.ดัชนีการงอกของถั่วเหลืองในแหล่ง A B และ Cเป็นเท่าใดตามลาดับ
 2.ถ้านักเรียนเป็นเกษตรกรไม่ควรเลือกเมล็ดพันธุ์จากแหล่งใดมาปลูก เพราะเหตุใด
ตารางการงอกของต้นกล้าถั่วเหลืองจาก 3 แหล่ง
วัฏจักรชีวิตของเฟิร์น
วัฏจักรชีวิตของมอส

More Related Content

What's hot

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกRatarporn Ritmaha
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 

What's hot (20)

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 

Similar to การถ่ายละอองเรณู (T)

การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกNokko Bio
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 

Similar to การถ่ายละอองเรณู (T) (20)

การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
1
11
1
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 

More from Thitaree Samphao

การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)Thitaree Samphao
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 

More from Thitaree Samphao (7)

การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 

การถ่ายละอองเรณู (T)

  • 1. เรื่อง การถ่ายละอองเรณู การปฏิสนธิ และวัฏจักรชีวิตของพืช รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 คุณครูฐิตารีย์ สาเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
  • 2.  การนาละอองเรณูที่แก่เต็มที่มาตกลงบนยอดเกสรตัว เมีย  ปัจจัยทีทาให้เกิดการถ่ายละอองเรณู (ผสมพันธุ์):  เกสรตัวผู้พร้อมสาหรับการผสมพันธุ์ = ละอองเรณู แก่ (แตกออกจากอับเรณู)  ยอดเกสรตัวเมียพร้อมสาหรับการผสมพันธุ์ = มีขน หรือน้าหวาน ออกมาที่ยอด/ต่อมน้าหวาน  วิธีการ :  เกิดขึ้นโดยมนุษย์ ผสมเพื่อให้เกิดการติดผล ผสมเพื่อปรับปรุงพันธุ์  เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ แมลง/นกมาดูดน้าหวาน ซึ่งพาเกสรติดมาด้วย ลมพัดละอองเกสรจะต้นหนึ่งสู่อีกต้นหนึ่ง แรงดูดของละอองเรณูเมื่ออับเรณูแตก การถ่ายละอองเรณู (POLLINATIN)
  • 3.  ถ่ายละอองเรณูภายในดอกเดียวกัน/ข้ามดอกในต้นเดียวกัน (Self pollination): ส่งผลให้ลักษณะทางพันธุกรรมของพืชรุ่นลูกเหมือนต้นเดิม ในธรรมชาติมีวิธี ป้องกันการผสมกันเองโดยทาให้ละอองเรณูและเซลล์ไข่เจริญไม่พร้อมกัน  ถ่ายละอองเรณูข้ามต้นในพืชชนิดเดียวกัน (Cross pollination): ส่งผลให้ลักษณะ ทางพันธุกรรมของพืชรุ่นลูกแตกต่างไปจากพืชต้นเดิม ทาให้พืชมีลักษณะต่างๆ หลากหลายและอาจได้พืชพันธุ์ใหม่เกิดขึ้น การถ่ายละอองเรณู (POLLINATIN)
  • 4.  Sperm (n) + egg (n)  zygote (2n)  embryo (2n)  Sperm (n) + polar nuclei (n + n)  endosperm (3n)  เรียกการปฏิสนธิแบบนี้ว่า การปฏิสนธิซ้อน (double Fertilization) การปฏิสนธิของพืชดอก (FERTILIZATION)
  • 5.  1. หลอดละอองเรณูงอกไปตามก้านเกสรตัวเมีย ภายในบรรจุ generative nucleus (n) และ tube nucleus (n)  2. generative nucleus (n) แบ่งแบบ mitosis 1 ครั้ง ได้ sperm nucleus 2 ตัว  3. tube nucleus สลายตัว และ sperm nucleus ผ่านรู micropyle ของออวุล เข้าไป  4. sperm nucleus ตัวที่ 1 รวมกับเซลล์ไข่ได้เป็น ไซโกต  5. sperm nucleus ตัวที่ 2 รวมกับโพลาร์นิวคลีไอ ได้เป็นเอนโดสเปิร์ม การปฏิสนธิของพืชดอก (FERTILIZATION)
  • 6. ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงหลังการปฏิสนธิ กลีบเลี้ยง เหี่ยวแห้งหลุดไป แต่ในพืชบางชนิดยังคงอยู่ เช่นมังคุด กลีบดอก/ยอดเกสรตัวเมีย/ ก้านเกสรตัวเมีย เหี่ยวแห้งและร่วงหลุดไป Ovule เมล็ด Ovary ผล (บางชนิดเช่น แอปเปิล ชมพู่ ผลเกิดจากฐานรอง ดอก) ผนังหุ้มรังไข่ เปลือกและเนื้อของผล Sperm + egg  Zygote เอ็มบริโอหรือต้นอ่อน Sperm + polar nuclei  endosperm อาหารเลี้ยงเอ็มบริโอหรือต้นอ่อน การเปลี่ยนแปลงหลังการปฏิสนธิ
  • 7.  การเจริญของ zygote ไปเป็น embryo เกิดจากแบ่งเซลล์แบบ mitosis ได้ 2 เซลล์  เซลล์ด้านล่างติดกับรู micropyle เรียกว่า เซลล์ฐาน (basal cell) แบ่งเซลล์เพิ่ม จานวน เรียกว่า เซลล์สนับสนุน (suspensor) ทาหน้าที่ยึด embryo  เซลล์ด้านบนเรียกว่า แอพิคัลเซลล์ (apical cell) แบ่งเซลล์รวดเร็วและอยู่ด้านบนของ เซลล์สนับสนุน  แอพิคัลเซลล์ จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อและส่วนต่างๆ ของ embryo การเปลี่ยนแปลงหลังการปฏิสนธิ
  • 8.  วัฏจักรชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation)  มี 2 ระยะ คือ ระยะสปอโรไฟต์ (2n) : สร้างสปอร์ และระยะแกมีโตไฟต์ (n) : สร้าง เซลล์สืบพันธุ์ 1. gametophyte : มีโครโมโซม 1 ชุด หรือ hapioid (n) ทาหน้าที่สร้างเซลล์ สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียโดยแบ่งเซลล์แบบ meiosis 2. เกิดการปฏิสนธิ ได้ Zygote ซึ่งมี จานวนโครโมโซม 2 ชุด หรือ diploid (2n) 3. ไซโกตแบ่งตัวแบบ mitosis เพิ่ม จานวนเซลล์และพัฒนาเป็น embryo ซึ่ง เจริญต่อไปสู่ระยะ sporophyte 4. sporophyte : spore mother cell แบ่งเซลล์แบบ meiosis สร้างสปอร์ วัฏจักรชีวิตของพืชดอก 1 2 3 4
  • 10.  ระยะสปอโรไฟต์เซลล์พืชอยู่ในสภาพ diploid เพราะเป็นเซลล์ที่มีจานวน โครโมโซม 2n  Spore mother cell (2n) ในระยะ sporophyte ประกอบด้วย microspore mother cell และ megaspore mother cell ซึ่งจะแบ่งเซลล์แบบ meiosis เพื่อ สร้าง spore  Microspore และ Megaspore ต่างก็เป็นเซลล์ที่มีจานวนโครงโมโซม n หรืออยู่ ในสภาพ haploid  Spore จะเกิดกระบวนการแบ่งเซลล์แบบ mitosis เพื่อเจริญและพัฒนาเข้าสู่ ระยะ gametophyte ซึ่งทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์  เซลล์สืบพันธุ์เพศเมียและเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ที่สร้างขึ้นจะเกิดการปฏิสนธิโดยผ่าน กระบวนการถ่ายเรณูได้เป็น Zygote แล้วเกิดการแบ่งเซลล์แบบ mitosis เพื่อเจริญ และพัฒนาเป็น embryo จนกระทั้งเจริญเติบโตไปเป็นต้นพืชในระยะสปอร์โรไฟต์ต้น ใหม่ต่อไป วัฏจักรชีวิตของพืชดอก
  • 11.  ผลแท้จริงเกิดจากรังไข่ได้รับการปฏิสนธิ  ฐานรองดอกพัฒนาเป็นผล: แอปเปิ้ล สาลี่ ฝรั่ง ชมพู่  กลีบเลี้ยงพัฒนาเป็นส่วนหนึ่งของผล: มังคุด มะเขือ ทับทิม  ผลบางชนิดมาจากรังไข่ที่ไม่ได้รับการ ปฏิสนธิเรียกว่า ผลเทียม หรือ ผลลม (parthenocarpic fruit) วิธีการทาให้ เกิดผลเทียมเรียกว่า parthenocarpy เช่น กล้วยหอม มะเขือยาว มะเขือเทศ องุ่นไม่มีเมล็ด ผล (FRUIT)
  • 12.  ผลเจริญมาจากรังไข่  ผนังผล (pericarp) เจริญมาจากผนังรัง ไข่ แบ่งเป็น 3 ชั้น  Exocarp : เนื้อเยื่อชั้นนอกสุดหรือเปลือก ประกอบด้วย epidermis ชั้นเดียว  Mesocarp ; ชั้นกลาง มีท่อลาเลียง มีโซ คาร์พในพืชบางชนิดอ่อนนุ่มเป็นส่วนเนื้อ ผลไม้  Endocarp : ชั้นในสุดของผนังผล พืช บางชนิดเอนโดคาร์พสามารถรับประธาน ได้  ผลบางชนิดโครงสร้างทั้งสามไม่สามารถ แยกออกจากกันได้ เช่น ถั่วเหลือง พริก โครงสร้างของผล
  • 13.  เกณฑ์การจาแนกชนิดของผล  1.โครงสร้างและลักษณะของดอก  2.จานวนและชนิดของรังไข่  3.จานวนคาร์เพลที่อยู่ภายในรังไข่  4.ลักษณะของผนังผลเมื่อผลแก่  5.การแตกของผนังผลเมื่อผลแก่  6.ส่วนของดอก เช่น กลีบเลี้ยง กลีบดอก ฐานรองดอก ที่เจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็นผล  จากเกณฑ์ดังกล่าวทาให้จาแนกผลได้ 3 ชนิด คือ ผลเดี่ยว ผลกลุ่ม และผลรวม ชนิดของผล
  • 14.  ผลที่เกิดจากรังไข่เดียวในดอกเดียว  1 ก้านดอกมี ≥ 1 ดอก แต่ละดอกไม่เชื่อม ติดกัน  ภายในดอกมี 1 รังไข่ (Ovary)  ภายในรังไข่มี ≥ 1 เมล็ด (Ovary)  ตัวอย่างผลเดี่ยว เช่น ตะขบ ทุเรียน ลิ้นจี่ เงาะ ลาไย องุ่น กระถิน สละ มะพร้าว ข้าวโพด ส้ม ผลเดี่ยว (SIMPLE FRUIT)
  • 15.  ผลที่เกิดจากกลุ่มของรังไข่ที่อยู่ในดอก เดี่ยว  1 ก้านดอกมี 1 ดอก  ภายในดอกมี > 1รังไข่  ภายในรังไข่มี 1 เมล็ด  ผลที่เกิดขึ้น  ผลเป็นกลุ่มหรือกระจุกอยู่บน แกนกลางเดียวกัน เนื่องจากรังไข่ อัดแน่น เช่น สตรอเบอร์รี จาปี จาปา การเวก กระดังงา กุหลาบ บัวหลวง น้อยหน่า ลูกจาก หวาย ผลกลุ่ม (AGGREGATE FRUIT)
  • 16.  ผลที่เกิดจากดอกช่อก้านสั้นมาเชื่อม ติดกันแน่นจนเหมือนเป็นผลเดี่ยว  1 ก้านดอกมี > 1 ดอกย่อย  ภายในดอกมี 1 รังไข่  ภายในรังไข่มี 1/ หลายเมล็ด  ผลที่เกิดขึ้น  ผลย่อยรวมกันเป็นเนื้อเดียวคล้ายเป็น ผลเดี่ยว เช่น ขนุน สาเก ยอ มะเดื่อ สับปะรด หม่อน ผลรวม (MULTIPLE FRUIT)
  • 18.  ส่วนที่เปลี่ยนแปลงมาจาก Ovule หลังจากเกิดการปฏิสนธิแล้ว  เป็นที่อยู่ของ embryo ซึ่งจะเจริญเป็น พืชต้นใหม่  เมล็ดเป็นส่วนสาคัญต่อการดารงพันธุ์ ของพืชดอก  โครงสร้างของเมล็ดประกอบด้วย  เปลือกเมล็ด (Seed coat)  เอ็มบริโอ (embryo)  เอนโดสเปิร์ม (endosperm) เมล็ด (SEED)
  • 19.  เปลี่ยนแปลงมาจากผนังออวุล (integument)  หน้าที่ป้องกันอันตรายให้เอ็มบริโอ  เมล็ดมีเปลือกหุ้ม 2 ชั้น  ชั้นนอก : เปลี่ยนแปลงมาจากผนังชั้นนอกของ ออวุล แข็ง และเหนียว = testa  ชั้นใน : เป็นเยื่อบางสีขาว เปลี่ยนแปลงมาจาก ผนังชั้นในของออวุล = tegmen  รอยแผลเป็นเล็กๆ เกิดจากก้านออวุลหลุดออก = hilum มีเนื้อเยื่ออวบสีขาวคล้ายฟองน้าติดอยู่ = caruncle ช่วยอุ้มน้าไว้ใช้ในการงอก  เปลือกหุ้มเมล็ดของ กระเทียมเถา แคแสด และ ทองอุไร เปลี่ยนแปลงไปเป็นแผ่นบาง ทาหน้าที่ช่วย ให้เมล็ดปลิวไปตามลมได้ เปลือกเมล็ด (SEED COAT)
  • 20.  เกิดจากการปฏิสนธิระหว่างเซลล์ไข่กับสเปิร์ม  1.ใบเลี้ยง (cotyledon) : ป้องกันอันตรายให้กับ ยอดอ่อนขณะงอก ย่อยและดูดซึมอาหารจากเอนโด สเปิร์มมาเก็บไว้ที่ใบเลี้ยง  2.คอลิเคิล (caulicle) : ลาต้นอ่อนหรือเอ็มบริโอ  Epicotyl : อยู่เหนือใบเลี้ยง ปลายสุดเรียกว่า ยอดแรกเกิด (plumule) เจริญเป็นลาต้นยอด และใบแท้ เมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีเนื้อเยื่อ พิเศษ เรียก coleoptile ห่อหุ้มปลายยอดแรก เกิด  Hypocotyls : อยู่ใต้ใบเลี้ยง ส่วนปลายเรียกว่า radicle จะพัฒนาไปเป็นรากอ่อน ในพืชใบ เลี้ยงเดี่ยว radicle จะหุ้มด้วย coleorhiza เพื่อป้องกันอันตราย o 3.เอนโดสเปิร์ม (endosperm): สะสมอาหาร ไว้เลี้ยงต้นอ่อน เอ็มบริโอ (EMBRYO) เมล็ดข้าว ข้าวโพด = สะสมคาร์โบไฮเดรต เมล็ดละหุ่ง มะพร้าว = สะสมไขมัน เมล็ดถั่วเหลือง = สะสมโปรตีน เอนโดสเปิร์มที่เป็นน้า+เนื้อ = มะพร้าว ตาล หมาก
  • 21.  Pro embryo: ไซโกตแบ่งตัว ออกเป็น 2 เซลล์ เซลล์ด้านล่าง ใหญ่ แบ่งตัวช้ากว่าจะฝังตัวใน เอนโดสเปิร์ม  Globular stage: เซลล์ข้างบน แบ่งตัวต่อไปจนเป็นก้อนกลม  Heart-shaped stage: เอ็มบริโอ ก้อนกลมจะพัฒนาไปเป็นกลุ่ม เซลล์รูปหัวใจ  Torpedo stage: พัฒนาส่วนของ ใบเลี้ยง เอ็มบริโอ (EMBRYO)
  • 22.  เมล็ดพืชใบเลี้ยงคู่ทั่วไป (ถั่ว)  สะสมอาหารไว้ที่ใบเลี้ยง  เอนโดสเปิร์มถูกใช้ระหว่างการพัฒนา ของเมล็ด  มีใบเลี้ยง 2 ใบ  ไม่มีเยื่อฟองน้า (caruncle) รูปแบบของเมล็ด
  • 23.  เมล็ดพืชใบเลี้ยงคู่กลุ่มละหุ่ง  สะสมอาหารไว้ที่เอนโดสเปิร์ม  มีใบเลี้ยง 2 ใบบางๆ อยู่กลางเมล็ด  มีเยื่อฟองน้า รูปแบบของเมล็ด
  • 24.  เมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไป (ข้าวโพด)  สะสมอาหารไว้ที่เอนโดสเปิร์ม  มีใบเลี้ยง 1 ใบ  มีเนื้อเยื่อหุ้มปลายยอด (coleoptile)  มีเนื้อเยื่อหุ้มปลายราก (coleorhiza)  ไม่มีเยื่อฟองน้า รูปแบบของเมล็ด
  • 25.  เมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวประเภทข้าว  มีเปลือกหุ้มเมล็ด = แกลบ  เปลือกหุ้มเมล็ดสีม่วง = รา  สะสมอาหารไว้ที่เอนโดสเปิร์ม = ขาว  มีใบเลี้ยง 1 ใบ สะสมอาหารน้อย  มีปลายยอด (plumule)  มีเนื้อเยื่อหุ้มปลายยอด  มีเนื้อเยื่อหุ้มปลายราก  ไม่มีเยื่อฟองน้า รูปแบบของเมล็ด
  • 26.  เมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวประเภทมะพร้าว  ผลมะพร้าว = เปลือก + กาบ + กะลา  มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีม่วง รูปแบบของเมล็ด  สะสมอาหารไว้ที่เอน โดสเปิร์ม (น้า+เนื้อ มะพร้าว)  มีใบเลี้ยง+ ยอดอ่อน = จาวมะพร้าว  ไม่มีเยื่อฟองน้า
  • 27.  1. พืชดูดน้าเข้าสู่เมล็ดด้วยกระบวนการ imbibition  2. embryo ผลิตจิบเบอเรลลิน (GA) ไปกระตุ้นเซลล์ชั้น aleurone ให้ผลิต เอนไซม์ amylase  3. amylase ย่อยแป้งภายในเอนโด สเปิร์มเป็นกลูโคส  4. กลูโคสเข้าไปสู่กระบวนการไกลโคไล ซิส ได้พลังงานใช้ในการงอก  5. มีการพัฒนาของ radicle เป็นราก งอกออกมาจากเมล็ด  6. ส่วนของยอดแทงออกมาจากเมล็ด พัฒนาเป็นลาต้นและใบ การงอกของเมล็ด (SEED GERMINATION)
  • 28.  การงอกที่ใบเลี้ยงชูขึ้นมาเหนือพื้นดิน (epigeal gemination):  ชูใบเลี้ยงเหนือดิน  Hypocotyl เจริญดี  พบในพืชใบเลี้ยงคู่  การงอกที่ใบเลี้ยงจมอยู่ใต้พื้นดิน (hypogeal gemination):  ใบเลี้ยงยังอยู่ใต้ดิน  Epicotyl เจริญดี  พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว + ส้ม ขนุน ถั่วลันเตา ลักษณะการงอก
  • 29.  ความชื้น: เปลือกหุ้มเล็ดอ่อนนุ่ม ทาให้ออกซิเจนแพร่เข้า  วัสดุที่ปฏิกิริยา hydroltsis : amylase : แป้ง moltoseglucose , protease: proteinamino acid  ลาเลียงสารจากการย่อยให้ต้นอ่อน  ออกซิเจน : จาเป็นต่อการสลายสารอาหารระดับเซลล์ พืชน้า งอกได้แม้ O2 ต่า  อุณหภูมิ : พืชเขตหนาวจะงอกที่ T ต่า บวบเหลี่ยมจะงอกที่ T ต่าสลับสูง  แสง: พืชที่ต้องการแสงในการงอก : วัชพืช ยาสูบ ผักกาดหอม ปอ พืชที่ไม่ต้องการแสงในการงอก เช่น แตงกวา กระเจี๊ยบ ข้าวโพด ผักบุ้งจีน ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด : ปัจจัยภายนอก
  • 30.  สภาพพักตัวของเมล็ด (seed dormancy) เมล็ดพืชทั่วไปเมื่อได้รับสิ่งแวดล้อมที่ เหมาะสมสภาพพักตัวจะหมดไปทาให้เอ็มบริโอสามารถเจริญเติบโตได้ บางชนิดมีสภาพ พักตัวสั้นมาก เช่น ขนุน มะละกอ มะขามเทศ, บางชนิดไม่มีสภาพักตัวเลย เช่น โกงกาง , บางชนิดมีสภาพพักตัวนานมาก แต่เมล็ดพืชบางชนิดแม้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมก็ยังอยู่ในสภาพพักตัว  1. เปลือกเมล็ด บางชนิดหนาและแข็งมากทาให้น้าไม่สามารถผ่านเข้าสู่ภายในเมล็ดได้ ในธรรมชาติจะมีการทาลายสภาพพักตัว เช่น ย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ในดิน (มะม่วง, ปาล์ม), ผ่านระบบย่อยอาหารของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหรือนกแล้วถ่ายเป็นมูล (โพธิ์ ไทร ตะขบ), ถูกไฟเผา (หญ้า ไผ่บางชนิด ตะเคียน สัก)  2. เปลือกเมล็ดมีสารซึ่งไม่ยอมให้น้าซึมผ่าน เช่น ไข คิวทิน ลิกนิน ซูเบอริน แก้ไขโดย การแช่เมล็ดในน้า  3. เปลือกเมล็ดไม่ยอมให้แก๊สออกซิเจนผ่าน เช่น พืชวงศ์หญ้าบางชนิด แก้ไขโดยใช้วิธี กล เช่น ทุบทาให้เปลือกเมล็ดแตกออก ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด : ปัจจัยภายใน
  • 31.
  • 32.  Embryo: เมล็ดไม่สามารถงอกได้หากเอ็มบริโอเจริญไม่เต็มที่จะต้องรอเวลาช่วงหนึ่งเมล็ด จึงจะงอกได้ เช่น มะพร้าว วิธีแก้คือ ต้องทิ้งไว้ให้เอ็มบริโอเจริญเต็มที่อยู่ในผลเป็น ระยะเวลาหนึ่ง  Endosperm เมล็ดพืชบางชนิดมีน้อยมาก เช่น กล้วยไม้ จึงทาให้ไม่มีอาหารเพียงพอ สาหรับเลี้ยงเอ็มบริโอระหว่างการงอก วิธีแก้คือ ในธรรมชาติพบว่ามีไมคอร์ไรซาบางชนิด เจริญร่วมกับเมล็ดเพื่อช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์, นาไปเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงและใส่สาร กระตุ้นการงอก  สารเคมี สารเคมีบางชนิดจะยับยั้งการงอกของเมล็ด เช่น กรดแอบไซซิกที่มีสมบัติยับยั้ง การทางานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการงอกเคลือบอยู่ วิธีแก้ไขคือ ฝนที่ตกหรือนาเมล็ด มาล้างน้า, ใช้สารเร่งการงอก เช่น gibberellin; GA, ตัดใบเลี้ยงของเอมบริโอ, ฤดูหนาว หรืออากาศเย็นทาให้กรดแอบไซซิกลดง GA หรือ cytokinin ที่ส่งเสริมการงอกของเมล็ด เพิ่มขึ้น
  • 33.  การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์มีหลายประการ เช่น ความสามารถในการงอก หรือความมีชีวิต, ความแข็งแรง, ความบริสุทธิ์, ความชื้น ฯลฯ  การวัดดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ ใช้หลักการว่า เมล็ดใดที่มีความแข็งแรงมาก ย่อมจะงอกได้เร็วกว่า  นับจานวนเมล็ดงอกทุกวันแล้วบันทึกจนกว่าจะไม่มีเมล็ดงอกเพิ่มอีก  เปรียบเทียบกับพืชชนิดเดียวกัน แต่จากหลายแหล่ง (จานวนเมล็ดเท่ากัน) การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์
  • 34.  1.ดัชนีการงอกของถั่วเหลืองในแหล่ง A B และ Cเป็นเท่าใดตามลาดับ  2.ถ้านักเรียนเป็นเกษตรกรไม่ควรเลือกเมล็ดพันธุ์จากแหล่งใดมาปลูก เพราะเหตุใด ตารางการงอกของต้นกล้าถั่วเหลืองจาก 3 แหล่ง
  • 35.