SlideShare a Scribd company logo
ร่า งกายของสัต ว์ช ั้น สูง
และมนุษ ย์ป ระกอบด้ว ย
เซลล์จ ำา นวนมากมาย
หลายล้า นเซลล์ เซลล์
จะมีก ารรวมกลุ่ม กัน
เพื่อ ทำา หน้า ที่เ ฉพาะ
อย่า ง กลุ่ม ของเซลล์ท ี่ม ี
รูป ร่า งเหมือ นกัน มาทำา
หน้า ที่อ ย่า งเดีย วกัน
เรีย กว่า เนื้อ เยื่อ
อวัย วะ เกิด จากเนื้อ เยื่อ หลาย
ชนิด มาทำา หน้า ที่อ ย่า งเดีย วกัน
และอวัย วะหลายๆอย่า งมาทำา
หน้า ที่ร ่ว มกัน เรีย กว่า ระบบ
อวัย วะ ดัง นั้น ร่า งกายมนุษ ย์จ ึง
ถูก จัด ระเบีย บเป็น 4 ระดับ คือ
ระดับ เซลล์ เนื้อ เยื่อ อวัย วะ และ
ระบบ
ระดับ เซลล์
    เซลล์ คือ องค์
ประกอบพื้น ฐานที่เ ล็ก
ทีส ุด ของสิง มีช ีว ิต
  ่           ่
เซลล์ 1 เซลล์
สามารถทำา หน้า ที่ไ ด้
เท่า กับ สิง มีช ีว ิต หนึ่ง
           ่
ชีว ิต เพราะสิง มีช ว ิต
                  ่     ี
เซลล์เ ดีย วสามารถ
ดำา รงชีว ิต อยู่ไ ด้
ลัก ษณะของเซลล์
ของสิง มีช ีว ิต จะมี
        ่
ระดับ
  เนื้อ ่อ หมาย
  เนื้อ เยื เยื่อ
ถึง กลุม ของเซลล์ท ี่ม ี
          ่
รูป ร่า งเหมือ นกัน มา
อยู่ร วมกัน และทำา
หน้า ที่อ ย่า งเดีย วกัน
เช่น
เนื้อ เยื่อ กล้า มเนื้อ
มีห น้า ที่ช ่ว ยให้
ร่า งกายเคลือ นไหว
                 ่
ได้ ทำา งานได้
เนื้อ เยื่อ ประสาททำา
ระดับ
      อวัย วะ
      ระดับ อวัย วะ คือ โครงสร้า ง
ที่ป ระกอบด้ว ยเนื้อ เยื่อ หลาย
ชนิด อยู่ร ่ว มกัน และทำา หน้า ที่
อย่า งใดอย่า งหนึ่ง โดยเฉพาะ
เช่น หัว ใจ เป็น อวัย วะที่
ประกอบด้ว ยเนือ เยือ หุ้ม หัว ใจ
                   ้     ่
เนือ เยื่อ กล้า มเนือ เยือ บุห ัว ใจ
    ้                  ้     ่
เส้น เลือ ด เป็น ต้น กระเพาะ
อาหาร เป็น อวัย วะหนึง ที่     ่
ประกอบด้ว ยเนือ เยือ กล้า มเนือ
                     ้     ่        ้
วงกลมและกล้า มเนื้อ ตามยาว
ระดับ ร่า งกาย
   ร่า งกายของเราประกอบด้ว ย
อวัย วะต่า งๆมาทำา งานประสานกัน
เป็น ระบบ เช่น ระบบทางเดิน อาหาร
ประกอบด้ว ยอวัย วะหลายอย่า ง
ได้แ ก่ หลอดอาหาร กระเพาะ
อาหาร ตับ ตับ อ่อ น ลำา ไส้เ ล็ก
ลำา ไส้ใ หญ่ มาทำา งานประสานกัน ถ้า
อวัย วะใดอวัย วะหนึ่ง ทำา งานผิด ปกติ
ไปหรือ ทำา งานไม่ไ ด้ก ็จ ะมีผ ลกระทบ
ต่อ สิ่ง มีช ีว ิต นั้น
นอกจากการทำา งานที่ป ระสานกัน
ภายในระบบนั้น ๆแล้ว ระบบนั้น ๆ
แล้ว ระบบต่า งๆของร่า งกายไมว่า
จะเป็น ระบบย่อ ยอาหร ระบบ
หายใจ ระบบโครงกระดูก และ
กล้า มเนื้อ ระบบประสาท ระบบ
ขับ ถ่า ย ระบบหมุน เวีย นเลือ ด
ระบบภูม ิค ุ้ม กัน หรือ ระบบสืบ พัน ธุ์
แต่ล ะระบบจะต้อ งทำา งานประสาน
กัน เพื่อ ให้ส ิ่ง มีช ีว ิต นั้น ๆดำา รงอยู่
ระบบย่อ ยอาหาร
    ระบบย่อ ยอาหารประกอบด้ว ยอวัย วะ
หลาย ๆ อวัย วะ ได้แ ก่ ปาก หลอดอาหาร
กระเพาะอาหาร ตับ    ตับ อ่อ น ลำา ไส้เ ล็ก
ลำา ไส้ใ หญ่ ซึ่ง อวัย วะบางอวัย วะไม่ม ก าร
                                         ี
ย่อ ยแต่เ กี่ย วข้อ งกับ ทางเดิน อาหาร    การ
ย่อ ยอาหาร เป็น กระบวนการที่ท ำา ให้
อาหารที่ม โ มเลกุล ใหญ่ มีข นาดเล็ก ลงจน
             ี
สามารถซึม เข้า สูเ ซลล์ไ ด้ การย่อ ยมี 2
                     ่
ลัก ษณะคือ
1. การย่อ ยเชิง กล เป็น การย่อ ย
อาหารโดยไม่ใ ช้เ อ็น ไซม์ม า
ช่ว ย เป็น การบดเคี้ย วให้อ าหาร
มีข นาดเล็ก ลง ได้แ ก่ก ารบด
เคี้ย วอาหารในปาก
 2. การย่อ ยทางเคมี เป็น การ
ย่อ ยที่ต ้อ งใช้เ อ็น ไซม์*(หรือ นำ้า
ย่อ ย)มาช่ว ย ทำา ให้โ มเลกุล ของ
อาหารมีข นาดเล็ก ลง เช่น การ
การย่อ ย
อาหารที่ป าก
ปาก(mouth)
    เป็น อวัย วะแรก
 ของระบบย่อ ย
  อาหาร ภายในปาก
  จะมีส ว นประกอบ
          ่
  ดัง นี้
ฟัน ทำา หน้า ที่บ ด
  เคี้ย วอาหารให้ม ี
  ขนาดเล็ก ลง
ต่อ มนำ้า ลาย จะขับ
  นำ้า ลายซึ่ง มนำ้า ย่อ ย
ลิ้น จะช่ว ยกวาด, คลุก เคล้า อาหาร
และส่ง อาหารทีเ คี้ย วลงสู่
                      ่
หลอดอาหาร
หลอดอาหาร ท่อ ลำา เลีย งอาหารอยู่
ด้า นหลัง ของหลอดลมและทะลุก ระ
บัง ลมไปต่อ กับ ปลายบนของ
กระเพาะอาหาร ทำา หน้า ที่ล ำา เลีย ง
อาหารที่เ คีย วแล้ว ลงสูก ระเพาะ
              ้          ่
อาหาร โดยการบีบ รัด ของผนัง กล้า ม
เนื้อ
     การย่อ ยอาหารในปากจะเริ่ม เมื่อ
อาหารเข้า สูป าก โดยฟัน จะทำา
                    ่
หน้า ที่บ ดเคีย วอาหารให้อ าหารมี
                  ้
ขนาดเล็ก ลง เพื่อ เพิ่ม เนื้อ ที่ข อง
อาหารให้ม ด อกาสสัม ผัส กับ เอนไซม์
                ี
ชนิด ที่อ ยูใ นนำ้า ลายได้ม ากขึ้น
            ่
ทำา ให้ก ารย่อ ยอาหารเป็น ไปได้
นำ้า ลายที่ถ ูก ขับ ออกจากต่อ มนำ้า ลาย
( เอนไซม์ใ นนำ้า ลายจะย่อ ยอาหาร
จำา พวกแป้ง หรือ สารอาหารประเภท
คาร์โ บไฮเดรตให้เ ป็น นำ้า ตาลเท่า นั้น )
ในขณะที่เ คีย วอาหารจะช่ว ยคลุก เคล้า
                ้
กับ อาหารทำา ให้ม ีค วามลื่น ต่อ การเคี้ย ว
ได้ง า ย และยัง ช่ว ยในการย่อ ยอาหาร
        ่
ได้อ ีก ด้ว ย โดยในนำ้า ลายจะมีเ อนไซม์
ที่ช ื่อ อะไมเลส ซึง สามารถย่อ ยแป้ง ที่
                      ่
มีอ นุภ าคใหญ่ใ ห้ก ลายเป็น นำ้า ตาลที่ม ี
อนุภ าคเล็ก อีก ด้ว ยสาเหตุน ี้ข ณะเรา
การย่อ ยอาหารที่ก ระเพาะ
      อาหาร ( stomach )
    กระเพาะอาหาร ( stomach ) มีล ัก ษณะ
เป็น ถุง ที่ม ช น กล้า มเนือ ที่แ ข็ง แรง ส่ว นชัน
              ี ั้         ้                     ้
ในสุด เป็น ชัน ของเยื่อ บุก ระเพาะอาหารที่ม ี
                   ้
ต่อ มมากมายทำา หน้า ที่ส ร้า งของเหลว
( gastric juice ) ออกมา 3 ชนิด คือ เอน
ไซม์เ ปปซิน ( pepsin ) กรดไฮโดรคลอริก
และนำ้า
    อาหารเมือ ย่อ ยในปากแล้ว จะถูก ส่ง ไปยัง
                     ่
กระเพาะอาหาร โดยผ่า นไปตาม
หลอดอาหาร ปกติก ระเพาะอาหารขณะที่
ไม่ม อ าหารอยู่จ ะมีข นาดประมาณ 50
     ี
ผนัง ชั้น ในสุด ของกระเพาะ
อาหารทำา หน้า ที่ผ ลิต เอนไซม์ช ื่อ
ว่า เปปซิน ( pepsin ) และ กรดไฮ
โดรคลอริก ออกมาในปริม าณ
เล็ก น้อ ยอยู่ต ลอดเวลา แต่เ มื่อ มี
อาหารเข้า สู่ก ระเพาะอาหาร
เอนไซม์แ ละกรดไฮโดรคลอริก ก็
จะถูก ผลิต และขับ ออกมาใน
เอนไซม์เ ปปซิน ในกระเพาะอาหาร
มีห น้า ที่ย อ ยสารอาหารประเภทโปรตีน
             ่
ให้ม ีข นาดเล็ก ลง แต่ย ง มีข นาดใหญ่
                              ั
เกิน กว่า จะแพร่เ ข้า สูเ ซลล์ไ ด้ ดัง นั้น จะ
                          ่
ต้อ งส่ง ไปย่อ ยต่อ ที่ล ำา ไส้เ ล็ก
     กรดไฮโดรคลอริก ทีก ระเพาะ  ่
อาหารสร้า งขึ้น แลปล่อ ยออกมาใน
ตอนแรกจะมีค วามเข้ม ข้น สูง สามารถ
ทำา อัน ตรายแก่เ นื้อ เยือ ต่า งๆในร่า งกาย
                            ่
ได้ แต่จ ะไม่เ ป็น อัน ตรายต่อ กระเพาะ
อาหารถ้า กรดนี้ร วมตัว กับ อาหารใน
กระเพาะทำา ให้ก รดเจือ จางลง ประกอบ
กรดไฮโดรคลอริก จึง ไม่ท ำา
อัน ตรายแก่ผ นัง กระเพาะอาหาร
ได้ง ่า ยนัก แต่ถ ้า กระเพาะ
อาหารปล่อ ยนำ้า ย่อ ย
ออกมามากๆ ในขณะที่ไ ม่ม ี
อาหารอยู่จ ะมีผ ลทำา ให้ผ นัง ของ
กระเพาะอาหารถูก ทำา ลายได้
และเมื่อ เกิด บ่อ ยๆครั้ง จะเป็น ผล
ทำา ให้เ กิด แผลและเลือ ดไหลซึม
ออกมาจากเยื่อ บุใ นกระเพาะ
การย่อ ยอาหารทีล ำา ไส้เ ล็ก
                 ่
  ( small intestine )    
     การย่อ ยอาหารและดูด ซึม สาร
อาหารส่ว นใหญ่เ กิด ขึ้น ที่น ี่ ลำา ไส้เ ล็ก
มีร ูป ร่า งเป็น ท่อ ยาวประมาณ 15 ฟุต
มีเ ส้น ผ่า ศูน ย์ก ลางประมาณ 1 นิ้ว
แบ่ง ออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนต้น ตอน
กลาง และตอนปลาย ผนัง ด้า นใน
ของลำา ไส้เ ล็ก จะมีส ว นทีย ื่น ออกมา
                        ่  ่
จำา นวนมากเรีย กว่า วิล ไล (villi) ภาย
ในวิล ไลมีเ ส้น เลือ ดฝอยและนำ้า เหลือ ง
ช่ว ยดูด ซึม อาหารที่ม ีโ มเลกุล ขนาด
การย่อ ยอาหารในลำา ไส้เ ล็ก
เป็น การย่อ ยขั้น สุด ท้า ย ซึ่ง ต้อ ง
อาศัย เอ็น ไซม์จ ากลำา ไส้เ ล็ก เอง
และจากตับ อ่อ น ในการย่อ ย
อาหารประเภทแป้ง ไขมัน และ
โปรตีน นอกจากนี้ย ัง มีน ำ้า ดี ซึ่ง
สร้า งโดยตับ และสะสมไว้ใ นถุง
นำ้า ดี อาหารที่ย ่อ ยแล้ว ซึม เข้า ไป
เลี้ย งส่ว นต่า ง ๆ ของร่า งกาย
ในลำา ไส้เ ล็ก จะมีเ อนไซม์แ ละสารต่า งๆ
ที่จ ำา เป็น ต่อ การย่อ ยสารอาหารหลาย
ประเภท โดยเอนไซม์แ ละสารเหล่า นีถ ูก       ้
สร้า งที่อ วัย วะต่า งๆ ดัง นี้
  ลำา ไส้เ ล็ก สร้า งเอนไซม์ ชื่อ มอลเตส
 แลกเตส และ ซูเ ครส สำา หรับ ย่อ ยสาร
อาหารคาร์โ บไฮเดรตประเภทนำ้า ตาล
      ตับ อ่อ น สร้า งเอนไซม์ ชื่อ ทริป ซิน
สำา หรับ ย่อ ยสารอาหาร โปรตีน และ
ไลเปส สำา หรับ ย่อ ยสารอาหารไขมัน
ตับ มีก ารสร้า งนำ้า ดีแ ล้ว ส่ง ไปเก็บ ไว้ใ น
ถุง นำ้า ดี โดยถุง นำ้า ดีจ ะมีท ่อ
ติด ต่อ กับ ลำา ไส้เ ล็ก เมื่อ อาหารถูก ส่ง ผ่า น
มายัง ลำา ไส้เ ล็ก จะมีก ารกระตุ้น ให้ถ ุง นำ้า ดี
หลั่ง นำ้า ดีอ อกมา สำา หรับ นำ้า ดีท ำา หน้า ที่
กระจายสารอาหารไขมัน ให้แ ตกตัว เป็น
เม็ด เล็ก ๆก่อ น เพื่อ ให้ส ะดวกต่อ การย่อ ย
ของเอนไซม์ไ ลเปสจากตับ อ่อ นอีก ทีห นึ่ง
         เอนไซม์แ ละสารต่า งๆที่ใ ช้ใ นการ
ย่อ ยอาหารในลำา ไส้เ ล็ก ทำา หน้า ที่ไ ด้ด ีใ น
การย่อ ยอาหารที่
    ลำา ไส้ใ หญ่ ( large
             intestine )
    ลำา ไส้ใ หญ่ เป็นส่วน
สุดท้ายของระบบย่อย
อาหาร อยูติดกับลำาไส้เล็ก
           ่
ตรงรอยต่อจะมี
ไส้ติ่ง(Vermiform
appendix)ติดอยู่ ใน
ลำาไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อย
อาหาร แต่จะมีการดูดซึม
นำ้าและเกลือแร่กลับคืนสู่
กระแสเลือดโดยผนังของ
อาหารที่ย ่อ ยไม่ไ ด้เ ป็น พวก
เส้น ใยอาหาร ( fiber ) ซึ่ง มี
ประโยชน์ต ่อ ร่า งกายเพราะช่ว ย
ทำา ให้ก ากอาหารเป็น ก้อ นเคลื่อ นที่
ไปตามความยาวของลำา ไส้ใ หญ่ไ ด้
ดี ลำา ไส้ใ หญ่ม ีก ารบีบ ตัว ได้ม าก
จึง ช่ว ยให้ก ารขับ ถ่า ยอุจ จาระได้ด ี
    -  เส้น ใยอาหาร เป็น ส่ว นของ
กากอาหารที่ไ ด้จ ากพืช ประโยชน์
-ช่ว ยลดนำ้า หนัก เพราะเส้น ใย
อาหารจะจับ กับ ไขมัน จาก
  อาหารป้อ งกัน โรคริด สีด วงทวาร
เนื่อ งจากเส้น ใย
  อาหารอุ้ม นำ้า จึง ช่ว ยให้ก ารขับ
ถ่า ยสะดวก
- ช่ว ยลดระดับ ไขมัน ในเลือ ด
เป็น การป้อ งกัน โรคหลอด
  เลือ ดหัว ใจตีบ ตัน
ระบบหายใจ 
     การดำา รงชีว ิต ของสิ่ง มี
ชีว ิต จำา เป็น ต้อ งใช้แ ก๊ส
ออกซิเ จน ซึง คนเราได้ร บ
                 ่            ั
แก๊ส ออกซิเ จนจากการ
หายใจเข้า ถ้า ร่า งกายขาด
แก๊ส ออกซิเ จนไปเพีย ง 2 - 3
นาที ก็จ ะทำา ให้ถ ึง ตายได้
การหายใจ
    ( Respiration )
   การหายใจ
  หมายถึง  การใช้
แก๊ส ออกซิเ จนใน
การเผาผลาญ
อาหารเพื่อ ให้ไ ด้
พลัง งานออกมาใช้
การหายใจ  แบ่ง ออกเป็น 2
 แบบ  คือ
 1.  การหายใจแบบใช้
ออกซิเ จน (Aerobic
espiration )
 2.  การหายใจแบบไม่ใ ช้
ออกซิเ จน
    (Anaerobic respiration )
การหายใจของคนและ
     สัต งการพลังงานจึง มี
 คนเราต้อ ว์ช ั้น สู ง
การหายใจแบบใช้อ อกซิเ จน
ผลิต ผลทีไ ด้จ ากการหายใจแบบนี้
            ่
คือ นำ้า  แก๊ส คาร์บ อนไดออกไซด์
และพลัง งาน
    การหายใจของคนและสัต ว์
ชัน สูง แบ่ง ออกเป็น 3ขั้น ตอน คือ
   ้
ขั้น ที่ 1   ขั้น ตอนการสูด อากาศ
เข้า ปอด
ขั้น ที่ 2   ขั้น ตอนการแลก
เปลี่ย นแก๊ส ออกซิเ จนกับ แก๊ส
จุด ประสงค์ข องการหายใจ
        ของมนุษ ย์
     1. เพื่อ นำา แก๊ส ออกซิเ จนเข้า
สู่เ ซลล์ต ่า งๆของร่า งกาย
สำา หรับ ใช้ใ นการทำา ปฏิก ิร ิย า
เผาผลาญสารอาหารที่ม ีอ ยู่ใ น
เซลล์ เพื่อ ให้เ กิด พลัง งาน ใน
ร่า งกาย แล้ว นำา ไปใช้ท ำา
กิจ กรรมต่า งๆ นอกจากนี้ย ัง มี
นำ้า และ แก๊ส
2. เพื่อ กำา จัด แก๊ส
คาร์บ อนไดออกไซด์ท เ กิด ขึ้น จาก
                             ี่
การเผาผลาญสารอาหาร สำา หรับ
แก๊ส คาร์บ อนไดออกไซด์น ั้น
ร่า งกายของคนต้อ งการในปริม าณ
เล็ก น้อ ย ดั่ง นั้น ส่ว นเกิน ที่เ กิด จาก
การเผาผลาญอาหารจะถูก ขับ ออก
สู่ภ ายนอกร่า งกายด้ว ยการหายใจ
ออก
    กระบวนการในการนำา แก๊ส
อวัย วะทีช ่ว ยในการ
         ่
       หายใจ
    อวัย วะที่เ กี่ย วข้อ งกับ ระบบหายใจ
ของคนเริ่ม ต้น ที่ป าก และ จมูก ไปสู่
หลอดลม ซึ่ง เป็น ท่อ กลวงมีก ระดูก
อ่อ นเป็น วงแหวนแทรกอยูช ่ว ยให้ ่
หลอดลมไม่ย บ หรือ แฟบซึ่ง เป็น
                 ุ
อัน ตราย ปลายของหลอดลมแตกเป็น
สองแขนง เรีย กว่า หลอดลมใหญ่เ ข้า
สูป อด เมื่อ เข้า ไปในปอดจะแตกแข
  ่
นงเล็ก ๆมากมาย เรีย กว่า หลอดลม
ปอดของคนเราไม่ม ก ล้า ม
                     ี
เนื้อ จึง ไม่ส ามารถหดตัว และ
คลายตัว ได้เ อง ดัง นั้น ใน
การนำา เอาอากาศภายนอก
เข้า สู่ป อดและขับ แก๊ส ต่า งๆ
ออกจากปอดต้อ งอาศัย การ
ทำา งานประสานกัน ของ
อวัย วะต่า งๆเช่น กล้า มเนื้อ
ระบบหายใจ ทำา หน้า ที่แ ลกเปลี่ย น
แก๊ส ออกซิเ จนและ
คาร์บ อนไดออกไซด์ใ นระบบนี้
ประกอบด้ว ยอวัย วะสำา คัญ ได้แ ก่
จมูก หลอดลม และปอด
    1 จมูก เป็น อวัย วะส่ว นต้น ของ
ระบบหายใจ ทำา หน้า ที่เ ป็น ทางผ่า น
ของอากาศ ช่ว ยกรองฝุน ละออง และ
                            ่
เชื้อ โรคบางส่ว นก่อ นอากาศจะผ่า น
ไปสู่อ วัย วะอืน ต่อ ไป
               ่
    2 หลอดลม เป็น ท่อ กลวงเชือ มต่อ่
กับ ขั้ว ปอดทั้ง 2 ข้า ง ทำา หน้า ที่เ ป็น
3. ปอด เป็น อวัย วะที่ส ำา คัญ ทีส ุด ของ
                                 ่
ระบบหายใจ ปอดมี 2 ข้า ง อยู่ใ น
ทรวงอกด้า นซ้า ยและขวา ปอดแต่ล ะ
ข้า งประกอบด้ว ยขั้ว ปอด ซึ่ง จะแตก
แขนงออกเป็น หลอดเล็ก ๆ เรีย กว่า
แขนงขั้ว ปอด ที่ป ลายของแขนงขัว      ้
ปอดจะพองออกเป็น ถุง ลมเล็ก ๆ
มากมาย สำา หรับ เป็น ที่แ ลกเปลี่ย น
แก๊ส เรีย กว่า ถุง ลมปอดหน้า ที่ข อง
ปอดคือ การนำา ก๊า ซ CO2 ออกจาก
การหายใจของมนุษ ย์ 
       การหายใจ เป็น การรับ เอาอากาศจาก
ภายนอกผ่า นปากหรือ จมูก ลงสูป อด     ่
เป็น การทำา งานร่ว มกัน ของกระดูก ซี่โ ครง
และกะบัง ลม ดัง นี้
     การหายใจเข้า  จะเกิด ขึ้น เมือ กล้า ม
                                       ่
เนือ ที่ย ึด ซี่โ ครงหดตัว ซึง จะทำา ให้ กระดูก
     ้                       ่
ซีโ ครงเลือ นสูง ขึ้น ในขณะเดีย วกัน
   ่         ่
กะบัง ลมก็จ ะหดตัว และเลือ นตำ่า ลง จึง ทำา ให้
                               ่
ปริม าตรของช่อ งอกมีม ากขึ้น ( ช่อ งอก
ขยายตัว ) ความดัน อากาศลดตำ่า ลง อากาศ
จากภายนอกจะผ่า นเข้า สูป อด      ่
การแลกเปลี่ย นแก๊ส
      ทีถเข้า สู่ป อดจะไปอยู่
         ่ ่อ ุง ลม  
  อากาศเมื
ในถุง ลม ซึ่ง มีล ัก ษณะกลมคล้า ย
ลูก องุ่น ซึ่ง ปอดแต่ล ะข้า งจะมีถ ุง
ข้า งละ 150 ล้า นถุง แต่ล ะถุง มี
ขนาดเส้น ผ่า นศูน ย์ก ลางไม่ถ ึง
0.1 มิล ลิเ มตร ถุง ลมทุก อัน จะมี
หลอดเลือ ดฝอยมาห่อ หุ้ม ไว้ การ
แลกเปลีย นแก๊ส
          ่
คาร์บ อนไดออกไซด์ ออกซิเ จน
ไนโตรเจน และไอนำ้า ผ่า นเข้า
เลือ ดจากหัว ใจมาสู่ป อด เป็น
เลือ ดที่ม ีอ อกซิเ จนตำ่า
คาร์บ อนไดออกไซด์ส ูง เมือ มา   ่
สู่ถ ุง ลมจะมีก ารแลกเปลี่ย นแก๊ส
โดยออกซิเ จนในถุง ลมจะแพร่
เข้า สู่เ ส้น เลือ ด ขณะเดีย วกัน
คาร์บ อนไดออกไซด์ใ น
เส้น เลือ ดจะแพร่เ ข้า สู่ถ ุง ลม
การแลกเปลี่ย นแก๊ส
         ที่เน ตัว พาแก๊ส
  เลือ ดจะเป็ ซลล์ 
ออกซิเ จนและสารอาหารไปสู่
เซลล์ท ั่ว ร่า งกายเมื่อ สารอาหาร
และแก๊ส ออกซิเ จนเข้า สู่เ ซลล์จ ะ
เกิด ปฏิก ิร ิย าระหว่า งสารอาหาร
และแก๊ส ออกซิเ จน อาหารจะ
ปล่อ ยพลัง งานออกมา
กระบวนการนี้เ รีย กว่า
กระบวนการหายใจ ปฏิก ิร ิย านี้
แบ่ง ออกเป็น 2 ระบบ คือ
  1. ระบบเปิด  เป็น ระบบทีเ ืืล อ ด
                               ่   ื
 ไม่ไ ด้ไ หลไปตามเส้น เลือ ดตลอด
 เวลาแต่จ ะมีเ ลือ ดไหลไปตามช่อ ง
 ว่า งในลำา ตัว ทีเ รีย กว่า เฮโมซีล
                  ่
 (H  aemocoel ) พบในสัต ว์ใ นไฟ
 ลัม มอลลัส กา ได้แ ก่ หอย
 ปลาหมึก และสัต ว์ใ นไฟลัม อาร์
 โทรโพดา ได้แ ก่ ปู กุง ตะขาบ
                           ้
 และแมลง
2. ระบบปิด  เป็น ระบบที่เ ลือ ด
ไหลไปตามเส้น เลือ ดผ่า น
หัว ใจครบวงจร ระบบนี้ม ี
เส้น เลือ ดฝอยเชื่อ มโยง
ระหว่า งเส้น เลือ ดที่พ าเลือ ด
ออกจากหัว ใจ กับ เส้น เลือ ดที่
พาเลือ ดเข้า สู่ห ัว ใจ พบในสัต ว์
ไฟลัม แอนิล ิด า เช่น ไสเดือ น
ระบบหมุน เวีย นของ
   เลือ ดในคน
อวัยวะสำาคัญของระบบ
     เลือดไหลเวียน
ได้แก่ หัวใจ หลอด
เลือดแดง และหลอด
เลือดดำา
ในร่า งกายมนุษ ย์ม ห ัว ใจทำา หน้า ทีส บ ฉีด
                     ี                ่ ู
โลหิต ให้ไ หลเวีย นอยูใ นเส้น เลือ ด การ
                        ่
สูบ ฉีด โลหิต ของหัว ใจ ทำา ให้เ กิด แรงดัน
ให้เ ลือ ดไหลไปตามเส้น เลือ ดไปยัง ส่ว น
ต่า งๆของร่า งกาย และไหลกลับ คืน สู่
หัว ใจ โดยหัว ใจของคนเราตั้ง อยู่ใ น
ทรวงอกระหว่า งปอดทั้ง สองข้า งค่อ นมา
ทาด้า นซ้า ยชิด ผนัง ทรวงอก แบ่ง ออก
เป็น 4 ห้อ ง ห้อ งบนสองห้อ ง มีผ นัง บาง
เรีย กว่า เอเทรีย ม ( atrium ) ส่ว นสอง
ห้อ งล่า งมีข นาดใหญ่ก ว่า และผนัง หนา
เรีย กว่า เวนทริเ คิล ( ventricle ) ระหว่า ง
* * หัว ใจของคนเราประกอบไปด้ว ย
กล้า มเนื้อ ทีม ิไ ด้อ ยู่ภ ายใต้อ ำา นาจ
              ่
บัง คับ ของสมอง * *
* * หัว ใจของสัต ว์เ ลี้ย งลูก ด้ว ยนม มี 4
ห้อ ง ของสัต ว์ค รึง บกครึง นำ้า มี3 ห้อ ง
                      ่        ่
( ยกเว้น จระเข้ มี 4 ห้อ ง ) หัว ใจปลา
มี 2 ห้อ ง หัว ใจของสัต ว์ป ีก มี 4 ห้อ ง
**
     ในร่า งกายของมนุษ ย์ ระบบการ
หมุน เวีย นของเลือ ดประกอบด้ว ย
หัว ใจเป็น อวัย วะสำา คัญ ทำา หน้า ทีส บ  ่ ู
ฉีด เลือ ดไปยัง ส่ว นต่า งๆของร่า งกาย
โดยมีเ ส้น เลือ ดเป็น ท่อ ลำา เลีย งเลือ ด
1.  เลือ ด ( blood )
   ในร่า งกายของคนเรามีเ ลือ ด
อยู่ป ระมาณ 6,000 ลูก บาศก์
เซนติเ มตร เลือ ดประกอบไปด้ว ย
ส่ว นที่เ ป็น ของเหลว คือ นำ้า เลือ ด
( plasma ) กับ ส่ว นที่เ ป็น ของแข็ง
คือ เซลล์เ ม็ด เลือ ดแดง  เซลล์เ ม็ด
เลือ ดขาว และ เกล็ด เลือ ด
1.1  ส่ว นที่เ ป็น ของเหลว
 คือ นำ้า เลือ ดหรือ พลาสมา
ประกอบด้ว ยนำ้า และสารต่า งๆ
ซึ่ง ได้แ ก่ สารอาหารที่ถ ูก ย่อ ย
แล้ว รวมทั้ง วิต ามิน  เกลือ แร่
ฮอร์โ มนและสารอื่น ๆที่ล ะลาย
นำ้า ได้ สารเหล่า นี้จ ึง อยู่ใ นรูป
สารละลาย มีป ระมาณ 50 %
ของเลือ ดทั้ง หมด นำ้า เลือ ดทำา
หน้า ที่ล ำา เลีย งอาหารที่ถ ูก ดูด
1.2  ส่ว นที่เ ป็น ของแข็ง  มีอ ยู่
ประมาณ 50% ของเลือ ดทั้ง หมด
ประกอบด้ว ย
       -  เซลล์เ ม็ด เลือ ดแดง   ใน
ขณะที่ย ัง เจริญ เติบ โตไม่เ ต็ม ที่ จะอยู่ใ น
ไขกระดูก และมีน ว เคลีย ส แต่ เมื่อ เจริญ
                      ิ
เติบ โตเต็ม ที่จ ะเข้า ไปอยู่ใ นกระแสเลือ ด
แล้ว นิว เคลีย สจะหายไป เม็ด เลือ ดแดง
ทำา หน้า ที่ข นส่ง แก๊ส ออกซิเ จน จากปอด
ไปสู่เ ซลล์ท ั่ว ร่า งกายและขนส่ง แก๊ส
คาร์บ อนไดออกไซด์ ซึ่ง เป็น ของเสีย ที่
เกิด จากการสลายอาหารจากเซลล์ม าสู่
-  เซลล์เ ม็ด เลือ ดขาว  มีข นาด
ใหญ่ก ว่า เซลล์เ ม็ด เลือ ดแดง
ภายในมีน ิว เคลีย ส ทำา หน้า ที่
ทำา ลายเชื้อ โรคหรือ สิ่ง แปลกปลอม
ที่เ ข้า สู่ร ่า งกาย
-  เกล็ด เลือ ด  เป็น ชิ้น ส่ว นของ
เซลล์ท ี่ม ีร ูป ร่า งเป็น แผ่น เล็ก ๆปนอยู่
ในนำ้า เลือ ด ไม่ม ีน ิว เคลีย ส มีห น้า ที่
ช่ว ยให้เ ลือ ดแข็ง ตัว เวลาเกิด บาด
แผลเล็ก ๆเกล็ด เลือ ดจะทำา ให้
เม็ด เลือ ดแดงมีส ่ว นประกอบ
ส่ว นใหญ่เ ป็น โปรตีน และเหล็ก
มีช ื่อ เรีย กว่า เฮโมโกลบิน
ก๊า ซออกซิเ จน จะรวมตัว กับ
เฮโมโกลบิน แล้ว ลำา เลีย งไปใช้
ยัง ส่ว นต่า ง ๆ ของร่า งกาย  
เม็ด เลือ ดขาวซึ่ง ผลิต โดยม้า ม *
จะทำา หน้า ที่ต ่อ สู้ก ับ เชื้อ โรคที่
จะเข้า สู่ร ่า งกาย   ส่ว นเกล็ด
2. เส้น เลือ ด
   ( blood vessels )
•  เส้น เลือ ดในร่า งกายคนแบ่ง ออกได้
  3 ประเภท คือ
    - เส้น เลือ ดแดง ( artery ) คือ
  เส้น เลือ ดที่น ำา เลือ ดออกจากหัว ใจไป
  ยัง อวัย วะและส่ว นต่า งๆ ของ ร่า งกาย
  เลือ ดในเส้น เลือ ดแดงส่ว นมากเป็น
  เลือ ดดี นอกจากเส้น เลือ ดแดงที่ไ ปยัง
  ปอดที่เ ป็น เลือ ดเสีย เพื่อ นำา ไป ฟอกให้
  บริส ุท ธิ์
• เส้น เลือ ดดำา ( vein )คือ เส้น เลือ ดที่น ำา
  เลือ ดเข้า สูห ัว ใจส่ว นมากเป็น เลือ ด
                ่
 เส้น เลือ ดอาร์เ ทอรี
    เป็น เส้น เลือ ดที่น ำา เลือ ดออกจากหัว ใจ มี
ขนาดต่า งๆกัน ขนาดใหญ่ค ือ เอออร์ต า มี
เส้น ผ่า นศูน ย์ก ลางประมาณ 1 นิ้ว และขนาด
เล็ก มีเ ส้น ผ่า นศูน ย์ก ลาประมาณ 0.2
มิล ลิเ มตร ไม่ม ีล ิ้น เส้น เลือ ดอาร์เ ทอรี
ประกอบด้ว ยกล้า มเนื้อ และเนื้อ เยื่อ ที่ย ืด หยุ่น
ได้ มีผ นัง หนา สามารถรับ แรงดัน เลือ ด ซึง
เป็น แรงดัน ค่อ นข้า งสูง อัน เป็น ผลเนื่อ งมา
จากการบีบ ตัว ของหัว ใจห้อ งล่า ซ้า ย ความ
ดัน ของเลือ ดจะสูง มากในเส้น เลือ ดอาร์เ ทอรี
ใกล้ห ัว ใจ คือ เส้น เลือ ดแดงใหญ่ท ี่ส ุด ที่เ รีย ก
ว่า เอออร์ต า และค่อ ยๆลดลงตามลำา ดับ เมื่อ
ผูใ หญ่อ ายุ 20 - 30 ปี มีค วามดัน เลือ ดปกติ
  ้
ประมาณ 120/80 มิล ลิเ มตรปรอท ตัว เลข
ข้า งหน้า ( 120 )หมายถึง ความดัน โลหิต
ขณะหัว ใจบีบ ตัว เรีย กว่า ความดัน ซิส โทลิก
( Systolie pressure ) ตัว เลขข้า งหลัง ( 80
) หมายถึง ความดัน ดลหิต ของหัว ใจคลายตัว
เรีย กว่า ความดัน ไดแอสโทลิก ( Diastolie
pressure )ที่เ รีย กว่า การจับ ชีพ จร ซึ่ง
ชีพ จร ( pluse ) หมายถึง อัต ราการเต้น ของ
หัว ใจ จงหวะการยืด หยุ่น ของเส้น เลือ ดอาร์
เทอรีเ ป็น ไปตามจัง หวะการเต้น ของหัว ใจ
3. หัว ใจ ( heart )
      หัว ใจจะทำา หน้า ที่ส บ ฉีด โลหิต
                            ู
ไปเลี้ย งส่ว นต่า งๆของร่า งกาย โดย
จะรับ เลือ ดที่ม ีอ อกซิเ จนสูง จากปอด
เข้า ทางหัว ใจห้อ งบนซ้า ยผ่า นต่อ
มายัง หัว ใจห้อ งล่า งซ้า ย เพื่อ ส่ง
ออกไปยัง อวัย วะต่า งๆขออง
ร่า งกายและจะรับ เลือ ดที่ม ี
ออกซิเ จนน้อ ยจากส่ว นต่า งๆของ
ร่า งกายกลับ เข้า สูห ัว ใจทางหัว ใจ
                      ่
ห้อ งบนขวา และผ่า นไปยัง หัว ใจ
หรือ กล่า วได้ว ่า เลือ ดดำา ( เลือ ดที่ม แ ก๊ส
                                          ี
ออกซิเ จนตำ่า )จากส่ว นต่า งๆ ของร่า งกาย
ไหลเข้า หัว ใจทางหัว ใจห้อ งบนขวาโดย
เลือ ดจากส่ว นบนของร่า งกายจะเข้า สูห ัว ใจ   ่
ทางเส้น เลือ ดซุป เ รีย เวนาคาวาและเลือ ด
                    ิ
จากส่ว นล่า งของร่า งกายจะเข้า สูห ัว ใจห้อ ง
                                        ่
บนขวาทางเส้น เลือ ดอิน พีเ รีย เวนาคาวา
จากนัน หัว ใจห้อ งบนขวาจะหดตัว ให้เ ลือ ด
       ้
ผ่า นลิ้น หัว ใจลงสูห ัว ใจห้อ งล่า งขวาแล้ว
                      ่
หัว ใจห้อ งล่า งขวาจะบีบ ตัว ให้เ ลือ ดไป
เข้า ไปในเส้น เลือ ดพัล โมนารีอ าร์เ ทอรีจ าก
หัว ใจไปยัง ปอด เลือ ดดำา จะผ่า นเข้า ไปใน
เส้น เลือ ดฝอยรอบๆถุง ลมปอด แล้ว จ่า ย
หัว ใจ(H    eart) ตั้ง อยู่ใ น
ทรวงอกระหว่า งปอดทั้ง สอง
ข้า งเอีย งไปทางซ้า ยของแนว
กลางตัว ประกอบด้ว ยกล้า ม
เนื้อ ที่แ ข็ง แรงภายในมี 4 ห้อ ง
     - หัว ในห้อ งบนซ้า ย(L       eft
atrium)       มีห น้า ที่ รับ เลือ ดที่
ผ่า นการฟอกที่ป อด
     - หัว ใจห้อ งบนขวา(Right
atrium)      มีห น้า ที่ รับ เลือ ดที่
ร่า งกายใช้แ ล้ว
     - หัว ใจห้อ งล่า งขวา(Right
การทำา งานของหัว ใจ
ระบบขับ ถ่า ย   
     กระบวนการต่า งๆทีเ กิด ขึ้น ใน
                             ่
ร่า งกาย นอกจากจะก่อ ให้เ กิด
ประโยชน์ห รือ ให้ผ ลที่ร ่า งกาย
ต้อ งการแล้ว ยัง มีส ิ่ง ที่ร ่า งกายไม่
ต้อ งการ ซึ่ง รวมเรีย กว่า ของเสีย
เกิด ขึ้น ตามมาอีก ด้ว ย ของเสีย ที่
ร่า งกายกำา จัด ออกมานั้น มีท ั้ง สารที่
เป็น พิษ ตอร่า งกาย และสารทีเ ป็น   ่
ประโยชน์ต ่อ ร่า งกาย แต่ม ีป ริม าณ
มากเกิน ความต้อ งการของร่า งกาย
ของเสีย ที่เ ป็น ของแข็ง ร่า งกาย
จะกำา จัด ออกทางทวารหนัก ใน
รูป ของอุจ จาระ ส่ว นของเสีย ที่
เป็น แก๊ส ร่า งกายจะกำา จัด ออมา
กับ ลมหายใจออก สำา หรับ ของ
เสีย ที่เ ป็น ของเหลวร่า งกายมี
กลไกในการกำา จัด อยู่ 2 ทาง
คือ การกำา จัด ของเสีย ทางไต
และ การกำา จัด ของเสีย ทาง
การกำา จัด ของเสีย
    ทางไต
      ของเสีย ทีเ กิด ขึ้น จาก
                ่
กระบวนการต่า งๆภายในเซลล์
จะถูก กำา จัด ออกจากเซลล์ โดย
การแพร่เ ข้า สู่ห ลอดเลือ ด จาก
นั้น เลือ ดจะลำา เลีย งของเสีย ต่า งๆ
ยัง ไต เพื่อ ผ่า นกระบวนการ
กำา จัด ของเสีย ออกจากเลือ ด
    ยาวจากกรวยไตไปจนถึง
ไตเป็น อวัย วะที่ท ำา หน้า ที่ค ้า ยเครื่อ ง
กรอง โดยจะกรองของเสีย ออกจาก
เลือ ด มีล ก ษณะคล้า ยเมล็ด ถั่ว ดำา
            ั
และจะมีอ ยู่ 2 ข้า ง โดยติด อยู่ท าง
ด้า นหลัง ของช่อ งท้อ ง ขนาดโดย
ประมาณของไต คือ กว้า ง 6
เซนติเ มตร และหนา 3 เซนติเ มตร
เมื่อ ผ่า ไตออกเป็น 2 ซีก พบว่า
ภายในไตประกอบด้ว ยหน่ว ยไต
เล็ก ๆจำา นวนมาก มีล ก ษณะเป็น ท่อ
                       ั
การทำา งานของไต
•      หลอดเลือ ดที่น ำา เลือ ดมายัง ไตเป็น หลอด
  เลือ ดที่อ อกจากหัว ใจ ซึ่ง จะลำา เลีย งทั้ง สารที่ม ี
  ประโยชน์แ ละของเสีย ที่ต ้อ งการกำา จัด ออก สาร
  ต่า งๆที่เ ลือ ดลำา เลีย งมาจะถูก ส่ง เข้า สูห น่ว ยไต
                                               ่
  โดยผ่า นไปตามหลอดเลือ ดฝอย เพื่อ ให้ห น่ว ย
  ไตทำา หน้า ที่ก รองสารที่อ ยูใ นเลือ ดก่อ น ข้อ มูล
                                ่
  จากการทดลองพบว่า เซลล์เ ม็ด เลือ ดแดงและ
  สารจำา พวกโปรตีน บางชนิด เช่น เฮโมโกลบิน
  ไม่ส ามารถผ่า นเข้า สูห น่ว ยไตได้ สำา หรับ สาร
                             ่
  บางจำา พวก เช่น นำ้า ตาลกลูโ คส กรดอะมิโ น
  และของเสีย อืน ๆ จะผ่า นเข้า สูห น่ว ยไตได้แ ละ
                   ่                 ่
  จะไหลเข้า ไปตามท่อ ของหน่ว ยไต
•แร่ธ าตุแ ละสารบางชนิด ที่ม ี
ประโยชน์ต ่อ ร่า งกายอยู่นั้น เมื่อ
ผ่า นไปตามท่อ ของหน่ว ยไตจะถูก ผนัง
ของหน่ว ยไตดูด ซึม กลับ คืน เข้า สูห ลอด
                                    ่
เลือ ดฝอยใหม่ ส่ว นของเสีย อื่น ๆนั้น ซึ่ง
จะรวมเรีย กว่า นำ้า ปัส สาวะ จะถูก ส่ง
ผ่า นไปตามหลอดไตและเข้า สูก ระเพาะ
                                 ่
ปัส สาวะต่อ ไป จากนั้น จึง ถูก ขับ ออก
จากร่า งกายในรูป ของของเหลว คือ
นำ้า ปัส สาวะนั่น เอง
    โดยปกติน ำ้า ตาลกลูโ คสเป็น สารที่ม ี
ประโยชน์ต ่อ ร่า งกายจะถูก ผนัง ของ
การกำา จัด ของ
เสีย ทางผิว หนัง
  ของเสีย ที่ม ีส ถานะของเหลว
    
นอกจากจะถูก ขับ ออกจาก
ร่า งกายในรูป นำ้า ปัส สาวะที่ผ ่า น
ทาไตแล้ว ยัง มีข องเสีย ในสถานะ
ของเหลวอีก ส่ว นหนึ่ง ถูก ขับ ออก
จากร่า งกายในรูป ของเหงื่อ ซึ่ง
ผ่า นทางผิว หนัง ผิว หนัง นอกจาก
จะทำา หน้า ที่ก ำา จัด ของเสีย ออก
จากร่า งกายในรูป ของเหงื่อ แล้ว
ยัง มีส ่ว นระบายความร้อ นให้แ ก่
เหงื่อ ที่ร ่า งกายขับ ออกมานั้น
ประกอบไปด้ว ยนำ้า เป็น นส่ว น
ใหญ่ และจะมีเ กลือ บางชนิด ถูก
ขับ ปนออกมาด้ว ย จึง ทำา ให้
เหงื่อ มีร สเค็ม สำา หรับ เหงื่อ ได้
ถูก สร้า งขึ้น ที่บ ริเ วณของต่อ ม
เหงื่อ ซึ่ง อยู่ใ ต้ผ ิว หนัง ทั่ว
ร่า งกาย
โครงสร้า ง
    

ภายในของต่อ ม
เหงื่อ จะมีล ก ษณะ
               ั
เป็น ท่อ ขดอยู่เ ป็น ก
ลุ่ม ซึ่ง มีห ลอด
เลือ ดฝอยมาหล่อ
เลีย งโดยรอบ โดย
    ้
หลอดเลือ ดฝอย
เหล่า นี้จ ะลำา เลีย ง
เอาของเสีย ที่
ต้อ งการกำา จัด ออก
ของเสีย ที่ถ ูก ลำา เลีย งมากับ
เลือ ด เมื่อ มาถึง บริเ วณต่อ ม
เหงื่อ แล้ว ของเสีย จะแพร่อ อก
จากหลอดเลือ ดฝอยเข้า สู่ท ่อ
ในต่อ เหงื่อ จากนั้น ของเสีย จะ
ถูก ลำา เลีย งไปตามท่อ โดยจะ
เปิด อยู่บ ริเ วณผิว หนัง ด้า นบน
การกำา จัด ของเสีย ทาง
         ลำา ไส้ใ หญ่
  หลัง จากการย่อ ยอาหาร    
เสร็จ สิน ลง อาหารส่ว นที่
          ้
เหลือ และส่ว นที่ร ่า งกายไม่
สามารถย่อ ยได้จ ะถูก กำา จัด
ออกจากร่า งกายทาง
ลำา ไส้ใ หญ่ (ทวารหนัก ) ใน
รูป ที่ร วมเรีย กว่า อุจ จาระ  
    อาหารท้อ งผูก จะเกิด
จากการที่ม อ ุจ จาระตกค้า ง
               ี
อยูบ ริเ วณลำา ไส้ใ หญ่น าน
    ่
เกิน ไป ผนัง ของลำา ไส้ใ หญ่
ดูด ซึม เอานำ้า ที่ป ะปนอยู่ใ น
อุจ จาระออกทำา ให้เ กิด
บางรายอาจมีอ าการปวดท้อ ง
หรือ ปวดหลัง ด้ว ย อาการต่า งๆ
เหล่า นี้จ ะหายไป เมื่อ ถ่า ย
อุจ จาระออกจากร่า งกาย ผู้ท ี่ม ี
อาการท้อ งผูก นานๆอาจเป็น
สาเหตุข องโรคริด สีด วงทวาร
ได้  สาเหตุท ี่ท ำา ให้เ กิด อาการ
ท้อ งผูก มีอ ยู่ห ลายประการ เช่น
รับ ประทานอาหารที่ม ีก ากน้อ ย
การกำา จัด ของเสีย
•        
            ทางปอด ่ไ ด้น าน
     มนุษ ย์ส ามารถมีช ีว ิต อยู
    เป็น สัป ดาห์แ ม้จ ะไม่ไ ด้ร ับ อาหาร
    เลยและจะอยู่ไ ด้ห ลายวัน ใน
    สภาวะขาดนำ้า แต่เ มื่อ ใดทีข าด ่
    อากาศ จะตายในเวลาไม่ก ี่น าที
    ออกซิเ จนเป็น แก๊ส ที่พ บทั่ว ไปใน
    บรรยากาศและจำา เป็น ต่อ เมตาบอ
    ลิซ ึม ของเซลล์ ซึ่ง เป็น กระบวน
    การสำา คัญ ในการเปลีย นอาหาร
                             ่
    ให้เ ป็น พลัง งาน การหายใจนำา
    แก๊ส ออกซิเ จนเข้า สู่ร ่า งกายและ
การแลกเปลีย นแก๊ส นี้เ กิด ขึ้น ที่ถ ุง
              ่
ลมขนาดเล็ก จำา นวนมากมายที่อ ยู่
เกือ บเต็ม ปอด ออกซิเ จนทีเ ข้า มา
                            ่
ในถุง ลมจะเข้า สูห ลอดเลือ ดฝอยที่
                   ่
อยู่ร อบๆแล้ว ถูก นำา ไปในกระแส
เลือ ด ส่ง ไปให็เ ซลล์ต า งๆทั่ว
                        ่
ร่า งกาย ในทำา นองเดีย วกัน
คาร์บ อนไดออกไซด์จ ากเซลล์ก ็จ ะ
ถูก ส่ง จากหลอดเลือ ดฝอยไปยัง ถุง
ลมและปล่อ ยออกไปจากปอด
สิ่ง มีช ีว ิต มีค วามสามารถใน
การแสดงปฏิก ร ิย าต่อ การ
                     ิ
เปลี่ย นแปลงของสิ่ง
แวดล้อ ม ความสามารถนี้
เรีย กว่า การตอบสนองต่อ
สิ่ง เร้า ซึ่ง เป็น การประสาน
งานกัน หรือ สัม พัน ธ์ก ัน ของ
ระบบประสาท ในมนุษ ย์
1.  สมอง  ( brain )
  สมองของคนเรามีน ำ้า หนัก ประมาณ
1.3 กิโ ลกรัม บรรจุอ ยูภ ายในกะโหลก
                            ่
ศีร ษะ สมองประกอบด้ว ยเซลล์ป ระสาท
นับ ล้า นๆเซลล์เ ชื่อ มต่อ กัน ทำา งาน
ประสานกัน ทำา ให้ส ามารถสื่อ สารกัน ได้
ทั่ว ถึง ทุก เซลล์ จึง ทำา ให้ส มองทำา งาน
ต่า งๆที่ส ำา คัญ ได้ม ากมายหลายอย่า ง
สมองแบ่ง ออกเป็น 3 ส่ว น ได้แ ก่
1)  ซีร ีบ รัม  เป็นสมองส่วนที่
มีขนาดใหญ่ ด้านนอกมีรอย
หยักทำาให้เกิดร่องมากมาย ทำา
หน้าที่เป็นศูนย์รบความรู้สึก
                     ั
เช่น การได้ยิน การเห็น การรับ
รส  การดมกลิ่น
    2)  เซรีเ บลลัม  เป็นสมองที่
ทำาหน้าที่เป็นศูนย์ประสาน
งานการเคลื่อนไหวของร่างกาย
ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องและ
3)  เมดัล ลา ออบลองกาตา
 เป็นส่วนของสมองที่อยู่ติดกับ
ไขสันหลัง ทำาหน้าที่เป็นศูนย์
ควบคุมเกี่ยวกับการหายใจ  การ
ย่อยอาหาร การเต้นของหัวใจ
ความดันเลือด การไอ  การจาม
 การสะอึก  และการอาเจียน
ไขสัน หลัง
 (ไขสันหลัง เป็นส่วนต่อจากสมอง
   spinal  cord ) 
อยู่ภายในกระดูกสันหลังข้อแรกลง
ไปถึงกระดูกบั้นเอว ไขสันหลัง
มีหน้าที่ 3 ประการ คือ
    1)  ทำาหน้าที่ส่งผ่านกระแส
ประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกไป
สู่สมอง
    2)  ทำาหน้าที่ส่งผ่านกระแส
ประสาทจากสมองไปสู่หน่วยปฏิบัติ
ปฏิก ิร ย าอัต โนมัต ิ
                ิ
             (reflex)
    ปฏิก ิร ิย าอัต โนมัต ิห รือ รีเ ฟลกซ์ คือ
การตอบสนองของร่า งกายโดยที่ไ ม่อ ยู่
ภายใต้อ ำา นาจจิต ใจ การตอบสนองสิ่ง
เร้า นี้ต ้อ งอาศัย วงจรประสาทที่ม ีก าร
ประสานกัน ของเซลประสาทตั้ง แต่ส อง
เซลขึ้น ไป ซึ่ง เรีย กว่า วงจรรีเ ฟลกซ์
(reflex arc) วงจรรีเ ฟลกซ์เ ป็น ตัว อย่า ง
การทำา งานของระบบประสาท ซึง มีว งจร ่
ประสาทไม่ซ ับ ซ้อ น มีก ารตอบสนอง
รวดเร็ว วงจรรีเ ฟลกซ์ป ระกอบด้ว ยตัว
รับ (receptor) ที่อ ยู่ต ามอวัย วะต่า ง ๆ
สมองหรือ ไขสัน หลัง ทำา หน้า ที่
เป็น ศูน ย์ค วบคุม เส้น ประสาทสัง      ่
การ (motor nerve) และอวัย วะ
แสดงผล (effector organ)
ตัว อย่า งการทำา งานแบบ
รีเ ฟลกซ์ ได้แ ก่ การหายใจ การ
จาม การดึง มือ หนี เมื่อ สัม ผัส กับ
วัต ถุท ร ้อ น ปฏิก ิร ิย าอัต โนมัต ิม ี
        ี่
หลายชนิด ซึ่ง บางอย่า งต้อ ง
อาศัย การฝึก ฝน หรือ
ประสบการณ์ท ี่ซ ำ้า ๆ กัน เช่น
3.  เส้น ประสาท
              ( nerve )ยใยประสาท
•      เส้น ประสาท ประกอบด้ว
 ( nerve fiber ) หลายอันมารวมกันอยู่ ใย
 ประสาทเป็นส่วนหนึ่งของเซลล์ประสาท
 ( neurone ) ใยประสาท คือส่วนของเซลล์ที่
 ยืนออกมาจากตัวเซลล์เป็นแขนงเล็กๆ ใย
   ่
 ประสาทที่นำากระแสประสาทเข้าสูตัวเซลล์
                                 ่
 เรียกว่า เดนไดรต์ ( dendrite ) ส่วนใย
 ประสาทที่นำากระแสประสาทออกจากตัว
 เซลล์ เรียกว่า แอกซอน ( axon ) เซลล์
 ประสาทแต่ละเซลล์จะมีเดนไดรต์แยกออก
ถ้า จำา แนกเซลล์
ประสาทตามการ
ทำา งานแล้ว เซลล์
ประสาทที่ท ำา หน้า ที่ร ับ
ความรู้ส ก จากอวัย วะ
           ึ
ต่า งๆ เรีย กว่า เซลล์
ประสาทรับ ความรู้ส ก (  ึ
sensory neurone )
อวัย วะที่ร ับ ความรู้ส ึก
จากสิง กระตุ้น ภายนอก
       ่
ได้แ ก่ หู ตา จมูก ลิน้
และผิว หนัง ซึ่ง รับ
ความรู้ส ก เกี่ย วกับ
             ึ
เสีย ง ภาพ กลิ่น รส
และ ความรู้ส ก ร้อ น
                ึ
การทำา งานของระบบ
      ประสาท
      การทำา งานของระบบ
ประสาทของคนเรานั้น
เป็น การทำา งานประสานกัน
ระหว่า งสมอง ไขสัน หลัง และ
เซลล์ป ระสาท
ตืัวอย่างการทำางานของระบบ
              ประสาท
•    สถานการณ์   ปลายนิ้ว ถูก นำ้า ร้อ น
     การทำา งานของระบบประสาท  เป็น ดัง นี้
      1.  ความร้อ นจะกระตุ้น หน่ว ยรับ ความร้อ นใต้
  ผิว หนัง บริเ วณปลายนิว     ้
      2. กระแสความรู้ส ึก ร้อ นจะถูก ส่ง ขึ้น ไปตาม
  เซลล์ป ระสาทรับ ความรู้ส ึก ผ่า นไขสัน หลัง ไปสู่
  ศูน ย์ป ระสาทรับ ความรู้ส ึก ร้อ นในสมอง
      3. สมองรับ รู้ว ่า มีค วามร้อ นสัม ผัส ทีป ลายนิว
                                               ่      ้
  มือ
      4.  ศูน ย์ป ระสาทในสมองจะสั่ง การลงมาตาม
  เซลล์ป ระสาทสัง การผ่า นไขสัน หลัง ไปยัง หน่ว ย
                      ่
  ปฏิบ ัต ิง าน คือ กล้า มเนือ ที่โ คนแขน
                                ้
      5.  กล้า มเนือ รับ คำา สั่ง จะหดตัว ทำา ให้แ ขนพับ
                    ้
อวัย วะรับ สัม ผัส
• ตา (eye)
       ตาประกอบด้ว ย ลูก ตา (eyeball)
  แก้ว ตาหรือ เลนส์ต า (crystalling lens)
  เปลือ กตา (eye lids) ต่อ มนำ้า ตา
  (lacrimal gland) ส่ว นประกอบสำา คัญ
  ของตาคือ ลูก ตาซึ่ง จะมีม า นตาและรู
                            ่
  ม่า นตาช่ว ยปรับ ความเข้ม แสงเข้า สูต า
                                       ่
  และอวัย วะที่ใ ช้ไ นการรับ แสงแล้ว แปร
  สัญ ญาณส่ง ต่อ ไปยัง สมองเพือ แปร
                                 ่
หู (ear)
•     หูร ับ ความรู้ส ก เกี่ย วกับ ได้ย ิน
                      ึ
  เสีย งและการทรงตัว แบ่ง ออก 3 ส่ว น
  คือ
      หูช ั้น นอก    มีใ บหู (pinna) ช่ว ยรับ
  เสีย ง รูห ูแ ละแก้ว หู (ear
  drum,tympanic membrane) ช่ว ยนำา
  เสีย งเข้า ไปและส่ง ต่อ ไปยัง หูช น กลาง
                                      ั้
      หูช ั้น กลาง    มีก ระดูก 3 ชิ้น คือ
  กระดูก ค้อ น (malleus) ,ทั่ง (incus)
  และโกลน (tapes) ช่ว ยส่ง คลื่น เข้า ไป
• จมูก (nose)
      รับ ความรูส ึก เกี่ย วกับ กลิ่น ซึ่ง จะมีเ ซลล์
                     ้
  รับ กลิ่น อยู่ท ผ นัง ด้า นบนของช่อ งจมูก และ
                  ี่
  ส่ง ต่อ ไปยัง สมอง
•  ลิน (tongue)
     ้
      เป็น อวัย วะสำา หรับ รับ รสมีต ัว รับ รสอยู่ท ี่
  ปุ่ม รับ รส (taste bud) ฝัง อยู่บ นเยื่อ บุข องลิ้น
  ตรงปลายปุ่ม มีร ูเ ปิด ซึง อยู่ใ นสภาพ
                               ่
  สารละลาย สามารถเข้า ไปกระตุ้น เซลรับ
  รส (taste cell) ได้ ซึง เซลล์ร ับ รสจะส่ง
                             ่
  สัญ ญาณไปแปรที่ส มอง
• ผิว หนัง เป็น อวัย วะรับ สัม ผัส ที่ม ีห น่ว ยรับ
คือ นำ้า เหลือ ง หลอดหรือ
 ท่อ นำ้า เหลือ ง ต่อ มนำ้า
 เหลือ ง รวมทั้ง ม้า ม ต่อ ม
 ทอนซิล และไทมัส
หน้า ที่ : กรองเลือ ด สร้า ง
เม็ด เลือ ด ช่ว ยป้อ งกัน โรค
และคืน โปรตีน กลับ สู่
ระบบนำ้า เหลือ งเป็น ระบบ
ลำา เลีย งสารต่า ง ๆ ให้ก ลับ
เข้า สู่เ ส้น เลือ ด โดยเฉพาะ
สารอาหารพวกกรดไขมัน ที่
ดูด ซึม จากลำา ไส้เ ล็ก ระบบ
นำ้า เหลือ งจะไม่ม ีอ วัย วะ
สำา หรับ สูบ ฉีด ไปยัง ส่ว นต่า ง
ๆ ประกอบไปด้ว ย นำ้า เหลือ ง
(L  ymph ) ท่อ นำ้า เหลือ ง
(L  ymph vessel ) และ
ก. นำ้า เหลือ ง ( Lymph )
    ส่ว นประกอบของนำ้า เหลือ ง
คล้า ยกับ ในเลือ ดแต่ไ ม่ม ีเ ม็ด
เลือ ดแดง เป็น ของเหลวที่ซ ึม
ผ่า นผนัง เส้น เลือ ดฝอยออกมา
อยู่ร ะหว่า งเซลล์ห รือ รอบ ๆ
เซลล์ เพื่อ หล่อ เลี้ย งเซลล์ ใน
นำ้า เหลือ งจะมีโ ปรตีน โมเลกุล
เล็ก เช่น อัล บูม ิน และสารที่ม ี
ข. ท่อ นำ้า เหลือ ง ( Lymph
              vessel )
     เป็น ท่อ ตัน มีอ ยู่ท ั่ว ร่า งกายมีข นาดต่า ง
ๆ กัน มีล ัก ษณะคล้า ยเส้น เลือ ดเวน คือ มี
ลิ้น กั้น ป้อ งกัน การไหลกลับ ของนำ้า เหลือ ง
นำ้า เหลือ งไหลไปตามท่อ นำ้า เหลือ ง โดย
อาศัย ปัจ จัย 3 ประการ คือ
- การหดและคลายตัว ของกล้า มเนือ ที่จ ะ      ้
ไปกดหรือ คลายท่อ นำ้า เหลือ ง
- ความแตกต่า งระหว่า งความดัน ไฮโดรส
เตติก ซึ่ง ท่อ นำ้า เหลือ งขนาดเล็ก มีม ากกว่า
ท่อ นำ้า เหลือ งขนาดใหญ่
ท่อ นำ้า เหลือ งขนาดใหญ่ม ี 2 ท่อ ที่
               สำา คัญ คือ
     - ท่อ นำ้า เหลือ งทอราซิก (Thoracic duct
) เป็นท่อนำ้าเหลืองขนาดใหญ่ที่สด ทำาหน้าที่รับ
                                 ุ
นำ้าเหลืองจากส่วนต่างๆของร่างกาย ยกเว้น
ทรวงอกขวาแขนขวาและส่วนขวาของหัวกับ
คอ เข้าเส้นเลือดเวน แล้วเข้าสู่เวียนาคาวาก่อน
เข้าสู่หัวใจ อยู่ทางซ้ายของลำาตัว
    - ท่อ นำ้า เหลือ งทางด้า นขวาของลำา ตัว
( Right lymphatic duct ) รับนำ้าเหลืองจาก
ทรวง อกขวาแขนขวา และส่วนขวาของหัวกับ
คอเข้าเส้นเลือดเวน แล้วเข้าสู่เวียนาคาวา เข้าสู่
ค. อวัย วะนำ้า เหลือ ง ( Lymph
           organ )
     อวัย วะนำ้า เหลือ งเป็น ศูน ย์ก ลางในการ
ผลิต เซลล์ท ี่ใ ช้ใ นการต่อ ต้า นเชือ โรคหรือ้
สิง แปลก ปลอมประกอบด้ว ย ต่อ มนำ้า
  ่
เหลือ ง ต่อ มทอนซิล ม้า ม ต่อ มไทมัส และ
เนื้อ เยื่อ นำ้า เหลือ งที่อ ยู่ท ี่ล ำา ไส้
ต่อ มนำ้า เหลือ ง ( Lymph node )
    พบอยู่ร ะหว่า งทางเดิน ของท่อ นำ้า
เหลือ งทั่ว ไปในร่า ง กายลัก ษณะเป็น รูป ไข่
กลม หรือ รี เส้น ผ่า นศูน ย์ก ลางประมาณ
1.5 มิล ลิเ มตร จะมีท ่อ นำ้า เหลือ งเข้า และท่อ
นำ้า เหลือ งออกภายในเต็ม ไปด้ว ยเม็ด
เลือ ดขาวชนิด โฟไซต์ ต่อ มนำ้า เหลือ งจะทำา
หน้า ที่ก รองนำ้า เหลือ งให้ส ะอาดทำา ลาย
แบคทีเ รีย และทำา ลายเม็ด เลือ ดขาวที่อ ยู่
ในวัย ชรา
ต่อ มทอนซิล ( Thonsil gland )
       เป็น กลุ่ม ของต่อ มนำ้า เหลือ งมีอ ยู่ 3 คูค ู่
                                                  ่
ที่ส ำา คัญ อยู่ รอบๆหลอดอาหาร ภายใน
ต่อ มทอนซิล จะมีล ิม โฟไซต์ท ำา ลาย
จุล ิน ทรีย ์ท ี่ผ า นมาในอากาศไม่ใ ห้เ ข้า สู่
                   ่
หลอดอาหารและ กล่อ งเสีย งถ้า ต่อ ม
ทอนซิล ติด เชือ จะมีอ าการบวมขึ้น เรีย กว่า
                     ้
ต่อ มทอนซิล อัก เสบ
ม้า ม ( spleen )
    เป็น อวัย วะนำ้า เหลือ งทีใ หญ่ท ส ุด มีเ ส้น เลือ ด
                                     ่  ี่
มาเลี้ย งมากมายไม่ม ท อ นำ้า เหลือ งเลย สามารถ
                           ี ่
ยืด หดได้ นุม มีส ีม ว ง อยูใ กล้ๆ กับ กระเพาะอาหาร
               ่       ่       ่
ใต้ก ระบัง ลมด้า นซ้า ย รูป ร่า งคล้า ยเมล็ด ถัว  ่
ภายในจะมีล ิม โฟไซต์อ ยูม ากมาย ม้า มมีห น้า ที่
                                   ่
สร้า งเม็ด เลือ ดในระยะเอ็ม บริโ อในคนที่ค ลอด
แล้ว ม้า มทำา หน้า ที่
1. ทำา ลายเม็ด เลือ ดแดงทีห มดอายุแ ล้ว
                                 ่
2. สร้า งเม็ด เลือ ดขาว พวกลิม โฟไซต์ และโมโน
ไซต์ซ ึ่ง ทำา หน้า ทีป ้อ งกัน สิ่ง แปลกปลอมและเชื้อ
                     ่
โรคทีเ ข้า ไปในกระแสเลือ ด
       ่
3. สร้า งแอนติบ อดี
ต่อ มไทมัส ( Thymus gland )

    เป็น ต่อ มที่ม ข นาดใหญ่ต อนอายุน อ ย
                     ี                   ้
และถ้า อายุม ากจะเล็ก ลงและฝ่อ ในที่ส ด     ุ
เป็น ต่อ มไร้ท ่อ อยูต รงทรวงอกรอบ
                       ่
เส้น เลือ ดใหญ่ข องหัว ใจ ทำา หน้า ที่ส ร้า ง
เซลล์เ ม็ด เลือ ดขาวชนิด ลิม โฟไซต์ T
มีห น้า ที่ต ่อ ต้า นเชือ โรคและสารแปลก
                         ้
ปลอมเข้า สูร ่า งกาย รวมทั้ง การต้า น
                ่
อวัย วะที่ป ลูก ถ่า ยจากผูอ ื่น ด้ว ย
                             ้
ภูม ิค ุ้ม กัน
     กลไกการทำา งานของภูม ิค ม กัน การ
                               ุ้
ทำางานของภูมิคมกันเรียกรวมกันว่า ระบบ
                ุ้
ภูม ิค ม กัน (immune system) ในการทำางาน
       ุ้
แบ่งเป็น 2 ระบบ คือ อาศัย เซลล์โ ดยตรง
และอาศัย เซลล์โ ดยอ้อ ม ซึ่งทำางานสัมพันธ์
เชือมโยงกัน เรียกว่ารวมกันเป็นกองกำาลังติด
   ่
อาวุธ และประจัญบาน ต่อต้านผู้บกรุก ไม่ให้
                                  ุ
รุกรานร่างกาย
ภูม ค ุ้ม กัน ทีอ าศัย เซลล์โ ดยตรง คือ เมือมีเชื้อ
       ิ           ่                           ่
  โรคเข้าสู่ร่างกาย และเม็ดเลือดขาวไปพบเข้า ก็จะจับ
  กินทำาลายเสีย เปรียบกับการประจันหน้าศัตรู และใช้
  กำาลังเข้าหำ่าหั่นกัน
   ภูม ค ุ้ม กัน ทีอ าศัย เซลล์โ ดยอ้อ ม คือ เมือเชื้อโรค
         ิ           ่                           ่
  เข้ามา เซลล์จะสร้างสารต่อต้าน สิ่งแปลกปลอมขึ้นมา
  เรียกว่า แอนติบ อดี (antibody) แอนติบอดีจะไป
  จับกับสิ่งแปลกปลอม เหมือนแม่กุญแจ กับลูกกุญแจ
  ทำาให้สงแปลกปลอมไม่สามารถแผลงฤทธิ์กับร่างกาย
            ิ่
  ได้
            การสร้างสารภูมิคมกันนั้น ในขั้นแรก
                            ุ้
เมื่อมีเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเข้ามา จะมีเซลล์
ไปทำาความรู้จัก กับเชื้อโรค แล้วบรรจุข้อมูล ส่ง
ไปให้เซลล์ที่มีหน้าที่สร้าง สารต่อต้าน หากเคย
• สารภูม ิค ม กัน (แอนติบ อดี) แต่ละชนิดจะ
             ุ้
  มีอายุไม่เท่ากัน บางชนิดก็อยู่ได้ไม่นาน บาง
  ชนิดก็อยู่ได้หลายปี บางชนิดก็อยู่ได้ตลอดชีวิต
  เช่น วัคซีนหัดเยอรมัน ที่คุ้มกันได้ตลอดชีวิต
• เสริม สร้า งภูม ิค ม กัน ถึงแม้แต่ละคนจะมี
                      ุ้
  ภูมิคุ้มกันที่ได้รับถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ต่างกัน
  แต่ก็สามารถมีภูมิคมกันที่ดีได้ เหมือนกัน หาก
                         ุ้
  มัวแต่คิดว่า ปัจจัยทางพันธุกรรมแล้วไม่สู้โรค ก็
  เหมือนเป็นการซำ้าเติม ทำาให้ร่างกาย อ่อนแอลง
  ไปอีก แต่ถ้าไม่ยอมแพ้ธรรมชาติ พยายามสร้าง
  เสริมบางอย่างก็อาจจะดีขึ้น หรือการแพ้บาง
  อย่างอาจจะหายไปเลยก็ได้
การเสริม สร้า งภูม ิค ุ้ม กัน ก็ม ีห ลัก
         ง่า ย ๆ ดัง นี้
• อาหาร กินอาหารให้ครบทุกหมูและเพียงพอ และ
                                     ่
  อาหารทีกนควรมีคุณภาพดี เช่น สด สะอาด ปนเปื้อน
            ่ ิ
  น้อยทีสุด ไม่กนอาหารหมักดอง อาหารทีทอดหรือย่าง
         ่       ิ                            ่
  จนไหม้เกรียม
• ออกกำา ลัง กาย การออกกำาลังกายจะทำาให้ระบบไหล
  เวียนเลือดดีขึ้น มีการแตก แขนงของหลอดเลือดใน
  เนือเยือต่าง ๆ มากขึ้น ทำาให้เม็ดเลือดขาวหรือ
     ้ ่
  ภูมคุ้มกัน เข้าสูในเนือเยื่อต่าง ๆ ได้ง่าย เมือมีเชื้อโรค
      ิ            ่     ้                      ่
  เข้ามาก็เข้าไปจัดการได้เร็ว
• ทำา จิต ใจให้เ บิก บาน จิตใจมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
  หลั่งสารเอ็น ดอร์ฟ น หรือสารสุข ในร่า งกาย สารนี้
                       ิ
  พอหลั่งออกมาทำาให้ระบบการทำางานของเซลล์ดขึ้น         ี
  ในทางตรงข้ามหากจิตใจห่อเหี่ยว เศร้า เป็นทุกข์
  ร่างกายจะหลั่งสารทุกข์ ทำาให้ระบบภูมคุ้มกันทำางานได้
                                            ิ
ระบบภูม ค ุ้ม กัน - Immune
           ิ
             System
    แบ่ง เป็น 2 ประเภทคือ ภูม ิค ม กัน แบบ
                                     ุ้
ไม่เ ฉพาะเจาะจงที่ม ีโ ดยธรรมชาติ
( Native immunity หรือ Natural
resistance ) ไม่จ ำา เป็น ที่ต ้อ งถูก กระตุน
                                            ้
เป็น พิเ ศษ มีก ำา ลัง ทำา ลายไม่ส ง ป้อ งกัน ได้
                                   ู
กับ จุล ชีพ ที่ไ ม่ม อ ัน ตรายมากนัก และกำา จัด
                     ี
จุล ชีพ ได้ใ นปริม าณหนึง เปลี่ย นแปลงไป
                             ่
ตามอายุ พัน ธุก รรม ระดับ ฮอร์โ มน และ
สภาวะทางโภชนาการของแต่ล ะคน แบ่ง
ย่อ ยตามกลไกการทำา งานได้ด ัง นี้
การป้อ งกัน ทางกายวิภ าค
         ( Anatomical barrier )
       ด่า นที่ส ำา คัญ คือ ผิว หนัง เชื้อ จะถูก กัน ให้อ ยู่
                                                    ้
บริเ วณด้า นนอกของร่า งกายบริเ วณผิว หนัง ถ้า
อยูเ ช่น นัน ไปเรื่อ ย เชื้อ ก็จ ะตาย เพราะอยูใ น
     ่        ้                                         ่
สภาพทีแ ห้ง ขาดความชุ่ม ชื้น การหลุด ลอกออก
            ่
ของผิว หนัง จะช่ว ยกำา จัด เชือ ทีเ กาะอยูอ อกไป
                                     ้ ่          ่
เยือ บุผ ิว ( Mucous Membrane ) จะมีเ ยือ เมือ ก
   ่                                                  ่
ช่ว ยดัก จับ จุล ิน ทรีย ไ ว้ และลำา เลีย งต่อ ขึ้น ไปทาง
                            ์
หลอดลม หรือ โพรงจมูก โดยอาศัย การทำา งาน
ของขนเล็ก ( Cilia ) บริเ วณทางเดิน หายใจ
ทำา งานคล้า ยไม้ก วาด ทำา ให้เ ชื้อ มีก ารเคลื่อ นที่
ไปในทางเดีย วกัน ในอัต ราความเร็ว ประมาณ
10-20 มม./นาที ต่อ มาจะเกิด อาการไอจาม หรือ
ขับ เป็น เสมหะ ทำา ให้เ ชื้อ หลุด ออกไป หรือ ไม่ก ็
ถูก กลืน ลงไปกระเพาะอาหาร และขับ ออกกับ
อุจ จาระ การปัส สาวะ ความแรงของการปัส สาวะ
สารเคมีใ นร่า งกาย ( Chemical
               Factorมไขมัน ได้แ ก่ Lactic
  สารทีข ับ ออกมาจากต่อ
       ่
                        )
 acid, Caproic acid, Caprylic acid มีฤ ทธิ์ต ่อ ต้า น
 แบคทีเ รีย กรดไขมัน บางชนิด ป้อ งกัน เชือ ราได้ (
                                                 ้
 ยกเว้น เชื้อ ราและแบคทีเ รีย บางชนิด ทีก รดไข ่
 มัน บางชนิด ช่ว ยกระตุ้น การเจริญ เติบ โตของ
 เชื้อ ) ความเป็น กรดในช่อ งคลอด ทำา ให้ไ ม่
 เหมาะต่อ การเจริญ เติบ โตของเชื้อ จุล ิน ทรีย ท ี่  ์
 เป็น โทษ แต่เ หมาะกับ จุล ิน ทรีย ์ท ม ป ระโยชน์
                                      ี่ ี
 ความเป็น กรด - ด่า ง ของช่อ งปาก และกระเพาะ
 อาหาร กล่า วคือ นำ้า ลายมีฤ ทธิ์เ ป็น ด่า ง และกรด
 ในกระเพาะอาหาร จะช่ว ยกรองเชือ จุล ิน ทรีย ไ ด้
                                           ้           ์
 ส่ว นหนึ่ง Normal Flora หมายถึง เชื้อ จุล ิน ทรีย ์ท ี่
 อาศัย อยูก ับ ร่า งกายตามปกติซ ง ไม่ก อ โรค จะ
           ่                      ึ่         ่
 ช่ว ยควบคุม ปริม าณซึ่ง กัน และกัน ไม่ใ ห้ม ก าร  ี
การสะกดกลืน กิน
             ( Phagocytosis )
• โดย เม็ด เลือ ดขาว จะทำา หน้า ที่จ ับ เชือ       ้
  จุล ิน ทรีย ์ก ิน เมื่อ กิน จนเต็ม ที่แ ล้ว ก็จ ะย่อ ย
  สลายตัว เองและเชือ จุล ิน ทรีย ์ใ ห้ต ายไป
                            ้
  พร้อ มๆกัน กลายเป็น หนอง
ระบบคอมพลีเ มนต์
     ( Complement System )
• เป็น ระบบที่ซ ับ ซ้อ นมาก เป็น กลุม ของสาร
                                    ่
  โปรตีน ในนำ้า เลือ ดมากกว่า 20 ชนิด มีผ ล
  ทำา ให้เ ซลล์ต าย แตกสลาย
อิน เตอร์เ ฟอรอน ( Interferon )
• เป็น กลุ่ม ของโปรตีน เช่น เดีย วกัน มีค วาม
  สำา คัญ ในการขัด ขวางการแบ่ง ตัว ของ
  ไวรัส จัด เป็น สารที่ม อ นาคตทางการ
                         ี
  แพทย์ม ากในการรัก ษาโรคติด เชือ ไวรัส้
  และมะเร็ง แต่ย ัง ต้อ งค้น คว้า อีก นาน เพื่อ
  ลดผลข้า งเคีย งในการนำา มาใช้ท างยา
ภูม ิค ุ้ม กัน แบบเฉพาะเจาะจง
    ( Specific Acquired Immunity )
• มีอ ำา นาจทำา ลายสูง และเฉพาะเจาะจงกับ
  เชือ จุล ิน ทรีย ์แ ต่ล ะชนิด ตัว อย่า งที่เ ห็น ได้
     ้
  ชัด เจนคือ การฉีด วัค ซีน ซึ่ง จะมีว ัค ซีน
  ของแต่ล ะโรค วัค ซีน จะไปกระตุน ให้เ กิด้
  การสร้า ง Antibody ต่อ โรคนัน ๆ และจะ
                                     ้
  ถูก จดจำา ไปตลอดชีว ิต เมือ ร่า งกายได้ร ับ
                                 ่
  เชือ ชนิด นัน ๆอีก Antibody จะถูก สร้า งขึ้น
       ้       ้
  มาอย่า งมากมายเพื่อ ทำา ลายเชือ จุล ิน ทรีย ์
                                        ้
  ชนิด นัน อย่า งรวดเร็ว การเกิด ภูม ิค ม กัน
          ้                                   ุ้
  ชนิด นี้ อาศัย เซลล์เ ม็ด เลือ ดขาวที่เ รีย กว่า
โรคที่เ กีย วข้อ งกับ ระบบ
              ่
            ภูม ิค ุ้ม กัน
      โรคภูม ต ้า นทานเนือ เยื่อ ตนเอง
             ิ                  ้
 ( Autoimmune disease ) มีโ รคประเภทนี้
 มากมาย แต่ท ี่เ ป็น ที่ร ู้จ ัก กัน มากคือ SLE
 ( Systemic Lupus Erythematosus
 Rheumatoid arthritis Psoriasis
       โรคภูม ิแ พ้ คือ ภาวะบกพร่อ งของภูม ิ
 ต้า นทาน
( Immunodeficiency Disease)
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์

More Related Content

What's hot

บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
Krupol Phato
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
issarayuth
 
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1page
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1pageใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1page
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
Tanchanok Pps
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
สุขใจ สุขกาย
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
kasidid20309
 
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-4page
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-4pageใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-4page
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
Janejira Meezong
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
Lilrat Witsawachatkun
 
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
Janejira Meezong
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
Aphisit Aunbusdumberdor
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)kookoon11
 
ระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คนระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คนNok Tiwung
 
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชายระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
Tiwapon Wiset
 

What's hot (20)

บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูประบบย่อยอาหาร
 
404766008
404766008404766008
404766008
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1page
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1pageใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1page
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-1page
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
Body
BodyBody
Body
 
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-4page
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-4pageใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-4page
ใบความรู้+ระบบย่อยอาหาร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f24-4page
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
 
ระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คนระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คน
 
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชายระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
 

Similar to ร่างกายมนุษย์

ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
Thanyamon Chat.
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
capchampz
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
โฮลลี่ เมดิคอล
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
พัน พัน
 
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟันCm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน4LIFEYES
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
พัน พัน
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
tassanee chaicharoen
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์kanitnun
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาโครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาAoraoraor Pattraporn
 
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาโครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
Aoraoraor Pattraporn
 

Similar to ร่างกายมนุษย์ (20)

ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟันCm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาโครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
 
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาโครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
 

ร่างกายมนุษย์

  • 1.
  • 2. ร่า งกายของสัต ว์ช ั้น สูง และมนุษ ย์ป ระกอบด้ว ย เซลล์จ ำา นวนมากมาย หลายล้า นเซลล์ เซลล์ จะมีก ารรวมกลุ่ม กัน เพื่อ ทำา หน้า ที่เ ฉพาะ อย่า ง กลุ่ม ของเซลล์ท ี่ม ี รูป ร่า งเหมือ นกัน มาทำา หน้า ที่อ ย่า งเดีย วกัน เรีย กว่า เนื้อ เยื่อ
  • 3. อวัย วะ เกิด จากเนื้อ เยื่อ หลาย ชนิด มาทำา หน้า ที่อ ย่า งเดีย วกัน และอวัย วะหลายๆอย่า งมาทำา หน้า ที่ร ่ว มกัน เรีย กว่า ระบบ อวัย วะ ดัง นั้น ร่า งกายมนุษ ย์จ ึง ถูก จัด ระเบีย บเป็น 4 ระดับ คือ ระดับ เซลล์ เนื้อ เยื่อ อวัย วะ และ ระบบ
  • 4. ระดับ เซลล์ เซลล์ คือ องค์ ประกอบพื้น ฐานที่เ ล็ก ทีส ุด ของสิง มีช ีว ิต ่ ่ เซลล์ 1 เซลล์ สามารถทำา หน้า ที่ไ ด้ เท่า กับ สิง มีช ีว ิต หนึ่ง ่ ชีว ิต เพราะสิง มีช ว ิต ่ ี เซลล์เ ดีย วสามารถ ดำา รงชีว ิต อยู่ไ ด้ ลัก ษณะของเซลล์ ของสิง มีช ีว ิต จะมี ่
  • 5. ระดับ เนื้อ ่อ หมาย เนื้อ เยื เยื่อ ถึง กลุม ของเซลล์ท ี่ม ี ่ รูป ร่า งเหมือ นกัน มา อยู่ร วมกัน และทำา หน้า ที่อ ย่า งเดีย วกัน เช่น เนื้อ เยื่อ กล้า มเนื้อ มีห น้า ที่ช ่ว ยให้ ร่า งกายเคลือ นไหว ่ ได้ ทำา งานได้ เนื้อ เยื่อ ประสาททำา
  • 6. ระดับ อวัย วะ ระดับ อวัย วะ คือ โครงสร้า ง ที่ป ระกอบด้ว ยเนื้อ เยื่อ หลาย ชนิด อยู่ร ่ว มกัน และทำา หน้า ที่ อย่า งใดอย่า งหนึ่ง โดยเฉพาะ เช่น หัว ใจ เป็น อวัย วะที่ ประกอบด้ว ยเนือ เยือ หุ้ม หัว ใจ ้ ่ เนือ เยื่อ กล้า มเนือ เยือ บุห ัว ใจ ้ ้ ่ เส้น เลือ ด เป็น ต้น กระเพาะ อาหาร เป็น อวัย วะหนึง ที่ ่ ประกอบด้ว ยเนือ เยือ กล้า มเนือ ้ ่ ้ วงกลมและกล้า มเนื้อ ตามยาว
  • 7. ระดับ ร่า งกาย ร่า งกายของเราประกอบด้ว ย อวัย วะต่า งๆมาทำา งานประสานกัน เป็น ระบบ เช่น ระบบทางเดิน อาหาร ประกอบด้ว ยอวัย วะหลายอย่า ง ได้แ ก่ หลอดอาหาร กระเพาะ อาหาร ตับ ตับ อ่อ น ลำา ไส้เ ล็ก ลำา ไส้ใ หญ่ มาทำา งานประสานกัน ถ้า อวัย วะใดอวัย วะหนึ่ง ทำา งานผิด ปกติ ไปหรือ ทำา งานไม่ไ ด้ก ็จ ะมีผ ลกระทบ ต่อ สิ่ง มีช ีว ิต นั้น
  • 8. นอกจากการทำา งานที่ป ระสานกัน ภายในระบบนั้น ๆแล้ว ระบบนั้น ๆ แล้ว ระบบต่า งๆของร่า งกายไมว่า จะเป็น ระบบย่อ ยอาหร ระบบ หายใจ ระบบโครงกระดูก และ กล้า มเนื้อ ระบบประสาท ระบบ ขับ ถ่า ย ระบบหมุน เวีย นเลือ ด ระบบภูม ิค ุ้ม กัน หรือ ระบบสืบ พัน ธุ์ แต่ล ะระบบจะต้อ งทำา งานประสาน กัน เพื่อ ให้ส ิ่ง มีช ีว ิต นั้น ๆดำา รงอยู่
  • 9.
  • 10. ระบบย่อ ยอาหาร ระบบย่อ ยอาหารประกอบด้ว ยอวัย วะ หลาย ๆ อวัย วะ ได้แ ก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ตับ    ตับ อ่อ น ลำา ไส้เ ล็ก ลำา ไส้ใ หญ่ ซึ่ง อวัย วะบางอวัย วะไม่ม ก าร ี ย่อ ยแต่เ กี่ย วข้อ งกับ ทางเดิน อาหาร    การ ย่อ ยอาหาร เป็น กระบวนการที่ท ำา ให้ อาหารที่ม โ มเลกุล ใหญ่ มีข นาดเล็ก ลงจน ี สามารถซึม เข้า สูเ ซลล์ไ ด้ การย่อ ยมี 2 ่ ลัก ษณะคือ
  • 11. 1. การย่อ ยเชิง กล เป็น การย่อ ย อาหารโดยไม่ใ ช้เ อ็น ไซม์ม า ช่ว ย เป็น การบดเคี้ย วให้อ าหาร มีข นาดเล็ก ลง ได้แ ก่ก ารบด เคี้ย วอาหารในปาก  2. การย่อ ยทางเคมี เป็น การ ย่อ ยที่ต ้อ งใช้เ อ็น ไซม์*(หรือ นำ้า ย่อ ย)มาช่ว ย ทำา ให้โ มเลกุล ของ อาหารมีข นาดเล็ก ลง เช่น การ
  • 12.
  • 13. การย่อ ย อาหารที่ป าก ปาก(mouth) เป็น อวัย วะแรก ของระบบย่อ ย อาหาร ภายในปาก จะมีส ว นประกอบ ่ ดัง นี้ ฟัน ทำา หน้า ที่บ ด เคี้ย วอาหารให้ม ี ขนาดเล็ก ลง ต่อ มนำ้า ลาย จะขับ นำ้า ลายซึ่ง มนำ้า ย่อ ย
  • 14. ลิ้น จะช่ว ยกวาด, คลุก เคล้า อาหาร และส่ง อาหารทีเ คี้ย วลงสู่ ่ หลอดอาหาร หลอดอาหาร ท่อ ลำา เลีย งอาหารอยู่ ด้า นหลัง ของหลอดลมและทะลุก ระ บัง ลมไปต่อ กับ ปลายบนของ กระเพาะอาหาร ทำา หน้า ที่ล ำา เลีย ง อาหารที่เ คีย วแล้ว ลงสูก ระเพาะ ้ ่ อาหาร โดยการบีบ รัด ของผนัง กล้า ม เนื้อ      การย่อ ยอาหารในปากจะเริ่ม เมื่อ อาหารเข้า สูป าก โดยฟัน จะทำา ่ หน้า ที่บ ดเคีย วอาหารให้อ าหารมี ้ ขนาดเล็ก ลง เพื่อ เพิ่ม เนื้อ ที่ข อง อาหารให้ม ด อกาสสัม ผัส กับ เอนไซม์ ี ชนิด ที่อ ยูใ นนำ้า ลายได้ม ากขึ้น ่ ทำา ให้ก ารย่อ ยอาหารเป็น ไปได้
  • 15. นำ้า ลายที่ถ ูก ขับ ออกจากต่อ มนำ้า ลาย ( เอนไซม์ใ นนำ้า ลายจะย่อ ยอาหาร จำา พวกแป้ง หรือ สารอาหารประเภท คาร์โ บไฮเดรตให้เ ป็น นำ้า ตาลเท่า นั้น ) ในขณะที่เ คีย วอาหารจะช่ว ยคลุก เคล้า ้ กับ อาหารทำา ให้ม ีค วามลื่น ต่อ การเคี้ย ว ได้ง า ย และยัง ช่ว ยในการย่อ ยอาหาร ่ ได้อ ีก ด้ว ย โดยในนำ้า ลายจะมีเ อนไซม์ ที่ช ื่อ อะไมเลส ซึง สามารถย่อ ยแป้ง ที่ ่ มีอ นุภ าคใหญ่ใ ห้ก ลายเป็น นำ้า ตาลที่ม ี อนุภ าคเล็ก อีก ด้ว ยสาเหตุน ี้ข ณะเรา
  • 16. การย่อ ยอาหารที่ก ระเพาะ อาหาร ( stomach ) กระเพาะอาหาร ( stomach ) มีล ัก ษณะ เป็น ถุง ที่ม ช น กล้า มเนือ ที่แ ข็ง แรง ส่ว นชัน ี ั้ ้ ้ ในสุด เป็น ชัน ของเยื่อ บุก ระเพาะอาหารที่ม ี ้ ต่อ มมากมายทำา หน้า ที่ส ร้า งของเหลว ( gastric juice ) ออกมา 3 ชนิด คือ เอน ไซม์เ ปปซิน ( pepsin ) กรดไฮโดรคลอริก และนำ้า     อาหารเมือ ย่อ ยในปากแล้ว จะถูก ส่ง ไปยัง ่ กระเพาะอาหาร โดยผ่า นไปตาม หลอดอาหาร ปกติก ระเพาะอาหารขณะที่ ไม่ม อ าหารอยู่จ ะมีข นาดประมาณ 50 ี
  • 17. ผนัง ชั้น ในสุด ของกระเพาะ อาหารทำา หน้า ที่ผ ลิต เอนไซม์ช ื่อ ว่า เปปซิน ( pepsin ) และ กรดไฮ โดรคลอริก ออกมาในปริม าณ เล็ก น้อ ยอยู่ต ลอดเวลา แต่เ มื่อ มี อาหารเข้า สู่ก ระเพาะอาหาร เอนไซม์แ ละกรดไฮโดรคลอริก ก็ จะถูก ผลิต และขับ ออกมาใน
  • 18. เอนไซม์เ ปปซิน ในกระเพาะอาหาร มีห น้า ที่ย อ ยสารอาหารประเภทโปรตีน ่ ให้ม ีข นาดเล็ก ลง แต่ย ง มีข นาดใหญ่ ั เกิน กว่า จะแพร่เ ข้า สูเ ซลล์ไ ด้ ดัง นั้น จะ ่ ต้อ งส่ง ไปย่อ ยต่อ ที่ล ำา ไส้เ ล็ก      กรดไฮโดรคลอริก ทีก ระเพาะ ่ อาหารสร้า งขึ้น แลปล่อ ยออกมาใน ตอนแรกจะมีค วามเข้ม ข้น สูง สามารถ ทำา อัน ตรายแก่เ นื้อ เยือ ต่า งๆในร่า งกาย ่ ได้ แต่จ ะไม่เ ป็น อัน ตรายต่อ กระเพาะ อาหารถ้า กรดนี้ร วมตัว กับ อาหารใน กระเพาะทำา ให้ก รดเจือ จางลง ประกอบ
  • 19. กรดไฮโดรคลอริก จึง ไม่ท ำา อัน ตรายแก่ผ นัง กระเพาะอาหาร ได้ง ่า ยนัก แต่ถ ้า กระเพาะ อาหารปล่อ ยนำ้า ย่อ ย ออกมามากๆ ในขณะที่ไ ม่ม ี อาหารอยู่จ ะมีผ ลทำา ให้ผ นัง ของ กระเพาะอาหารถูก ทำา ลายได้ และเมื่อ เกิด บ่อ ยๆครั้ง จะเป็น ผล ทำา ให้เ กิด แผลและเลือ ดไหลซึม ออกมาจากเยื่อ บุใ นกระเพาะ
  • 20. การย่อ ยอาหารทีล ำา ไส้เ ล็ก ่ ( small intestine )     การย่อ ยอาหารและดูด ซึม สาร อาหารส่ว นใหญ่เ กิด ขึ้น ที่น ี่ ลำา ไส้เ ล็ก มีร ูป ร่า งเป็น ท่อ ยาวประมาณ 15 ฟุต มีเ ส้น ผ่า ศูน ย์ก ลางประมาณ 1 นิ้ว แบ่ง ออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนต้น ตอน กลาง และตอนปลาย ผนัง ด้า นใน ของลำา ไส้เ ล็ก จะมีส ว นทีย ื่น ออกมา ่ ่ จำา นวนมากเรีย กว่า วิล ไล (villi) ภาย ในวิล ไลมีเ ส้น เลือ ดฝอยและนำ้า เหลือ ง ช่ว ยดูด ซึม อาหารที่ม ีโ มเลกุล ขนาด
  • 21. การย่อ ยอาหารในลำา ไส้เ ล็ก เป็น การย่อ ยขั้น สุด ท้า ย ซึ่ง ต้อ ง อาศัย เอ็น ไซม์จ ากลำา ไส้เ ล็ก เอง และจากตับ อ่อ น ในการย่อ ย อาหารประเภทแป้ง ไขมัน และ โปรตีน นอกจากนี้ย ัง มีน ำ้า ดี ซึ่ง สร้า งโดยตับ และสะสมไว้ใ นถุง นำ้า ดี อาหารที่ย ่อ ยแล้ว ซึม เข้า ไป เลี้ย งส่ว นต่า ง ๆ ของร่า งกาย
  • 22. ในลำา ไส้เ ล็ก จะมีเ อนไซม์แ ละสารต่า งๆ ที่จ ำา เป็น ต่อ การย่อ ยสารอาหารหลาย ประเภท โดยเอนไซม์แ ละสารเหล่า นีถ ูก ้ สร้า งที่อ วัย วะต่า งๆ ดัง นี้   ลำา ไส้เ ล็ก สร้า งเอนไซม์ ชื่อ มอลเตส  แลกเตส และ ซูเ ครส สำา หรับ ย่อ ยสาร อาหารคาร์โ บไฮเดรตประเภทนำ้า ตาล ตับ อ่อ น สร้า งเอนไซม์ ชื่อ ทริป ซิน สำา หรับ ย่อ ยสารอาหาร โปรตีน และ ไลเปส สำา หรับ ย่อ ยสารอาหารไขมัน
  • 23. ตับ มีก ารสร้า งนำ้า ดีแ ล้ว ส่ง ไปเก็บ ไว้ใ น ถุง นำ้า ดี โดยถุง นำ้า ดีจ ะมีท ่อ ติด ต่อ กับ ลำา ไส้เ ล็ก เมื่อ อาหารถูก ส่ง ผ่า น มายัง ลำา ไส้เ ล็ก จะมีก ารกระตุ้น ให้ถ ุง นำ้า ดี หลั่ง นำ้า ดีอ อกมา สำา หรับ นำ้า ดีท ำา หน้า ที่ กระจายสารอาหารไขมัน ให้แ ตกตัว เป็น เม็ด เล็ก ๆก่อ น เพื่อ ให้ส ะดวกต่อ การย่อ ย ของเอนไซม์ไ ลเปสจากตับ อ่อ นอีก ทีห นึ่ง          เอนไซม์แ ละสารต่า งๆที่ใ ช้ใ นการ ย่อ ยอาหารในลำา ไส้เ ล็ก ทำา หน้า ที่ไ ด้ด ีใ น
  • 24.
  • 25. การย่อ ยอาหารที่ ลำา ไส้ใ หญ่ ( large intestine )  ลำา ไส้ใ หญ่ เป็นส่วน สุดท้ายของระบบย่อย อาหาร อยูติดกับลำาไส้เล็ก ่ ตรงรอยต่อจะมี ไส้ติ่ง(Vermiform appendix)ติดอยู่ ใน ลำาไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อย อาหาร แต่จะมีการดูดซึม นำ้าและเกลือแร่กลับคืนสู่ กระแสเลือดโดยผนังของ
  • 26. อาหารที่ย ่อ ยไม่ไ ด้เ ป็น พวก เส้น ใยอาหาร ( fiber ) ซึ่ง มี ประโยชน์ต ่อ ร่า งกายเพราะช่ว ย ทำา ให้ก ากอาหารเป็น ก้อ นเคลื่อ นที่ ไปตามความยาวของลำา ไส้ใ หญ่ไ ด้ ดี ลำา ไส้ใ หญ่ม ีก ารบีบ ตัว ได้ม าก จึง ช่ว ยให้ก ารขับ ถ่า ยอุจ จาระได้ด ี     -  เส้น ใยอาหาร เป็น ส่ว นของ กากอาหารที่ไ ด้จ ากพืช ประโยชน์
  • 27. -ช่ว ยลดนำ้า หนัก เพราะเส้น ใย อาหารจะจับ กับ ไขมัน จาก อาหารป้อ งกัน โรคริด สีด วงทวาร เนื่อ งจากเส้น ใย อาหารอุ้ม นำ้า จึง ช่ว ยให้ก ารขับ ถ่า ยสะดวก - ช่ว ยลดระดับ ไขมัน ในเลือ ด เป็น การป้อ งกัน โรคหลอด เลือ ดหัว ใจตีบ ตัน
  • 28.
  • 29. ระบบหายใจ     การดำา รงชีว ิต ของสิ่ง มี ชีว ิต จำา เป็น ต้อ งใช้แ ก๊ส ออกซิเ จน ซึง คนเราได้ร บ ่ ั แก๊ส ออกซิเ จนจากการ หายใจเข้า ถ้า ร่า งกายขาด แก๊ส ออกซิเ จนไปเพีย ง 2 - 3 นาที ก็จ ะทำา ให้ถ ึง ตายได้
  • 30.
  • 31. การหายใจ ( Respiration )    การหายใจ   หมายถึง  การใช้ แก๊ส ออกซิเ จนใน การเผาผลาญ อาหารเพื่อ ให้ไ ด้ พลัง งานออกมาใช้
  • 32. การหายใจ  แบ่ง ออกเป็น 2  แบบ  คือ  1.  การหายใจแบบใช้ ออกซิเ จน (Aerobic espiration ) 2.  การหายใจแบบไม่ใ ช้ ออกซิเ จน (Anaerobic respiration )
  • 33. การหายใจของคนและ สัต งการพลังงานจึง มี คนเราต้อ ว์ช ั้น สู ง การหายใจแบบใช้อ อกซิเ จน ผลิต ผลทีไ ด้จ ากการหายใจแบบนี้ ่ คือ นำ้า  แก๊ส คาร์บ อนไดออกไซด์ และพลัง งาน     การหายใจของคนและสัต ว์ ชัน สูง แบ่ง ออกเป็น 3ขั้น ตอน คือ ้ ขั้น ที่ 1   ขั้น ตอนการสูด อากาศ เข้า ปอด ขั้น ที่ 2   ขั้น ตอนการแลก เปลี่ย นแก๊ส ออกซิเ จนกับ แก๊ส
  • 34. จุด ประสงค์ข องการหายใจ ของมนุษ ย์ 1. เพื่อ นำา แก๊ส ออกซิเ จนเข้า สู่เ ซลล์ต ่า งๆของร่า งกาย สำา หรับ ใช้ใ นการทำา ปฏิก ิร ิย า เผาผลาญสารอาหารที่ม ีอ ยู่ใ น เซลล์ เพื่อ ให้เ กิด พลัง งาน ใน ร่า งกาย แล้ว นำา ไปใช้ท ำา กิจ กรรมต่า งๆ นอกจากนี้ย ัง มี นำ้า และ แก๊ส
  • 35. 2. เพื่อ กำา จัด แก๊ส คาร์บ อนไดออกไซด์ท เ กิด ขึ้น จาก ี่ การเผาผลาญสารอาหาร สำา หรับ แก๊ส คาร์บ อนไดออกไซด์น ั้น ร่า งกายของคนต้อ งการในปริม าณ เล็ก น้อ ย ดั่ง นั้น ส่ว นเกิน ที่เ กิด จาก การเผาผลาญอาหารจะถูก ขับ ออก สู่ภ ายนอกร่า งกายด้ว ยการหายใจ ออก     กระบวนการในการนำา แก๊ส
  • 36. อวัย วะทีช ่ว ยในการ ่ หายใจ อวัย วะที่เ กี่ย วข้อ งกับ ระบบหายใจ ของคนเริ่ม ต้น ที่ป าก และ จมูก ไปสู่ หลอดลม ซึ่ง เป็น ท่อ กลวงมีก ระดูก อ่อ นเป็น วงแหวนแทรกอยูช ่ว ยให้ ่ หลอดลมไม่ย บ หรือ แฟบซึ่ง เป็น ุ อัน ตราย ปลายของหลอดลมแตกเป็น สองแขนง เรีย กว่า หลอดลมใหญ่เ ข้า สูป อด เมื่อ เข้า ไปในปอดจะแตกแข ่ นงเล็ก ๆมากมาย เรีย กว่า หลอดลม
  • 37. ปอดของคนเราไม่ม ก ล้า ม ี เนื้อ จึง ไม่ส ามารถหดตัว และ คลายตัว ได้เ อง ดัง นั้น ใน การนำา เอาอากาศภายนอก เข้า สู่ป อดและขับ แก๊ส ต่า งๆ ออกจากปอดต้อ งอาศัย การ ทำา งานประสานกัน ของ อวัย วะต่า งๆเช่น กล้า มเนื้อ
  • 38. ระบบหายใจ ทำา หน้า ที่แ ลกเปลี่ย น แก๊ส ออกซิเ จนและ คาร์บ อนไดออกไซด์ใ นระบบนี้ ประกอบด้ว ยอวัย วะสำา คัญ ได้แ ก่ จมูก หลอดลม และปอด 1 จมูก เป็น อวัย วะส่ว นต้น ของ ระบบหายใจ ทำา หน้า ที่เ ป็น ทางผ่า น ของอากาศ ช่ว ยกรองฝุน ละออง และ ่ เชื้อ โรคบางส่ว นก่อ นอากาศจะผ่า น ไปสู่อ วัย วะอืน ต่อ ไป ่ 2 หลอดลม เป็น ท่อ กลวงเชือ มต่อ่ กับ ขั้ว ปอดทั้ง 2 ข้า ง ทำา หน้า ที่เ ป็น
  • 39. 3. ปอด เป็น อวัย วะที่ส ำา คัญ ทีส ุด ของ ่ ระบบหายใจ ปอดมี 2 ข้า ง อยู่ใ น ทรวงอกด้า นซ้า ยและขวา ปอดแต่ล ะ ข้า งประกอบด้ว ยขั้ว ปอด ซึ่ง จะแตก แขนงออกเป็น หลอดเล็ก ๆ เรีย กว่า แขนงขั้ว ปอด ที่ป ลายของแขนงขัว ้ ปอดจะพองออกเป็น ถุง ลมเล็ก ๆ มากมาย สำา หรับ เป็น ที่แ ลกเปลี่ย น แก๊ส เรีย กว่า ถุง ลมปอดหน้า ที่ข อง ปอดคือ การนำา ก๊า ซ CO2 ออกจาก
  • 40. การหายใจของมนุษ ย์  การหายใจ เป็น การรับ เอาอากาศจาก ภายนอกผ่า นปากหรือ จมูก ลงสูป อด ่ เป็น การทำา งานร่ว มกัน ของกระดูก ซี่โ ครง และกะบัง ลม ดัง นี้      การหายใจเข้า  จะเกิด ขึ้น เมือ กล้า ม ่ เนือ ที่ย ึด ซี่โ ครงหดตัว ซึง จะทำา ให้ กระดูก ้ ่ ซีโ ครงเลือ นสูง ขึ้น ในขณะเดีย วกัน ่ ่ กะบัง ลมก็จ ะหดตัว และเลือ นตำ่า ลง จึง ทำา ให้ ่ ปริม าตรของช่อ งอกมีม ากขึ้น ( ช่อ งอก ขยายตัว ) ความดัน อากาศลดตำ่า ลง อากาศ จากภายนอกจะผ่า นเข้า สูป อด ่
  • 41.
  • 42. การแลกเปลี่ย นแก๊ส ทีถเข้า สู่ป อดจะไปอยู่ ่ ่อ ุง ลม    อากาศเมื ในถุง ลม ซึ่ง มีล ัก ษณะกลมคล้า ย ลูก องุ่น ซึ่ง ปอดแต่ล ะข้า งจะมีถ ุง ข้า งละ 150 ล้า นถุง แต่ล ะถุง มี ขนาดเส้น ผ่า นศูน ย์ก ลางไม่ถ ึง 0.1 มิล ลิเ มตร ถุง ลมทุก อัน จะมี หลอดเลือ ดฝอยมาห่อ หุ้ม ไว้ การ แลกเปลีย นแก๊ส ่ คาร์บ อนไดออกไซด์ ออกซิเ จน ไนโตรเจน และไอนำ้า ผ่า นเข้า
  • 43. เลือ ดจากหัว ใจมาสู่ป อด เป็น เลือ ดที่ม ีอ อกซิเ จนตำ่า คาร์บ อนไดออกไซด์ส ูง เมือ มา ่ สู่ถ ุง ลมจะมีก ารแลกเปลี่ย นแก๊ส โดยออกซิเ จนในถุง ลมจะแพร่ เข้า สู่เ ส้น เลือ ด ขณะเดีย วกัน คาร์บ อนไดออกไซด์ใ น เส้น เลือ ดจะแพร่เ ข้า สู่ถ ุง ลม
  • 44.
  • 45. การแลกเปลี่ย นแก๊ส ที่เน ตัว พาแก๊ส  เลือ ดจะเป็ ซลล์  ออกซิเ จนและสารอาหารไปสู่ เซลล์ท ั่ว ร่า งกายเมื่อ สารอาหาร และแก๊ส ออกซิเ จนเข้า สู่เ ซลล์จ ะ เกิด ปฏิก ิร ิย าระหว่า งสารอาหาร และแก๊ส ออกซิเ จน อาหารจะ ปล่อ ยพลัง งานออกมา กระบวนการนี้เ รีย กว่า กระบวนการหายใจ ปฏิก ิร ิย านี้
  • 46.
  • 47.
  • 48. แบ่ง ออกเป็น 2 ระบบ คือ  1. ระบบเปิด  เป็น ระบบทีเ ืืล อ ด ่ ื ไม่ไ ด้ไ หลไปตามเส้น เลือ ดตลอด เวลาแต่จ ะมีเ ลือ ดไหลไปตามช่อ ง ว่า งในลำา ตัว ทีเ รีย กว่า เฮโมซีล ่ (H aemocoel ) พบในสัต ว์ใ นไฟ ลัม มอลลัส กา ได้แ ก่ หอย ปลาหมึก และสัต ว์ใ นไฟลัม อาร์ โทรโพดา ได้แ ก่ ปู กุง ตะขาบ ้ และแมลง
  • 49. 2. ระบบปิด  เป็น ระบบที่เ ลือ ด ไหลไปตามเส้น เลือ ดผ่า น หัว ใจครบวงจร ระบบนี้ม ี เส้น เลือ ดฝอยเชื่อ มโยง ระหว่า งเส้น เลือ ดที่พ าเลือ ด ออกจากหัว ใจ กับ เส้น เลือ ดที่ พาเลือ ดเข้า สู่ห ัว ใจ พบในสัต ว์ ไฟลัม แอนิล ิด า เช่น ไสเดือ น
  • 51. อวัยวะสำาคัญของระบบ เลือดไหลเวียน ได้แก่ หัวใจ หลอด เลือดแดง และหลอด เลือดดำา
  • 52. ในร่า งกายมนุษ ย์ม ห ัว ใจทำา หน้า ทีส บ ฉีด ี ่ ู โลหิต ให้ไ หลเวีย นอยูใ นเส้น เลือ ด การ ่ สูบ ฉีด โลหิต ของหัว ใจ ทำา ให้เ กิด แรงดัน ให้เ ลือ ดไหลไปตามเส้น เลือ ดไปยัง ส่ว น ต่า งๆของร่า งกาย และไหลกลับ คืน สู่ หัว ใจ โดยหัว ใจของคนเราตั้ง อยู่ใ น ทรวงอกระหว่า งปอดทั้ง สองข้า งค่อ นมา ทาด้า นซ้า ยชิด ผนัง ทรวงอก แบ่ง ออก เป็น 4 ห้อ ง ห้อ งบนสองห้อ ง มีผ นัง บาง เรีย กว่า เอเทรีย ม ( atrium ) ส่ว นสอง ห้อ งล่า งมีข นาดใหญ่ก ว่า และผนัง หนา เรีย กว่า เวนทริเ คิล ( ventricle ) ระหว่า ง
  • 53. * * หัว ใจของคนเราประกอบไปด้ว ย กล้า มเนื้อ ทีม ิไ ด้อ ยู่ภ ายใต้อ ำา นาจ ่ บัง คับ ของสมอง * * * * หัว ใจของสัต ว์เ ลี้ย งลูก ด้ว ยนม มี 4 ห้อ ง ของสัต ว์ค รึง บกครึง นำ้า มี3 ห้อ ง ่ ่ ( ยกเว้น จระเข้ มี 4 ห้อ ง ) หัว ใจปลา มี 2 ห้อ ง หัว ใจของสัต ว์ป ีก มี 4 ห้อ ง **      ในร่า งกายของมนุษ ย์ ระบบการ หมุน เวีย นของเลือ ดประกอบด้ว ย หัว ใจเป็น อวัย วะสำา คัญ ทำา หน้า ทีส บ ่ ู ฉีด เลือ ดไปยัง ส่ว นต่า งๆของร่า งกาย โดยมีเ ส้น เลือ ดเป็น ท่อ ลำา เลีย งเลือ ด
  • 54. 1.  เลือ ด ( blood ) ในร่า งกายของคนเรามีเ ลือ ด อยู่ป ระมาณ 6,000 ลูก บาศก์ เซนติเ มตร เลือ ดประกอบไปด้ว ย ส่ว นที่เ ป็น ของเหลว คือ นำ้า เลือ ด ( plasma ) กับ ส่ว นที่เ ป็น ของแข็ง คือ เซลล์เ ม็ด เลือ ดแดง  เซลล์เ ม็ด เลือ ดขาว และ เกล็ด เลือ ด
  • 55. 1.1  ส่ว นที่เ ป็น ของเหลว  คือ นำ้า เลือ ดหรือ พลาสมา ประกอบด้ว ยนำ้า และสารต่า งๆ ซึ่ง ได้แ ก่ สารอาหารที่ถ ูก ย่อ ย แล้ว รวมทั้ง วิต ามิน  เกลือ แร่ ฮอร์โ มนและสารอื่น ๆที่ล ะลาย นำ้า ได้ สารเหล่า นี้จ ึง อยู่ใ นรูป สารละลาย มีป ระมาณ 50 % ของเลือ ดทั้ง หมด นำ้า เลือ ดทำา หน้า ที่ล ำา เลีย งอาหารที่ถ ูก ดูด
  • 56. 1.2  ส่ว นที่เ ป็น ของแข็ง  มีอ ยู่ ประมาณ 50% ของเลือ ดทั้ง หมด ประกอบด้ว ย        -  เซลล์เ ม็ด เลือ ดแดง   ใน ขณะที่ย ัง เจริญ เติบ โตไม่เ ต็ม ที่ จะอยู่ใ น ไขกระดูก และมีน ว เคลีย ส แต่ เมื่อ เจริญ ิ เติบ โตเต็ม ที่จ ะเข้า ไปอยู่ใ นกระแสเลือ ด แล้ว นิว เคลีย สจะหายไป เม็ด เลือ ดแดง ทำา หน้า ที่ข นส่ง แก๊ส ออกซิเ จน จากปอด ไปสู่เ ซลล์ท ั่ว ร่า งกายและขนส่ง แก๊ส คาร์บ อนไดออกไซด์ ซึ่ง เป็น ของเสีย ที่ เกิด จากการสลายอาหารจากเซลล์ม าสู่
  • 57. -  เซลล์เ ม็ด เลือ ดขาว  มีข นาด ใหญ่ก ว่า เซลล์เ ม็ด เลือ ดแดง ภายในมีน ิว เคลีย ส ทำา หน้า ที่ ทำา ลายเชื้อ โรคหรือ สิ่ง แปลกปลอม ที่เ ข้า สู่ร ่า งกาย -  เกล็ด เลือ ด  เป็น ชิ้น ส่ว นของ เซลล์ท ี่ม ีร ูป ร่า งเป็น แผ่น เล็ก ๆปนอยู่ ในนำ้า เลือ ด ไม่ม ีน ิว เคลีย ส มีห น้า ที่ ช่ว ยให้เ ลือ ดแข็ง ตัว เวลาเกิด บาด แผลเล็ก ๆเกล็ด เลือ ดจะทำา ให้
  • 58.
  • 59. เม็ด เลือ ดแดงมีส ่ว นประกอบ ส่ว นใหญ่เ ป็น โปรตีน และเหล็ก มีช ื่อ เรีย กว่า เฮโมโกลบิน ก๊า ซออกซิเ จน จะรวมตัว กับ เฮโมโกลบิน แล้ว ลำา เลีย งไปใช้ ยัง ส่ว นต่า ง ๆ ของร่า งกาย   เม็ด เลือ ดขาวซึ่ง ผลิต โดยม้า ม * จะทำา หน้า ที่ต ่อ สู้ก ับ เชื้อ โรคที่ จะเข้า สู่ร ่า งกาย   ส่ว นเกล็ด
  • 60. 2. เส้น เลือ ด ( blood vessels ) •  เส้น เลือ ดในร่า งกายคนแบ่ง ออกได้ 3 ประเภท คือ   - เส้น เลือ ดแดง ( artery ) คือ เส้น เลือ ดที่น ำา เลือ ดออกจากหัว ใจไป ยัง อวัย วะและส่ว นต่า งๆ ของ ร่า งกาย เลือ ดในเส้น เลือ ดแดงส่ว นมากเป็น เลือ ดดี นอกจากเส้น เลือ ดแดงที่ไ ปยัง ปอดที่เ ป็น เลือ ดเสีย เพื่อ นำา ไป ฟอกให้ บริส ุท ธิ์ • เส้น เลือ ดดำา ( vein )คือ เส้น เลือ ดที่น ำา เลือ ดเข้า สูห ัว ใจส่ว นมากเป็น เลือ ด ่
  • 61.  เส้น เลือ ดอาร์เ ทอรี เป็น เส้น เลือ ดที่น ำา เลือ ดออกจากหัว ใจ มี ขนาดต่า งๆกัน ขนาดใหญ่ค ือ เอออร์ต า มี เส้น ผ่า นศูน ย์ก ลางประมาณ 1 นิ้ว และขนาด เล็ก มีเ ส้น ผ่า นศูน ย์ก ลาประมาณ 0.2 มิล ลิเ มตร ไม่ม ีล ิ้น เส้น เลือ ดอาร์เ ทอรี ประกอบด้ว ยกล้า มเนื้อ และเนื้อ เยื่อ ที่ย ืด หยุ่น ได้ มีผ นัง หนา สามารถรับ แรงดัน เลือ ด ซึง เป็น แรงดัน ค่อ นข้า งสูง อัน เป็น ผลเนื่อ งมา จากการบีบ ตัว ของหัว ใจห้อ งล่า ซ้า ย ความ ดัน ของเลือ ดจะสูง มากในเส้น เลือ ดอาร์เ ทอรี ใกล้ห ัว ใจ คือ เส้น เลือ ดแดงใหญ่ท ี่ส ุด ที่เ รีย ก ว่า เอออร์ต า และค่อ ยๆลดลงตามลำา ดับ เมื่อ
  • 62. ผูใ หญ่อ ายุ 20 - 30 ปี มีค วามดัน เลือ ดปกติ ้ ประมาณ 120/80 มิล ลิเ มตรปรอท ตัว เลข ข้า งหน้า ( 120 )หมายถึง ความดัน โลหิต ขณะหัว ใจบีบ ตัว เรีย กว่า ความดัน ซิส โทลิก ( Systolie pressure ) ตัว เลขข้า งหลัง ( 80 ) หมายถึง ความดัน ดลหิต ของหัว ใจคลายตัว เรีย กว่า ความดัน ไดแอสโทลิก ( Diastolie pressure )ที่เ รีย กว่า การจับ ชีพ จร ซึ่ง ชีพ จร ( pluse ) หมายถึง อัต ราการเต้น ของ หัว ใจ จงหวะการยืด หยุ่น ของเส้น เลือ ดอาร์ เทอรีเ ป็น ไปตามจัง หวะการเต้น ของหัว ใจ
  • 63.
  • 64.
  • 65. 3. หัว ใจ ( heart ) หัว ใจจะทำา หน้า ที่ส บ ฉีด โลหิต ู ไปเลี้ย งส่ว นต่า งๆของร่า งกาย โดย จะรับ เลือ ดที่ม ีอ อกซิเ จนสูง จากปอด เข้า ทางหัว ใจห้อ งบนซ้า ยผ่า นต่อ มายัง หัว ใจห้อ งล่า งซ้า ย เพื่อ ส่ง ออกไปยัง อวัย วะต่า งๆขออง ร่า งกายและจะรับ เลือ ดที่ม ี ออกซิเ จนน้อ ยจากส่ว นต่า งๆของ ร่า งกายกลับ เข้า สูห ัว ใจทางหัว ใจ ่ ห้อ งบนขวา และผ่า นไปยัง หัว ใจ
  • 66. หรือ กล่า วได้ว ่า เลือ ดดำา ( เลือ ดที่ม แ ก๊ส ี ออกซิเ จนตำ่า )จากส่ว นต่า งๆ ของร่า งกาย ไหลเข้า หัว ใจทางหัว ใจห้อ งบนขวาโดย เลือ ดจากส่ว นบนของร่า งกายจะเข้า สูห ัว ใจ ่ ทางเส้น เลือ ดซุป เ รีย เวนาคาวาและเลือ ด ิ จากส่ว นล่า งของร่า งกายจะเข้า สูห ัว ใจห้อ ง ่ บนขวาทางเส้น เลือ ดอิน พีเ รีย เวนาคาวา จากนัน หัว ใจห้อ งบนขวาจะหดตัว ให้เ ลือ ด ้ ผ่า นลิ้น หัว ใจลงสูห ัว ใจห้อ งล่า งขวาแล้ว ่ หัว ใจห้อ งล่า งขวาจะบีบ ตัว ให้เ ลือ ดไป เข้า ไปในเส้น เลือ ดพัล โมนารีอ าร์เ ทอรีจ าก หัว ใจไปยัง ปอด เลือ ดดำา จะผ่า นเข้า ไปใน เส้น เลือ ดฝอยรอบๆถุง ลมปอด แล้ว จ่า ย
  • 67. หัว ใจ(H eart) ตั้ง อยู่ใ น ทรวงอกระหว่า งปอดทั้ง สอง ข้า งเอีย งไปทางซ้า ยของแนว กลางตัว ประกอบด้ว ยกล้า ม เนื้อ ที่แ ข็ง แรงภายในมี 4 ห้อ ง      - หัว ในห้อ งบนซ้า ย(L eft atrium)       มีห น้า ที่ รับ เลือ ดที่ ผ่า นการฟอกที่ป อด      - หัว ใจห้อ งบนขวา(Right atrium)      มีห น้า ที่ รับ เลือ ดที่ ร่า งกายใช้แ ล้ว      - หัว ใจห้อ งล่า งขวา(Right
  • 69.
  • 70. ระบบขับ ถ่า ย     กระบวนการต่า งๆทีเ กิด ขึ้น ใน ่ ร่า งกาย นอกจากจะก่อ ให้เ กิด ประโยชน์ห รือ ให้ผ ลที่ร ่า งกาย ต้อ งการแล้ว ยัง มีส ิ่ง ที่ร ่า งกายไม่ ต้อ งการ ซึ่ง รวมเรีย กว่า ของเสีย เกิด ขึ้น ตามมาอีก ด้ว ย ของเสีย ที่ ร่า งกายกำา จัด ออกมานั้น มีท ั้ง สารที่ เป็น พิษ ตอร่า งกาย และสารทีเ ป็น ่ ประโยชน์ต ่อ ร่า งกาย แต่ม ีป ริม าณ มากเกิน ความต้อ งการของร่า งกาย
  • 71. ของเสีย ที่เ ป็น ของแข็ง ร่า งกาย จะกำา จัด ออกทางทวารหนัก ใน รูป ของอุจ จาระ ส่ว นของเสีย ที่ เป็น แก๊ส ร่า งกายจะกำา จัด ออมา กับ ลมหายใจออก สำา หรับ ของ เสีย ที่เ ป็น ของเหลวร่า งกายมี กลไกในการกำา จัด อยู่ 2 ทาง คือ การกำา จัด ของเสีย ทางไต และ การกำา จัด ของเสีย ทาง
  • 72.
  • 73. การกำา จัด ของเสีย ทางไต       ของเสีย ทีเ กิด ขึ้น จาก ่ กระบวนการต่า งๆภายในเซลล์ จะถูก กำา จัด ออกจากเซลล์ โดย การแพร่เ ข้า สู่ห ลอดเลือ ด จาก นั้น เลือ ดจะลำา เลีย งของเสีย ต่า งๆ ยัง ไต เพื่อ ผ่า นกระบวนการ กำา จัด ของเสีย ออกจากเลือ ด ยาวจากกรวยไตไปจนถึง
  • 74. ไตเป็น อวัย วะที่ท ำา หน้า ที่ค ้า ยเครื่อ ง กรอง โดยจะกรองของเสีย ออกจาก เลือ ด มีล ก ษณะคล้า ยเมล็ด ถั่ว ดำา ั และจะมีอ ยู่ 2 ข้า ง โดยติด อยู่ท าง ด้า นหลัง ของช่อ งท้อ ง ขนาดโดย ประมาณของไต คือ กว้า ง 6 เซนติเ มตร และหนา 3 เซนติเ มตร เมื่อ ผ่า ไตออกเป็น 2 ซีก พบว่า ภายในไตประกอบด้ว ยหน่ว ยไต เล็ก ๆจำา นวนมาก มีล ก ษณะเป็น ท่อ ั
  • 75.
  • 76. การทำา งานของไต •      หลอดเลือ ดที่น ำา เลือ ดมายัง ไตเป็น หลอด เลือ ดที่อ อกจากหัว ใจ ซึ่ง จะลำา เลีย งทั้ง สารที่ม ี ประโยชน์แ ละของเสีย ที่ต ้อ งการกำา จัด ออก สาร ต่า งๆที่เ ลือ ดลำา เลีย งมาจะถูก ส่ง เข้า สูห น่ว ยไต ่ โดยผ่า นไปตามหลอดเลือ ดฝอย เพื่อ ให้ห น่ว ย ไตทำา หน้า ที่ก รองสารที่อ ยูใ นเลือ ดก่อ น ข้อ มูล ่ จากการทดลองพบว่า เซลล์เ ม็ด เลือ ดแดงและ สารจำา พวกโปรตีน บางชนิด เช่น เฮโมโกลบิน ไม่ส ามารถผ่า นเข้า สูห น่ว ยไตได้ สำา หรับ สาร ่ บางจำา พวก เช่น นำ้า ตาลกลูโ คส กรดอะมิโ น และของเสีย อืน ๆ จะผ่า นเข้า สูห น่ว ยไตได้แ ละ ่ ่ จะไหลเข้า ไปตามท่อ ของหน่ว ยไต
  • 77. •แร่ธ าตุแ ละสารบางชนิด ที่ม ี ประโยชน์ต ่อ ร่า งกายอยู่นั้น เมื่อ ผ่า นไปตามท่อ ของหน่ว ยไตจะถูก ผนัง ของหน่ว ยไตดูด ซึม กลับ คืน เข้า สูห ลอด ่ เลือ ดฝอยใหม่ ส่ว นของเสีย อื่น ๆนั้น ซึ่ง จะรวมเรีย กว่า นำ้า ปัส สาวะ จะถูก ส่ง ผ่า นไปตามหลอดไตและเข้า สูก ระเพาะ ่ ปัส สาวะต่อ ไป จากนั้น จึง ถูก ขับ ออก จากร่า งกายในรูป ของของเหลว คือ นำ้า ปัส สาวะนั่น เอง     โดยปกติน ำ้า ตาลกลูโ คสเป็น สารที่ม ี ประโยชน์ต ่อ ร่า งกายจะถูก ผนัง ของ
  • 78.
  • 79.
  • 80. การกำา จัด ของ เสีย ทางผิว หนัง  ของเสีย ที่ม ีส ถานะของเหลว      นอกจากจะถูก ขับ ออกจาก ร่า งกายในรูป นำ้า ปัส สาวะที่ผ ่า น ทาไตแล้ว ยัง มีข องเสีย ในสถานะ ของเหลวอีก ส่ว นหนึ่ง ถูก ขับ ออก จากร่า งกายในรูป ของเหงื่อ ซึ่ง ผ่า นทางผิว หนัง ผิว หนัง นอกจาก จะทำา หน้า ที่ก ำา จัด ของเสีย ออก จากร่า งกายในรูป ของเหงื่อ แล้ว ยัง มีส ่ว นระบายความร้อ นให้แ ก่
  • 81. เหงื่อ ที่ร ่า งกายขับ ออกมานั้น ประกอบไปด้ว ยนำ้า เป็น นส่ว น ใหญ่ และจะมีเ กลือ บางชนิด ถูก ขับ ปนออกมาด้ว ย จึง ทำา ให้ เหงื่อ มีร สเค็ม สำา หรับ เหงื่อ ได้ ถูก สร้า งขึ้น ที่บ ริเ วณของต่อ ม เหงื่อ ซึ่ง อยู่ใ ต้ผ ิว หนัง ทั่ว ร่า งกาย
  • 82. โครงสร้า ง      ภายในของต่อ ม เหงื่อ จะมีล ก ษณะ ั เป็น ท่อ ขดอยู่เ ป็น ก ลุ่ม ซึ่ง มีห ลอด เลือ ดฝอยมาหล่อ เลีย งโดยรอบ โดย ้ หลอดเลือ ดฝอย เหล่า นี้จ ะลำา เลีย ง เอาของเสีย ที่ ต้อ งการกำา จัด ออก
  • 83. ของเสีย ที่ถ ูก ลำา เลีย งมากับ เลือ ด เมื่อ มาถึง บริเ วณต่อ ม เหงื่อ แล้ว ของเสีย จะแพร่อ อก จากหลอดเลือ ดฝอยเข้า สู่ท ่อ ในต่อ เหงื่อ จากนั้น ของเสีย จะ ถูก ลำา เลีย งไปตามท่อ โดยจะ เปิด อยู่บ ริเ วณผิว หนัง ด้า นบน
  • 84.
  • 85. การกำา จัด ของเสีย ทาง ลำา ไส้ใ หญ่ หลัง จากการย่อ ยอาหาร     เสร็จ สิน ลง อาหารส่ว นที่ ้ เหลือ และส่ว นที่ร ่า งกายไม่ สามารถย่อ ยได้จ ะถูก กำา จัด ออกจากร่า งกายทาง ลำา ไส้ใ หญ่ (ทวารหนัก ) ใน รูป ที่ร วมเรีย กว่า อุจ จาระ       อาหารท้อ งผูก จะเกิด จากการที่ม อ ุจ จาระตกค้า ง ี อยูบ ริเ วณลำา ไส้ใ หญ่น าน ่ เกิน ไป ผนัง ของลำา ไส้ใ หญ่ ดูด ซึม เอานำ้า ที่ป ะปนอยู่ใ น อุจ จาระออกทำา ให้เ กิด
  • 86. บางรายอาจมีอ าการปวดท้อ ง หรือ ปวดหลัง ด้ว ย อาการต่า งๆ เหล่า นี้จ ะหายไป เมื่อ ถ่า ย อุจ จาระออกจากร่า งกาย ผู้ท ี่ม ี อาการท้อ งผูก นานๆอาจเป็น สาเหตุข องโรคริด สีด วงทวาร ได้  สาเหตุท ี่ท ำา ให้เ กิด อาการ ท้อ งผูก มีอ ยู่ห ลายประการ เช่น รับ ประทานอาหารที่ม ีก ากน้อ ย
  • 87.
  • 88. การกำา จัด ของเสีย •       ทางปอด ่ไ ด้น าน มนุษ ย์ส ามารถมีช ีว ิต อยู เป็น สัป ดาห์แ ม้จ ะไม่ไ ด้ร ับ อาหาร เลยและจะอยู่ไ ด้ห ลายวัน ใน สภาวะขาดนำ้า แต่เ มื่อ ใดทีข าด ่ อากาศ จะตายในเวลาไม่ก ี่น าที ออกซิเ จนเป็น แก๊ส ที่พ บทั่ว ไปใน บรรยากาศและจำา เป็น ต่อ เมตาบอ ลิซ ึม ของเซลล์ ซึ่ง เป็น กระบวน การสำา คัญ ในการเปลีย นอาหาร ่ ให้เ ป็น พลัง งาน การหายใจนำา แก๊ส ออกซิเ จนเข้า สู่ร ่า งกายและ
  • 89. การแลกเปลีย นแก๊ส นี้เ กิด ขึ้น ที่ถ ุง ่ ลมขนาดเล็ก จำา นวนมากมายที่อ ยู่ เกือ บเต็ม ปอด ออกซิเ จนทีเ ข้า มา ่ ในถุง ลมจะเข้า สูห ลอดเลือ ดฝอยที่ ่ อยู่ร อบๆแล้ว ถูก นำา ไปในกระแส เลือ ด ส่ง ไปให็เ ซลล์ต า งๆทั่ว ่ ร่า งกาย ในทำา นองเดีย วกัน คาร์บ อนไดออกไซด์จ ากเซลล์ก ็จ ะ ถูก ส่ง จากหลอดเลือ ดฝอยไปยัง ถุง ลมและปล่อ ยออกไปจากปอด
  • 90.
  • 91.
  • 92. สิ่ง มีช ีว ิต มีค วามสามารถใน การแสดงปฏิก ร ิย าต่อ การ ิ เปลี่ย นแปลงของสิ่ง แวดล้อ ม ความสามารถนี้ เรีย กว่า การตอบสนองต่อ สิ่ง เร้า ซึ่ง เป็น การประสาน งานกัน หรือ สัม พัน ธ์ก ัน ของ ระบบประสาท ในมนุษ ย์
  • 93.
  • 94. 1.  สมอง  ( brain )   สมองของคนเรามีน ำ้า หนัก ประมาณ 1.3 กิโ ลกรัม บรรจุอ ยูภ ายในกะโหลก ่ ศีร ษะ สมองประกอบด้ว ยเซลล์ป ระสาท นับ ล้า นๆเซลล์เ ชื่อ มต่อ กัน ทำา งาน ประสานกัน ทำา ให้ส ามารถสื่อ สารกัน ได้ ทั่ว ถึง ทุก เซลล์ จึง ทำา ให้ส มองทำา งาน ต่า งๆที่ส ำา คัญ ได้ม ากมายหลายอย่า ง สมองแบ่ง ออกเป็น 3 ส่ว น ได้แ ก่
  • 95. 1)  ซีร ีบ รัม  เป็นสมองส่วนที่ มีขนาดใหญ่ ด้านนอกมีรอย หยักทำาให้เกิดร่องมากมาย ทำา หน้าที่เป็นศูนย์รบความรู้สึก ั เช่น การได้ยิน การเห็น การรับ รส  การดมกลิ่น     2)  เซรีเ บลลัม  เป็นสมองที่ ทำาหน้าที่เป็นศูนย์ประสาน งานการเคลื่อนไหวของร่างกาย ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องและ
  • 96. 3)  เมดัล ลา ออบลองกาตา  เป็นส่วนของสมองที่อยู่ติดกับ ไขสันหลัง ทำาหน้าที่เป็นศูนย์ ควบคุมเกี่ยวกับการหายใจ  การ ย่อยอาหาร การเต้นของหัวใจ ความดันเลือด การไอ  การจาม  การสะอึก  และการอาเจียน
  • 97. ไขสัน หลัง (ไขสันหลัง เป็นส่วนต่อจากสมอง spinal  cord )  อยู่ภายในกระดูกสันหลังข้อแรกลง ไปถึงกระดูกบั้นเอว ไขสันหลัง มีหน้าที่ 3 ประการ คือ     1)  ทำาหน้าที่ส่งผ่านกระแส ประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกไป สู่สมอง     2)  ทำาหน้าที่ส่งผ่านกระแส ประสาทจากสมองไปสู่หน่วยปฏิบัติ
  • 98. ปฏิก ิร ย าอัต โนมัต ิ ิ (reflex) ปฏิก ิร ิย าอัต โนมัต ิห รือ รีเ ฟลกซ์ คือ การตอบสนองของร่า งกายโดยที่ไ ม่อ ยู่ ภายใต้อ ำา นาจจิต ใจ การตอบสนองสิ่ง เร้า นี้ต ้อ งอาศัย วงจรประสาทที่ม ีก าร ประสานกัน ของเซลประสาทตั้ง แต่ส อง เซลขึ้น ไป ซึ่ง เรีย กว่า วงจรรีเ ฟลกซ์ (reflex arc) วงจรรีเ ฟลกซ์เ ป็น ตัว อย่า ง การทำา งานของระบบประสาท ซึง มีว งจร ่ ประสาทไม่ซ ับ ซ้อ น มีก ารตอบสนอง รวดเร็ว วงจรรีเ ฟลกซ์ป ระกอบด้ว ยตัว รับ (receptor) ที่อ ยู่ต ามอวัย วะต่า ง ๆ
  • 99. สมองหรือ ไขสัน หลัง ทำา หน้า ที่ เป็น ศูน ย์ค วบคุม เส้น ประสาทสัง ่ การ (motor nerve) และอวัย วะ แสดงผล (effector organ) ตัว อย่า งการทำา งานแบบ รีเ ฟลกซ์ ได้แ ก่ การหายใจ การ จาม การดึง มือ หนี เมื่อ สัม ผัส กับ วัต ถุท ร ้อ น ปฏิก ิร ิย าอัต โนมัต ิม ี ี่ หลายชนิด ซึ่ง บางอย่า งต้อ ง อาศัย การฝึก ฝน หรือ ประสบการณ์ท ี่ซ ำ้า ๆ กัน เช่น
  • 100. 3.  เส้น ประสาท ( nerve )ยใยประสาท •      เส้น ประสาท ประกอบด้ว ( nerve fiber ) หลายอันมารวมกันอยู่ ใย ประสาทเป็นส่วนหนึ่งของเซลล์ประสาท ( neurone ) ใยประสาท คือส่วนของเซลล์ที่ ยืนออกมาจากตัวเซลล์เป็นแขนงเล็กๆ ใย ่ ประสาทที่นำากระแสประสาทเข้าสูตัวเซลล์ ่ เรียกว่า เดนไดรต์ ( dendrite ) ส่วนใย ประสาทที่นำากระแสประสาทออกจากตัว เซลล์ เรียกว่า แอกซอน ( axon ) เซลล์ ประสาทแต่ละเซลล์จะมีเดนไดรต์แยกออก
  • 101. ถ้า จำา แนกเซลล์ ประสาทตามการ ทำา งานแล้ว เซลล์ ประสาทที่ท ำา หน้า ที่ร ับ ความรู้ส ก จากอวัย วะ ึ ต่า งๆ เรีย กว่า เซลล์ ประสาทรับ ความรู้ส ก ( ึ sensory neurone ) อวัย วะที่ร ับ ความรู้ส ึก จากสิง กระตุ้น ภายนอก ่ ได้แ ก่ หู ตา จมูก ลิน้ และผิว หนัง ซึ่ง รับ ความรู้ส ก เกี่ย วกับ ึ เสีย ง ภาพ กลิ่น รส และ ความรู้ส ก ร้อ น ึ
  • 102. การทำา งานของระบบ ประสาท     การทำา งานของระบบ ประสาทของคนเรานั้น เป็น การทำา งานประสานกัน ระหว่า งสมอง ไขสัน หลัง และ เซลล์ป ระสาท
  • 103. ตืัวอย่างการทำางานของระบบ ประสาท •    สถานการณ์   ปลายนิ้ว ถูก นำ้า ร้อ น    การทำา งานของระบบประสาท  เป็น ดัง นี้     1.  ความร้อ นจะกระตุ้น หน่ว ยรับ ความร้อ นใต้ ผิว หนัง บริเ วณปลายนิว ้     2. กระแสความรู้ส ึก ร้อ นจะถูก ส่ง ขึ้น ไปตาม เซลล์ป ระสาทรับ ความรู้ส ึก ผ่า นไขสัน หลัง ไปสู่ ศูน ย์ป ระสาทรับ ความรู้ส ึก ร้อ นในสมอง     3. สมองรับ รู้ว ่า มีค วามร้อ นสัม ผัส ทีป ลายนิว ่ ้ มือ     4.  ศูน ย์ป ระสาทในสมองจะสั่ง การลงมาตาม เซลล์ป ระสาทสัง การผ่า นไขสัน หลัง ไปยัง หน่ว ย ่ ปฏิบ ัต ิง าน คือ กล้า มเนือ ที่โ คนแขน ้     5.  กล้า มเนือ รับ คำา สั่ง จะหดตัว ทำา ให้แ ขนพับ ้
  • 104. อวัย วะรับ สัม ผัส • ตา (eye)      ตาประกอบด้ว ย ลูก ตา (eyeball) แก้ว ตาหรือ เลนส์ต า (crystalling lens) เปลือ กตา (eye lids) ต่อ มนำ้า ตา (lacrimal gland) ส่ว นประกอบสำา คัญ ของตาคือ ลูก ตาซึ่ง จะมีม า นตาและรู ่ ม่า นตาช่ว ยปรับ ความเข้ม แสงเข้า สูต า ่ และอวัย วะที่ใ ช้ไ นการรับ แสงแล้ว แปร สัญ ญาณส่ง ต่อ ไปยัง สมองเพือ แปร ่
  • 105.
  • 106. หู (ear) •     หูร ับ ความรู้ส ก เกี่ย วกับ ได้ย ิน ึ เสีย งและการทรงตัว แบ่ง ออก 3 ส่ว น คือ     หูช ั้น นอก    มีใ บหู (pinna) ช่ว ยรับ เสีย ง รูห ูแ ละแก้ว หู (ear drum,tympanic membrane) ช่ว ยนำา เสีย งเข้า ไปและส่ง ต่อ ไปยัง หูช น กลาง ั้     หูช ั้น กลาง    มีก ระดูก 3 ชิ้น คือ กระดูก ค้อ น (malleus) ,ทั่ง (incus) และโกลน (tapes) ช่ว ยส่ง คลื่น เข้า ไป
  • 107.
  • 108. • จมูก (nose)     รับ ความรูส ึก เกี่ย วกับ กลิ่น ซึ่ง จะมีเ ซลล์ ้ รับ กลิ่น อยู่ท ผ นัง ด้า นบนของช่อ งจมูก และ ี่ ส่ง ต่อ ไปยัง สมอง •  ลิน (tongue) ้     เป็น อวัย วะสำา หรับ รับ รสมีต ัว รับ รสอยู่ท ี่ ปุ่ม รับ รส (taste bud) ฝัง อยู่บ นเยื่อ บุข องลิ้น ตรงปลายปุ่ม มีร ูเ ปิด ซึง อยู่ใ นสภาพ ่ สารละลาย สามารถเข้า ไปกระตุ้น เซลรับ รส (taste cell) ได้ ซึง เซลล์ร ับ รสจะส่ง ่ สัญ ญาณไปแปรที่ส มอง • ผิว หนัง เป็น อวัย วะรับ สัม ผัส ที่ม ีห น่ว ยรับ
  • 109.
  • 110. คือ นำ้า เหลือ ง หลอดหรือ ท่อ นำ้า เหลือ ง ต่อ มนำ้า เหลือ ง รวมทั้ง ม้า ม ต่อ ม ทอนซิล และไทมัส หน้า ที่ : กรองเลือ ด สร้า ง เม็ด เลือ ด ช่ว ยป้อ งกัน โรค และคืน โปรตีน กลับ สู่
  • 111. ระบบนำ้า เหลือ งเป็น ระบบ ลำา เลีย งสารต่า ง ๆ ให้ก ลับ เข้า สู่เ ส้น เลือ ด โดยเฉพาะ สารอาหารพวกกรดไขมัน ที่ ดูด ซึม จากลำา ไส้เ ล็ก ระบบ นำ้า เหลือ งจะไม่ม ีอ วัย วะ สำา หรับ สูบ ฉีด ไปยัง ส่ว นต่า ง ๆ ประกอบไปด้ว ย นำ้า เหลือ ง (L ymph ) ท่อ นำ้า เหลือ ง (L ymph vessel ) และ
  • 112. ก. นำ้า เหลือ ง ( Lymph ) ส่ว นประกอบของนำ้า เหลือ ง คล้า ยกับ ในเลือ ดแต่ไ ม่ม ีเ ม็ด เลือ ดแดง เป็น ของเหลวที่ซ ึม ผ่า นผนัง เส้น เลือ ดฝอยออกมา อยู่ร ะหว่า งเซลล์ห รือ รอบ ๆ เซลล์ เพื่อ หล่อ เลี้ย งเซลล์ ใน นำ้า เหลือ งจะมีโ ปรตีน โมเลกุล เล็ก เช่น อัล บูม ิน และสารที่ม ี
  • 113. ข. ท่อ นำ้า เหลือ ง ( Lymph vessel ) เป็น ท่อ ตัน มีอ ยู่ท ั่ว ร่า งกายมีข นาดต่า ง ๆ กัน มีล ัก ษณะคล้า ยเส้น เลือ ดเวน คือ มี ลิ้น กั้น ป้อ งกัน การไหลกลับ ของนำ้า เหลือ ง นำ้า เหลือ งไหลไปตามท่อ นำ้า เหลือ ง โดย อาศัย ปัจ จัย 3 ประการ คือ - การหดและคลายตัว ของกล้า มเนือ ที่จ ะ ้ ไปกดหรือ คลายท่อ นำ้า เหลือ ง - ความแตกต่า งระหว่า งความดัน ไฮโดรส เตติก ซึ่ง ท่อ นำ้า เหลือ งขนาดเล็ก มีม ากกว่า ท่อ นำ้า เหลือ งขนาดใหญ่
  • 114. ท่อ นำ้า เหลือ งขนาดใหญ่ม ี 2 ท่อ ที่ สำา คัญ คือ - ท่อ นำ้า เหลือ งทอราซิก (Thoracic duct ) เป็นท่อนำ้าเหลืองขนาดใหญ่ที่สด ทำาหน้าที่รับ ุ นำ้าเหลืองจากส่วนต่างๆของร่างกาย ยกเว้น ทรวงอกขวาแขนขวาและส่วนขวาของหัวกับ คอ เข้าเส้นเลือดเวน แล้วเข้าสู่เวียนาคาวาก่อน เข้าสู่หัวใจ อยู่ทางซ้ายของลำาตัว - ท่อ นำ้า เหลือ งทางด้า นขวาของลำา ตัว ( Right lymphatic duct ) รับนำ้าเหลืองจาก ทรวง อกขวาแขนขวา และส่วนขวาของหัวกับ คอเข้าเส้นเลือดเวน แล้วเข้าสู่เวียนาคาวา เข้าสู่
  • 115. ค. อวัย วะนำ้า เหลือ ง ( Lymph organ ) อวัย วะนำ้า เหลือ งเป็น ศูน ย์ก ลางในการ ผลิต เซลล์ท ี่ใ ช้ใ นการต่อ ต้า นเชือ โรคหรือ้ สิง แปลก ปลอมประกอบด้ว ย ต่อ มนำ้า ่ เหลือ ง ต่อ มทอนซิล ม้า ม ต่อ มไทมัส และ เนื้อ เยื่อ นำ้า เหลือ งที่อ ยู่ท ี่ล ำา ไส้
  • 116. ต่อ มนำ้า เหลือ ง ( Lymph node ) พบอยู่ร ะหว่า งทางเดิน ของท่อ นำ้า เหลือ งทั่ว ไปในร่า ง กายลัก ษณะเป็น รูป ไข่ กลม หรือ รี เส้น ผ่า นศูน ย์ก ลางประมาณ 1.5 มิล ลิเ มตร จะมีท ่อ นำ้า เหลือ งเข้า และท่อ นำ้า เหลือ งออกภายในเต็ม ไปด้ว ยเม็ด เลือ ดขาวชนิด โฟไซต์ ต่อ มนำ้า เหลือ งจะทำา หน้า ที่ก รองนำ้า เหลือ งให้ส ะอาดทำา ลาย แบคทีเ รีย และทำา ลายเม็ด เลือ ดขาวที่อ ยู่ ในวัย ชรา
  • 117. ต่อ มทอนซิล ( Thonsil gland ) เป็น กลุ่ม ของต่อ มนำ้า เหลือ งมีอ ยู่ 3 คูค ู่ ่ ที่ส ำา คัญ อยู่ รอบๆหลอดอาหาร ภายใน ต่อ มทอนซิล จะมีล ิม โฟไซต์ท ำา ลาย จุล ิน ทรีย ์ท ี่ผ า นมาในอากาศไม่ใ ห้เ ข้า สู่ ่ หลอดอาหารและ กล่อ งเสีย งถ้า ต่อ ม ทอนซิล ติด เชือ จะมีอ าการบวมขึ้น เรีย กว่า ้ ต่อ มทอนซิล อัก เสบ
  • 118. ม้า ม ( spleen ) เป็น อวัย วะนำ้า เหลือ งทีใ หญ่ท ส ุด มีเ ส้น เลือ ด ่ ี่ มาเลี้ย งมากมายไม่ม ท อ นำ้า เหลือ งเลย สามารถ ี ่ ยืด หดได้ นุม มีส ีม ว ง อยูใ กล้ๆ กับ กระเพาะอาหาร ่ ่ ่ ใต้ก ระบัง ลมด้า นซ้า ย รูป ร่า งคล้า ยเมล็ด ถัว ่ ภายในจะมีล ิม โฟไซต์อ ยูม ากมาย ม้า มมีห น้า ที่ ่ สร้า งเม็ด เลือ ดในระยะเอ็ม บริโ อในคนที่ค ลอด แล้ว ม้า มทำา หน้า ที่ 1. ทำา ลายเม็ด เลือ ดแดงทีห มดอายุแ ล้ว ่ 2. สร้า งเม็ด เลือ ดขาว พวกลิม โฟไซต์ และโมโน ไซต์ซ ึ่ง ทำา หน้า ทีป ้อ งกัน สิ่ง แปลกปลอมและเชื้อ ่ โรคทีเ ข้า ไปในกระแสเลือ ด ่ 3. สร้า งแอนติบ อดี
  • 119. ต่อ มไทมัส ( Thymus gland ) เป็น ต่อ มที่ม ข นาดใหญ่ต อนอายุน อ ย ี ้ และถ้า อายุม ากจะเล็ก ลงและฝ่อ ในที่ส ด ุ เป็น ต่อ มไร้ท ่อ อยูต รงทรวงอกรอบ ่ เส้น เลือ ดใหญ่ข องหัว ใจ ทำา หน้า ที่ส ร้า ง เซลล์เ ม็ด เลือ ดขาวชนิด ลิม โฟไซต์ T มีห น้า ที่ต ่อ ต้า นเชือ โรคและสารแปลก ้ ปลอมเข้า สูร ่า งกาย รวมทั้ง การต้า น ่ อวัย วะที่ป ลูก ถ่า ยจากผูอ ื่น ด้ว ย ้
  • 120. ภูม ิค ุ้ม กัน กลไกการทำา งานของภูม ิค ม กัน การ ุ้ ทำางานของภูมิคมกันเรียกรวมกันว่า ระบบ ุ้ ภูม ิค ม กัน (immune system) ในการทำางาน ุ้ แบ่งเป็น 2 ระบบ คือ อาศัย เซลล์โ ดยตรง และอาศัย เซลล์โ ดยอ้อ ม ซึ่งทำางานสัมพันธ์ เชือมโยงกัน เรียกว่ารวมกันเป็นกองกำาลังติด ่ อาวุธ และประจัญบาน ต่อต้านผู้บกรุก ไม่ให้ ุ รุกรานร่างกาย
  • 121. ภูม ค ุ้ม กัน ทีอ าศัย เซลล์โ ดยตรง คือ เมือมีเชื้อ ิ ่ ่ โรคเข้าสู่ร่างกาย และเม็ดเลือดขาวไปพบเข้า ก็จะจับ กินทำาลายเสีย เปรียบกับการประจันหน้าศัตรู และใช้ กำาลังเข้าหำ่าหั่นกัน ภูม ค ุ้ม กัน ทีอ าศัย เซลล์โ ดยอ้อ ม คือ เมือเชื้อโรค ิ ่ ่ เข้ามา เซลล์จะสร้างสารต่อต้าน สิ่งแปลกปลอมขึ้นมา เรียกว่า แอนติบ อดี (antibody) แอนติบอดีจะไป จับกับสิ่งแปลกปลอม เหมือนแม่กุญแจ กับลูกกุญแจ ทำาให้สงแปลกปลอมไม่สามารถแผลงฤทธิ์กับร่างกาย ิ่ ได้ การสร้างสารภูมิคมกันนั้น ในขั้นแรก ุ้ เมื่อมีเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเข้ามา จะมีเซลล์ ไปทำาความรู้จัก กับเชื้อโรค แล้วบรรจุข้อมูล ส่ง ไปให้เซลล์ที่มีหน้าที่สร้าง สารต่อต้าน หากเคย
  • 122. • สารภูม ิค ม กัน (แอนติบ อดี) แต่ละชนิดจะ ุ้ มีอายุไม่เท่ากัน บางชนิดก็อยู่ได้ไม่นาน บาง ชนิดก็อยู่ได้หลายปี บางชนิดก็อยู่ได้ตลอดชีวิต เช่น วัคซีนหัดเยอรมัน ที่คุ้มกันได้ตลอดชีวิต • เสริม สร้า งภูม ิค ม กัน ถึงแม้แต่ละคนจะมี ุ้ ภูมิคุ้มกันที่ได้รับถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ต่างกัน แต่ก็สามารถมีภูมิคมกันที่ดีได้ เหมือนกัน หาก ุ้ มัวแต่คิดว่า ปัจจัยทางพันธุกรรมแล้วไม่สู้โรค ก็ เหมือนเป็นการซำ้าเติม ทำาให้ร่างกาย อ่อนแอลง ไปอีก แต่ถ้าไม่ยอมแพ้ธรรมชาติ พยายามสร้าง เสริมบางอย่างก็อาจจะดีขึ้น หรือการแพ้บาง อย่างอาจจะหายไปเลยก็ได้
  • 123. การเสริม สร้า งภูม ิค ุ้ม กัน ก็ม ีห ลัก ง่า ย ๆ ดัง นี้ • อาหาร กินอาหารให้ครบทุกหมูและเพียงพอ และ ่ อาหารทีกนควรมีคุณภาพดี เช่น สด สะอาด ปนเปื้อน ่ ิ น้อยทีสุด ไม่กนอาหารหมักดอง อาหารทีทอดหรือย่าง ่ ิ ่ จนไหม้เกรียม • ออกกำา ลัง กาย การออกกำาลังกายจะทำาให้ระบบไหล เวียนเลือดดีขึ้น มีการแตก แขนงของหลอดเลือดใน เนือเยือต่าง ๆ มากขึ้น ทำาให้เม็ดเลือดขาวหรือ ้ ่ ภูมคุ้มกัน เข้าสูในเนือเยื่อต่าง ๆ ได้ง่าย เมือมีเชื้อโรค ิ ่ ้ ่ เข้ามาก็เข้าไปจัดการได้เร็ว • ทำา จิต ใจให้เ บิก บาน จิตใจมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ หลั่งสารเอ็น ดอร์ฟ น หรือสารสุข ในร่า งกาย สารนี้ ิ พอหลั่งออกมาทำาให้ระบบการทำางานของเซลล์ดขึ้น ี ในทางตรงข้ามหากจิตใจห่อเหี่ยว เศร้า เป็นทุกข์ ร่างกายจะหลั่งสารทุกข์ ทำาให้ระบบภูมคุ้มกันทำางานได้ ิ
  • 124. ระบบภูม ค ุ้ม กัน - Immune ิ System แบ่ง เป็น 2 ประเภทคือ ภูม ิค ม กัน แบบ ุ้ ไม่เ ฉพาะเจาะจงที่ม ีโ ดยธรรมชาติ ( Native immunity หรือ Natural resistance ) ไม่จ ำา เป็น ที่ต ้อ งถูก กระตุน ้ เป็น พิเ ศษ มีก ำา ลัง ทำา ลายไม่ส ง ป้อ งกัน ได้ ู กับ จุล ชีพ ที่ไ ม่ม อ ัน ตรายมากนัก และกำา จัด ี จุล ชีพ ได้ใ นปริม าณหนึง เปลี่ย นแปลงไป ่ ตามอายุ พัน ธุก รรม ระดับ ฮอร์โ มน และ สภาวะทางโภชนาการของแต่ล ะคน แบ่ง ย่อ ยตามกลไกการทำา งานได้ด ัง นี้
  • 125. การป้อ งกัน ทางกายวิภ าค ( Anatomical barrier ) ด่า นที่ส ำา คัญ คือ ผิว หนัง เชื้อ จะถูก กัน ให้อ ยู่ ้ บริเ วณด้า นนอกของร่า งกายบริเ วณผิว หนัง ถ้า อยูเ ช่น นัน ไปเรื่อ ย เชื้อ ก็จ ะตาย เพราะอยูใ น ่ ้ ่ สภาพทีแ ห้ง ขาดความชุ่ม ชื้น การหลุด ลอกออก ่ ของผิว หนัง จะช่ว ยกำา จัด เชือ ทีเ กาะอยูอ อกไป ้ ่ ่ เยือ บุผ ิว ( Mucous Membrane ) จะมีเ ยือ เมือ ก ่ ่ ช่ว ยดัก จับ จุล ิน ทรีย ไ ว้ และลำา เลีย งต่อ ขึ้น ไปทาง ์ หลอดลม หรือ โพรงจมูก โดยอาศัย การทำา งาน ของขนเล็ก ( Cilia ) บริเ วณทางเดิน หายใจ ทำา งานคล้า ยไม้ก วาด ทำา ให้เ ชื้อ มีก ารเคลื่อ นที่ ไปในทางเดีย วกัน ในอัต ราความเร็ว ประมาณ 10-20 มม./นาที ต่อ มาจะเกิด อาการไอจาม หรือ ขับ เป็น เสมหะ ทำา ให้เ ชื้อ หลุด ออกไป หรือ ไม่ก ็ ถูก กลืน ลงไปกระเพาะอาหาร และขับ ออกกับ อุจ จาระ การปัส สาวะ ความแรงของการปัส สาวะ
  • 126. สารเคมีใ นร่า งกาย ( Chemical Factorมไขมัน ได้แ ก่ Lactic สารทีข ับ ออกมาจากต่อ ่ ) acid, Caproic acid, Caprylic acid มีฤ ทธิ์ต ่อ ต้า น แบคทีเ รีย กรดไขมัน บางชนิด ป้อ งกัน เชือ ราได้ ( ้ ยกเว้น เชื้อ ราและแบคทีเ รีย บางชนิด ทีก รดไข ่ มัน บางชนิด ช่ว ยกระตุ้น การเจริญ เติบ โตของ เชื้อ ) ความเป็น กรดในช่อ งคลอด ทำา ให้ไ ม่ เหมาะต่อ การเจริญ เติบ โตของเชื้อ จุล ิน ทรีย ท ี่ ์ เป็น โทษ แต่เ หมาะกับ จุล ิน ทรีย ์ท ม ป ระโยชน์ ี่ ี ความเป็น กรด - ด่า ง ของช่อ งปาก และกระเพาะ อาหาร กล่า วคือ นำ้า ลายมีฤ ทธิ์เ ป็น ด่า ง และกรด ในกระเพาะอาหาร จะช่ว ยกรองเชือ จุล ิน ทรีย ไ ด้ ้ ์ ส่ว นหนึ่ง Normal Flora หมายถึง เชื้อ จุล ิน ทรีย ์ท ี่ อาศัย อยูก ับ ร่า งกายตามปกติซ ง ไม่ก อ โรค จะ ่ ึ่ ่ ช่ว ยควบคุม ปริม าณซึ่ง กัน และกัน ไม่ใ ห้ม ก าร ี
  • 127. การสะกดกลืน กิน ( Phagocytosis ) • โดย เม็ด เลือ ดขาว จะทำา หน้า ที่จ ับ เชือ ้ จุล ิน ทรีย ์ก ิน เมื่อ กิน จนเต็ม ที่แ ล้ว ก็จ ะย่อ ย สลายตัว เองและเชือ จุล ิน ทรีย ์ใ ห้ต ายไป ้ พร้อ มๆกัน กลายเป็น หนอง
  • 128. ระบบคอมพลีเ มนต์ ( Complement System ) • เป็น ระบบที่ซ ับ ซ้อ นมาก เป็น กลุม ของสาร ่ โปรตีน ในนำ้า เลือ ดมากกว่า 20 ชนิด มีผ ล ทำา ให้เ ซลล์ต าย แตกสลาย
  • 129. อิน เตอร์เ ฟอรอน ( Interferon ) • เป็น กลุ่ม ของโปรตีน เช่น เดีย วกัน มีค วาม สำา คัญ ในการขัด ขวางการแบ่ง ตัว ของ ไวรัส จัด เป็น สารที่ม อ นาคตทางการ ี แพทย์ม ากในการรัก ษาโรคติด เชือ ไวรัส้ และมะเร็ง แต่ย ัง ต้อ งค้น คว้า อีก นาน เพื่อ ลดผลข้า งเคีย งในการนำา มาใช้ท างยา
  • 130. ภูม ิค ุ้ม กัน แบบเฉพาะเจาะจง ( Specific Acquired Immunity ) • มีอ ำา นาจทำา ลายสูง และเฉพาะเจาะจงกับ เชือ จุล ิน ทรีย ์แ ต่ล ะชนิด ตัว อย่า งที่เ ห็น ได้ ้ ชัด เจนคือ การฉีด วัค ซีน ซึ่ง จะมีว ัค ซีน ของแต่ล ะโรค วัค ซีน จะไปกระตุน ให้เ กิด้ การสร้า ง Antibody ต่อ โรคนัน ๆ และจะ ้ ถูก จดจำา ไปตลอดชีว ิต เมือ ร่า งกายได้ร ับ ่ เชือ ชนิด นัน ๆอีก Antibody จะถูก สร้า งขึ้น ้ ้ มาอย่า งมากมายเพื่อ ทำา ลายเชือ จุล ิน ทรีย ์ ้ ชนิด นัน อย่า งรวดเร็ว การเกิด ภูม ิค ม กัน ้ ุ้ ชนิด นี้ อาศัย เซลล์เ ม็ด เลือ ดขาวที่เ รีย กว่า
  • 131. โรคที่เ กีย วข้อ งกับ ระบบ ่ ภูม ิค ุ้ม กัน โรคภูม ต ้า นทานเนือ เยื่อ ตนเอง ิ ้ ( Autoimmune disease ) มีโ รคประเภทนี้ มากมาย แต่ท ี่เ ป็น ที่ร ู้จ ัก กัน มากคือ SLE ( Systemic Lupus Erythematosus Rheumatoid arthritis Psoriasis โรคภูม ิแ พ้ คือ ภาวะบกพร่อ งของภูม ิ ต้า นทาน ( Immunodeficiency Disease)