SlideShare a Scribd company logo
1 of 87
Download to read offline
แรง มวล
และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง
เรียบเรียงโดย ครูธงชัย ควรคนึง
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
สาระสาคัญ
 เมื่อมีแรงลัพธ์ที่ไม่เท่ากับศูนย์มากระทาต่อวัตถุจะทาให้วัตถุเปลี่ยน
สภาพการเคลื่อนที่
 เซอร์ ไอแซก นิวตัน ได้อธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุโดยเสนอเป็นกฎ
การเคลื่อนที่ไว้ 3 ข้อ
 แรงดึงดูดระหว่างมวล ขึ้นอยู่กับขนาดของมวลทั้งสอง
และระยะห่างระหว่างมวลคู่นั้น
 แรงเสียดทานเป็นแรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ
2
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล & น้าหนัก
 วัตถุทุกชนิดมีลักษณะประจาตัวอย่างหนึ่ง คือ มีสมบัติต้านต่อการ
เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ เราเรียกสมบัตินั้นว่าความเฉื่อย และปริมาณ
ที่บอกว่าวัตถุใดมีความเฉื่อยมากหรือน้อยคือ มวล
 น้าหนักของวัตถุ คือ ขนาดของแรงเนื่องจากความโน้มถ่วงกระทาต่อ
วัตถุมวล m gmw


3
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
อย่าสับสนนะ…
มวล และ น้าหนัก เป็นปริมาณฟิสิกส์ต่างชนิดกัน
มวล (m) จะเท่าเดิมเสมอ ไม่ว่าวัตถุจะอยู่ที่ใดก็ตาม
เป็นปริมาณสเกลลาร์ มีหน่วย kg
น้าหนัก คือ แรงดึงดูดหรือแรงโน้มถ่วง ที่ดาวกระทาต่อวัตถุ
มีค่าเปลี่ยนแปลงขึ้นกับมวลของดาวและตาแหน่งที่ห่างจากศูนย์กลาง
ดาว เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วย นิวตัน
 W

4
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล น้าหนัก ความหนาแน่น ฉบับการ์ตูน ANIMATION
5
โรงเรียนวัดเขียนเขต
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล น้าหนัก ความหนาแน่น ฉบับการ์ตูน ANIMATION
6
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
วิชาตัวเบา สะท้านยุทธภพ มีจริงไหม ทาได้หรือ ?
7
สุดยอด…เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรงลัพธ์(RESULTANT FORCE)
หมายถึง
ผลรวมของแรงหลายแรงที่กระทาต่อวัตถุเดียวกันเสมือนกับมี
แรงเพียงแรงเดียวกระทาต่อวัตถุนั้น
2F

1F

8
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการแตกแรง

sinFFy


cosFFx


9
F

ใกล้ cos
ไกล sin
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการรวมแรง
cos
21
22
2
2
1
2 FFFFF 
cos2 21
2
2
2
1 FFFFF 



cos
sin
tan
21
2
FF
F



 10
1F

2F

F

2F

1F

sin2F
cos2F
2F

1F


ขนาด
ทิศทาง
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
การหาขนาดของแรงลัพธ์
 FFFFR

...321
  yyxx FRFR ;
22
yx RRR 
F2x
F2y
F1x
F1y
y
x
F2
F1
11
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
NF 201 

NF 102 

NF 63 

NF 64 

NF 10

12
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
NF 131 

NF 102 

NF 103 

NF 64 

NF 5

3N
4N
13
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
1. จงหาแรงองค์ประกอบตามแนวแกน x และแกน y ของแรงแต่ละแรง
จากนั้นหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์
x
F2 = 300 N
F1 = 200 N
30o45o
y
14
แบบฝึกหัดที่ 1
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
15
2. แรง F1 และ F2 มีขนาด 20 นิวตัน ดึงเรือให้เคลื่อนที่ไปตามน้า แรงลัพธ์
ของ F1 และ F2 เป็นเท่าใด
60
60
1F

2F
วิธีทำ
FX = 20 cos 60 + 20 cos 60
= 20 + 20
= 10 + 10
= 20 N






2
1






2
1
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
4. (En 42/1) เมื่อแรงสองแรงทามุมกันค่าต่าง ๆ ผลรวมของแรงมีค่าต่าสุด
2 นิวตัน และมีค่าสูงสุด 14 นิวตัน ผลรวมของแรงทั้งสองเมื่อกระทา
ตั้งฉากกันจะมีค่าเท่าใด
16
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 Sir Isaac Newton
นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ
ค้นพบธรรมชาติของการเคลื่อนที่
เมื่อ ประมาณ 300 กว่าปีที่แล้ว
 กฎแรงโน้มถ่วง เมื่อปี 1666
 กฎการเคลื่อนที่ เมื่อปี 1686
17
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1
“ วัตถุจะคงสภาพอยู่นิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวในแนวตรง นอกจากจะ
มีแรงลัพธ์ ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทาต่อวัตถุนั้น ”
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน ใช้กับกรอบอ้างอิงเฉื่อย (ความเร่งเป็นศูนย์)
เท่านั้น
 วัตถุที่หยุดนิ่ง เช่น หนังสือ ที่วำงไว้เฉยๆ จะไม่มีกำรเปลี่ยนแปลงถ้ำไม่มีอะไรมำ
กระทำต่อมัน
 รถที่เคลื่อนที่ด้วยควำมเร็ว 40 กิโลเมตร/ชั่วโมง จะยังคงเคลื่อนที่ด้วยควำมเร็วเท่ำ
เดิม จนกว่ำเรำจะเหยียบเบรค หรือ เหยียบคันเร่ง
 กำรเหยียบเบรค หรือ เหยียบคันเร่งเป็นกำรออกแรงกระทำต่อรถ
F= 0
กฎของความเฉื่อย
18
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
mg
N N
N
การเคลื่อนที่ของแผ่นโลหะฉากบนรางของ air track
F= 0กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน
19
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ความเฉื่อย & ความตาย!
20
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรงดีด
เมื่อใช้แรงดีดแผ่นกระดาษเหรียญจะเคลื่อนที่
อย่างไร
แก้วน้า
แผ่นกระดาษ
เหรียญ
คิดเล่น ๆ
21
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
N
mgแรงดีด
22
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
1. มวลของป้ ายเท่ากับ 50 kg หากต้องการแขวนป้ ายนี้โดยใช้เส้นลวด
สองเส้นยึดติดกันดังรูป ลวดแต่ละเส้นจะต้องสามารถรับแรงกระทา
ได้อย่างน้อยที่สุดเท่าใด
60 30
เกลียดฟิสิกส์จัง…
23
แบบฝึกหัดที่ 2
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
2. วัตถุหนัก 40 N เมื่อวัตถุอยู่ในสภาพสมดุลจงหา แรงT2
24
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3. จงหาแรงตึงในเส้นเชือกแต่ละเส้น เมื่อวัตถุที่แขวนอยู่มีมวล 10 กิโลกรัม
25
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
“ถ้าผลรวมของแรงภายนอก(แรงลัพท์)ไม่เท่ากับศูนย์ วัตถุจะเคลื่อนที่
ด้วยความเร่ง โดยความเร่งมีทิศเดียวกับทิศแรงลัพธ์และมีขนาดเป็น
ปฏิภาคผกผันกับมวล”
amF


อย่าลืม ความเร่ง มีทิศเดียวกับทิศแรงลัพธ์เสมอ แต่แนวการเคลื่อนที่มี
ทิศใดก็ได้
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2
F

m
a

26
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ที่มาของกฎข้อที่ 2
27
เรียบเรียงโดย : ครูธงชัย ควรคนึง
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
1. รถมีมวล 1000 กิโลกรัม เมื่อเขาดันรถ รถมีความเร่ง 0.05 เมตร/วินาที2
เขาออกแรงขนาดกี่นิวตัน
ง่ายจัด…
28
แบบฝึกหัดที่ 3
2. ลูกบอลมีมวล 0.3 kg ถูกตีไปบนพื้นน้าแข็งด้วยแรงสองแรงดังรูป จงหา
ความเร่งของลูกบอลหลังจากที่มันถูกตี
x
y
53
NF 0.51 

NF 0.82 

37
29
แรงที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาโจทย์เกี่ยวกับกฎของนิวตัน
แรงที่สาคัญที่จะพบในการแก้ปัญหาโจทย์มีอยู่ 4 แรงคือ
1. แรงโน้มถ่วง (Gravitational force)
2. แรงตั้งฉาก (Normal force)
3. แรงตึง (Tension force)
4. แรงเสียดทาน (Friction force)
30
แรงโน้มถ่วง
M
พื้นดิน
m
gF m
gF
พื้นดิน
31
แรงตั้งฉาก (NORMAL FORCE)
พื้นดินm
gF
m
gF
พื้นดิน
N
N
ผนัง
mN
F
พื้นดิน
32
โรงเรียนวัดเขียนเขต
แรงตึง (TENSION FORCE)
เป็นแรงที่เกิดขึ้นในเส้นเอ็นหรือเส้นเชือก โดยที่
1. ขนาดของแรงจะเท่ากันตลอดทั้งเส้น
2. ทิศทางของแรงจะไปตามเส้นเชือก และมีทิศออกจากวัตถุที่ถูกแรงกระทาเสมอ
M
m
mg
Mg
T
T
33
แรงเสียดทาน
วัตถุเคลื่อนที่บนพื้นผิวที่ไม่มีความเรียบ วัตถุจะถูกต้านทาน ส่งผลให้เกิด
ความเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการเคลื่อนที่อันเนื่องมาจากปฏิกิริยา
ระหว่างวัตถุกับสิ่งแวดล้อมที่วัตถุกาลังเคลื่อนที่อยู่นั้น
เราเรียกสิ่งที่ต้านทานการเคลื่อนที่ของวัตถุเช่นนี้ว่าแรงเสียดทาน
ผิวเรียบผิวขรุขระ
เกิดแรงเสียดทำนน้อยเกิดแรงเสียดทำนมำก
34
แรงเสียดทานสถิตย์และแรงเสียดทานจลน์
แรงเสียดทานสถิตย์ (fs)เป็นแรงเสียด
ทำนที่เกิดขึ้นเมื่อมวล M อยู่นิ่ง มีทิศทำง
ตรงกันข้ำมกับแรง F ที่มำกระทำ
แรงเสียดทานจลน์ (fk) เป็นแรงเสียด
ทำนที่เกิดขึ้นเมื่อมวล M กำลังเคลื่อนที่
มีทิศทำงตรงกันข้ำมกับแรง F
ที่มำกระทำ
35
ขนาดของแรงเสียดทานสถิตย์และแรงเสียดทานจลน์
จากการทดลองพบว่า f N
ดังนั้น
แรงเสียดทานสถิตย์
s sf N
เมื่อ s คือสัมประสิทธิ์
ของแรงเสียดทานสถิตย์
แรงเสียดทานจลน์
k kf N
เมื่อ k คือสัมประสิทธิ์
ของแรงเสียดทานจลน์
36
สังเกต… โดยทั่วไปแล้ว s > k
จะเห็นว่ำ fs = F < sN
ในขณะที่มวล M อยู่นิ่ง
และ fs = F = sN ในขณะ
ที่มวล M เริ่มเคลื่อนที่
ส่วนfk = kN ตลอดเวลำ
37
ลองเล่นดู…
38
39
ถ้าโลกนี้ไม่มีแรงเสียดทาน หรือมีแรงเสียดทานน้อยจะดีไหม
ไปดู... Click.
1. ถ้าแรง F ขนาด 20 นิวตัน ทามุม 600 กับแนวราบ จงหาความเร่งของกล่อง
กาหนดให้กล่องมวล 5 กิโลกรัม ,  = 0.1
600
40
แบบฝึกหัดที่ 4
2. จากรูปวัตถุ 20 กิโลกรัม และ 10 กิโลกรัม วางติดกันบนพื้นที่ไม่มี
แรงเสียดทาน ให้หา แรง P และ Q ในรูปภาพ
41
3. (EN 41/2) แท่งไม้มวล 5 , 3 และ2 กิโลกรัม วางติดกันบนพื้นเกลี้ยง
ถ้าออกแรงผลัก 10 นิวตัน ดังรูป จงหาขนาดของแรงที่แท่งไม้
2 กิโลกรัม กระทาต่อแท่งไม้ 3 กิโลกรัม
42
4. มวล 3 ชิ้น วางอยู่บนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน และถูกดึงด้วยแรง
T3 = 30 N อยากทราบว่า T2 / T1 มีค่าเท่าใด
43
5. ถ้า T1 = 4 นิวตัน และพื้นไม่มีความเสียดทาน ถ้าต้องการให้วัตถุทั้งสาม
เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 2 เมตรต่อวินาที 2 แรง P ต้องมีขนาดกี่นิวตัน
44
6. ลิฟต์มวล 200 กิโลกรัม เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง 2.2 เมตร/วินาที 2 ถ้า
ลวดที่แขวนลิฟต์นี้ทนแรงดึงได้สูงสุด7,440 นิวตัน ลิฟต์จะบรรทุกคน
ได้มากที่สุดกี่คน โดย 1 คนมีมวลเฉลี่ย 54 กิโลกรัม
45
7. วัตถุมวล5.0 และ 10.0 กิโลกรัม ผูกติดกันด้วยเชือกเบา วางอยู่บนพื้นราบ
ที่ไม่มีความฝืดให้แรง F ซึ่งมีค่าคงตัวกระทาต่อวัตถุทั้งสองอยู่นาน
15 วินาที จนความเร็วของวัตถุเปลี่ยนไป 40 เมตร/วินาที ให้หาค่าแรง F
และแรงที่เชือกดึงมวล 5 กิโลกรัม
46
8. ลูกปืนมวล 40.0 กรัม ถูกยิงจากลากล้องปืนด้วยอัตราเร็ว 300 เมตร/วินาที
ทะลุแผ่นไม้หนา 4.0 เซนติเมตร ทาให้อัตราเร็วของลูกปืนขณะออกจากแผ่น
ไม้อีกด้านหนึ่งเท่ากับ 100 เมตร/วินาทีให้หาขนาดของแรงเฉลี่ยที่แผ่นไม้
กระทาต่อลูกปืน ถ้าลูกปืนเคลื่อนที่เข้าไปในแผ่นไม้จากซ้ายไปขวา
47
9. TWO BLOCKS, X AND Y, OF MASSES M AND 2M RESPECTIVELY,
RE ACCELERATED ALONG A SMOOTH HORIZONTAL SURFACE BY A
FORCE F APPLIED TO BLOCK X, AS SHOW IN DIAGRAM. WHAT IS THE
MAGNITUDE OF THE FORCE EXERTED BY BLOCK Y ON BLOCK X
DURING THIS ACCELERATION?
48
10. จากรูป จงหามุม Θ ที่ทาให้วัตถุเริ่มไถลลง
49
11. SUPPOSE, AS SHOWN IN FIGURE, THAT A 100 KG BOX IS
PULLED BY 400 N FORCES AT AN ANGLE OF 30O TO THE
HORIZONTAL. THE COEFFICIENT OF KINETIC FRICTION IS
0.5 FIND THE ACCELERATION OF THE BOX.
50
12. ชายคนหนึ่งมีมวล 60 KG เมื่อยืนอยู่บนเครื่องชั่งที่วางอยู่นิ่ง ถ้ายืนอยู่บน
เครื่องชั่งที่เคลื่อนที่บนพื้นเอียง ดังรูป จงหาว่าเครื่องชั่งอ่านค่าได้เท่าใด
51
13. จงแรง F ที่ผลักให้มวล M2 เคลื่อนที่ โดยที่มวล M1 อยู่นิ่งบนมวล M2
52
14. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยู่ในลิฟท์ จงหาแรงที่พื้นลิฟท์กระทา
ต่อชายคนนั้นเมื่อลิฟท์เริ่มเคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง 1.2 M/S2
53
15. (EN 27) นายแดงยืนอยู่บนตาชั่งสปริงในลิฟท์ ถ้าลิฟท์อยู่นิ่ง ๆ นายแดง
อ่านน้าหนักตัวเองได้ 56 กิโลกรัม ถ้าลิฟท์เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง
2 M/S2 นายแดงจะอ่านน้าหนัก ตัวเองจากตาชั่งนั้นได้กี่กิโลกรัม
54
16. นักเรียนคนหนึ่งมวล 50 ยืนอยู่บนตาชั่งในลิฟท์ที่กาลังเคลื่อนที่ขึ้น
ด้วยความเร่ง 1 M/S2 ในขณะเดียวกันมือของเขาก็ดึงเชือกที่แขวนอยู่กับ
เพดานลิฟท์ ถ้าเชือกมีความตึง 150 นิวตัน เข็มของตาชั่งสปริงจะชี้ที่
กี่กิโลกรัม
kg
55
17. ลิฟท์ตัวหนึ่งมีมวล500 กิโลกรัม เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่งสูงสุดได้
เพียง 2 M/S2 หากแรงดึงสายเคเบิลสูงสุดที่มีได้มีค่า 8400 นิวตัน
จงหาว่าลิฟท์นี้สามารถบรรทุกสัมภาระได้มากที่สุดกี่กิโลกรัม
56
18. ยอดรักหนัก 65 กิโลกรัม แบกกลองหนัก 20 กิโลกรัม ยืนอยู่ในลิฟต์ที่กาลัง
เคลื่อนที่ลงถ้าเขาต้องออกแรง แบกกลอง 160 นิวตัน จงหาอัตราเร่งของ
ลิฟต์ว่ามีค่ากี่เมตร/วินาที2 และแรงที่พื้นลิฟต์กระทาต่อเท้าของยอดรัก
มีค่ากี่นิวตัน
57
19. ชายคนหนึ่งมีมวล 60 กิโลกรัม อยู่บนชิงช้าที่แขวนด้วยเชือกเบาซึ่งคล้อง
ผ่านรอกเบาและหมุนได้คล่องดังรูป เขาค่อยๆ ดึงปลายเชือกเพื่อให้
ตัวเขาเองค่อย ๆ ขยับสูงขึ้น ด้วยความเร่ง 2 เมตร/วินาที2 เขาต้องออก
แรงกี่นิวตัน
58
20. วัตถุมวล 3 และ 2 ผูกติดกันด้วยเชือก ดังรูป วัตถุทั้งสองถูก
ดึงขึ้นด้วยเชือกอีกเส้นด้วยความเร่ง 2 M/S2 ในแนวดิ่ง แรงดึงเชือก
ทั้งสองมีค่าเท่าใด
kg kg
59
21. จากรูป M1 , M2 มวล 2 และ 0.5 อยู่บนพื้นเกลี้ยงจงหา
1. ระบบจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่าใด
2. เชือกจะมีแรงดึงเชือกเท่าใด
3. ระบบจะมีความเร็วสูงสุดเท่าใด
kg kg
60
22. จากรูปวัตถุ A , B และ C มีมวล 3 , 5 และ 2 กิโลกรัม ตามลาดับ ถ้า
ถือว่าทุกผิวสัมผัสไม่มีความฝืด จงหา
1. ความเร่งของวัตถุทั้งสาม มีค่ากี่เมตร/วินาที2
2. แรงตึงเชือกที่ผูกระหว่างวัตถุ A กับวัตถุ B มีค่ากี่นิวตัน
3. แรงตึงเชือกที่ผูกระหว่างวัตถุ B กับวัตถุ C มีค่ากี่นิวตัน
61
23. วัตถุ A และ B มีมวล 0.6 และ 0.3 กิโลกรัม ตามลาดับวางติดกัน
บนพื้นราบ ถ้าออกแรงผลัก F เท่ากับ 15 นิวตันดังรูป สัมประสิทธิ์
ความเสียดทานระหว่างวัตถุทั้งสองกับพื้นมีค่า จงหา
1. วัตถุทั้งสองจะเคลื่อนที่ไปด้วยความเร่งเท่าใด
2. แรงกระทาระหว่างวัตถุ A และ B มีค่ากี่นิวตัน
3
2
62
24. วัตถุ 15 √2 กิโลกรัม วางบนระนาบเอียงฝืดทามุม45 องศากับแนวราบ
ออกแรง F ดึงวัตถุขนานกับระนาบเอียง ถ้าสัมประสิทธิ์ของความ
เสียดทานสถิตมีค่า 0.5 จงหา
1. แรง F ที่พอดี ทาให้วัตถุขยับขึ้น
2. แรง F ที่พอดีทาให้วัตถุขยับลง
3. แรง F ที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง5√2 เมตร/วินาที2
63
25. จากรูป พื้นเอียงและพื้นราบมีสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานเท่ากับ
 ปรากฏว่ามวล 40 กิโลกรัม เคลื่อนที่ลงตามพื้นเอียงด้วยอัตราเร็ว
คงที่ จงหาค่า 
64
65
26. ถ้าสมมติว่ามวลของรอก เชือกเบามาก และทุกจุดสัมผัสกันในรูปไม่มี
แรงเสียดทาน จากรูปค่าที่อ่านได้จากเครื่องชั่งสปริงในหน่วยนิวตันเป็น
เท่าใดบ้าง(มวลทุกก้อน 5.00 kg)
66
27. วัตถุมวล M 10 kg แขวนด้วยเชือกเบาพันรอกที่เบามากดังรูปถ้าออกแรง
ดึง F จงหา
1. แรงตึงเชือกแต่ละส่วนของเชือก T1 ,T2 ,T3 ,T4 และ T5
2. ขนาดของแรง F
67
28. กล่องใบหนึ่งเคลื่อนที่ลงพื้นเอียงที่มีความฝืดดังรูปจงหาสัมประสิทธิ์
ความเสียดทาน
68
สังเกต…
กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน
ทาไมดาวเคราะห์จึงโคจรรอบดวงอาทิตย์ ?
นิวตันนาผลการสังเกตของนักดาราศาสตร์มาสรุปได้ว่า การที่ดาว
เคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ได้เนื่องจากมีแรงกระทาระหว่างดวง
อาทิตย์กับดาวเคราะห์ เสนอกฎแรงดึงดูดระหว่างมวลไว้ว่า
“ วัตถุทั้งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน โดยขนาด
ของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่งๆ จะแปรผันตรงกับผลคูณ
ระหว่างมวลวัตถุทั้งสองและจะแปรผกผันกับกาลังสองของ
ระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสองนั้น ”
69
m1 m2
R
แรงดึงดูดระหว่างมวลของวัตถุคู่หนึ่ง
เมื่อ G เป็น ค่าคงตัวของแรงดึงดูดระหว่างมวลมีค่าเดียวกันเสมอไม่ว่า
วัตถุที่ดึงดูดกันจะเป็นวัตถุใดๆ
G เรียกว่า ค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล (Universal gravitational
constant) มีค่าเท่ากับ 6.673 x 10-11 N m2 / kg2
70
แรงดึงดูดระหว่างมวล ฉบับการ์ตูน ANIMATION
71
แรงดึงดูดระหว่างมวล ฉบับการ์ตูน ANIMATION
72
โรงเรียนวัดเขียนเขต
1. ถ้าระยะห่างระหว่างมวลสองก้อนลดลงเป็น เท่าของเดิม
แรงดึงดูดระหว่างมวลจะเป็นกี่เท่าของเดิม
4
1
73
แบบฝึกหัดที่ 5
2. จงหาค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกณ.จุดที่ห่าง
จากใจกลางโลก 10,000 กาหนดมวลโลก 6 X 1024km kg
74
3. ดาวเทียมดวงหนึ่งถูกส่งขึ้นไปโคจรห่างจากผิวโลกเป็น 2 เท่าของ
รัศมีโลก ดาวเทียมดวงนี้จะมีค่าความเร่งเนื่องจากสนามความโน้มถ่วง
เป็นเท่าใด ( กาหนด ความเร่งที่ผิวโลก = )g
75
4. (EN 30) ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลมากกว่าโลก2 เท่า แต่มีรัศมี
เป็นครึ่งหนึ่งของโลก จงหาค่าความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงที่ผิว
ของดาวเคราะห์ดวงนั้น ( ให้ ความเร่งที่ผิวโลก= )g
76
5. ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง หนึ่งในสามของเส้นผ่าน
ศูนย์กลางของโลก และมีมวลหนึ่งในหกของมวลของโลกชายผู้หนึ่ง
หนัก 500 นิวตัน บนผิวโลก เขาจะหนักเท่าใดเมื่อขึ้นไปอยู่บน
ดาวเคราะห์ดวงนี้
77
6. นักบินอวกาศหนัก 800 นิวตัน เมื่อไปอยู่บนดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง ซึ่งมี
เส้นผ่าศูนย์กลางครึ่งหนึ่งของเส้นผ่านศูนย์กลางโลก และมีมวล
1/5 ของมวลโลก อยากทราบว่า นักบินอวกาศคนนี้จะหนักเท่าใด
เมื่ออยู่ที่ผิวโลก
78
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3
 ทุกแรงกิริยาที่กระทาจะมีแรงปฏิกิริยาในทิศตรงข้าม เสมอ
• แรงดันของเชื้อเพลิงที่พุ่งออกมาจากจรวด
จะดันจรวดไปข้างหน้า
79
 หน้าเจ็บ มือก็เจ็บด้วย
 เนื่องจากมีแรงปฏิกิริยากระทาต่อกัน
ไม้ออกแรงกระทากับลูกบอล
ลูกบอลมีแรงปฏิกิริยาต่อไม้
80
พระพุทธเจ้าตรัสว่า
กรรมใดใครก่อ กรรมนั้นย่อมสนอง
เจ็บทั้งคู่...ไปดู
แรงกิริยา = แรงปฏิกิริยา
สองแรงคู่กิริยานี้
เกิดพร้อมกัน
กระทาต่อวัตถุ
คนละก้อน
มีขนาดแรง
เท่ากัน แต่ทิศ
ตรงกันข้าม
12 21F F 
ตัวอย่างคู่แรงกริยาและแรงปฏิกริยา
คู่แรงที่โลกดึงดูดมวล m
และแรงที่มวล m ดึงดูดโลก
พื้นดิน
คู่แรงที่ลูกบอลกดพื้นโลก
และแรงที่พื้นโลกดันลูกบอล
82
พื้นดิน
ผนัง 1. จงบอกคู่แรงกริยาและแรงปฏิกริยาทั้งหมด
ในระบบ และจงบอกด้วยว่าคู่แรงใดถึงแม้มี
ขนาดเท่ากันและมีทิศทางตรงกันข้ามแต่ไม่ใช่คู่
แรงกริยาและแรงปฏิกริยา
83
แบบฝึกหัดที่ 6
คิดเล่น ๆ นะ...
1. อธิบายกฎข้อที่ 1 ของนิวตัน พร้อมทั้งยกตัวอย่าง
2. ถ้าวัตถุไม่มีแรงกระทา จะมีการเคลื่อนที่หรือไม่ เพราะเหตุใด
3. อธิบายกฎข้อที่ 2 ของนิวตัน พร้อมทั้งยกตัวอย่าง
4. วัตถุจะต้องเคลื่อนที่ไปตามทิศทางของแรงลัพธ์ใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด
5. จงหาความเร่งของคนและรถ
6. อธิบายกฎข้อที่ 3 ของนิวตัน พร้อมทั้งยกตัวอย่าง 84
85
http://www.pec9.com
http://www.scribd.com
http://www.rmutphysics.com
http://physics1.multiply.com/tag/สื่อการทดลอง
http://www.esnips.com/doc/8c2a4928-7259-45d8-bab2-75eaefca957f/
http://www.phys.unsw.edu.au/
http://www.minglang.org/physisim/index.html
http://www.princess-it.org/kp9/hrh-
projects/file/20060327_sammakkee/lanchang/html/Physics%20Cartoon/cybertoon.htm
http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/nanssp/Indexphysic.htm
http://www.abdn.ac.uk/physics/ts1001/run1/sld010.htm
http://www.pt.ac.th/ptweb/prajead/force/newton/newton1.html
นิรันดร์ สุวรัตน์ “คู่มือฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 2” กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, 2542.
เฉลิมชัย มอญสุขา “ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1” กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์, 2549.
Thank You...แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม/อ้างอิง
ฟิสิกส์ไซร้ ใครสนใจ ใฝ่เรียนรู้
หมั่นฝึกดู จนรู้แจ้ง แหล่งเนื้อหา
ไม่ทันไร เริ่มชอบได้ ในวิชา
จึงรู้ว่า ข้าฯไซร้ ไม่เป็นรอง
86
Mr. Thongchai Khuankhanueng
Physics Edu.
Suankularb Wittayalai Rangsit School
Comment E-mail : thng_k@hotmail.com
Thank You
Good Luck
C U Again

More Related Content

What's hot

ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 

What's hot (20)

ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
 

Viewers also liked

บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันชิตชัย โพธิ์ประภา
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]Chanunya Chompoowong
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ krupornpana55
 
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ krupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 

Viewers also liked (15)

เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
 
123
123123
123
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรงและแรงรับ
แรงและแรงรับแรงและแรงรับ
แรงและแรงรับ
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 

Similar to มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันApinya Phuadsing
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่นthanakit553
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงPumPui Oranuch
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาnang_phy29
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 

Similar to มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน (20)

ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
P08
P08P08
P08
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
 
P03
P03P03
P03
 
0 pat2 53-1
0 pat2 53-10 pat2 53-1
0 pat2 53-1
 
Quota cmu 56 part2
Quota cmu 56 part2Quota cmu 56 part2
Quota cmu 56 part2
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
 

More from ธงชัย ควรคนึง

More from ธงชัย ควรคนึง (6)

หน่วย คำอุปสรรค เลขนัยสำคัญ
หน่วย คำอุปสรรค เลขนัยสำคัญหน่วย คำอุปสรรค เลขนัยสำคัญ
หน่วย คำอุปสรรค เลขนัยสำคัญ
 
คลื่นและสมบัติของคลื่น
คลื่นและสมบัติของคลื่นคลื่นและสมบัติของคลื่น
คลื่นและสมบัติของคลื่น
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
เสียงและการได้ยิน
เสียงและการได้ยินเสียงและการได้ยิน
เสียงและการได้ยิน
 
การเคลื่อนทีแบบต่าง ๆ
การเคลื่อนทีแบบต่าง  ๆการเคลื่อนทีแบบต่าง  ๆ
การเคลื่อนทีแบบต่าง ๆ
 
แรงและสนามของแรง
แรงและสนามของแรงแรงและสนามของแรง
แรงและสนามของแรง
 

มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน