SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
สื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
เรื่องการดูแลและสงเสริมสุขภาพของผูใหญวัยทองและวัยสูงอายุ


                        จััดทําโดย
                              ํโ
                 นางสาวมณีรัตน สมภาค
                 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
การดูแลและสงเสรมสุขภาพของ
การดแลและสงเสริมสขภาพของ
  ผูใหญวัยทองและวัยสูงอายุ
วัยทอง เปนชวงตอระหวางวัย
ผูใหญตอนตนและวัยสูงอายุ ประชากร
ชายและหญิงในชวงอายุ 40 หรือ 45 ป
ขึ้นไป รางกายจะมีการเปลี่ยนแปลง
โดยเฉพาะมีการผลิตฮอรโมนเพศลดลง
การเปลี่ยนแปลงของรางกายจะเปนแบบ
คอยเปนคอยไป เนื่องจากการลดลงของ
ฮอรโมนเพศชาย (Testosterone) ไมได
                 (            )
ลดลงอยางเฉียบพลัน ผูชายบางคนก็
อาจมี หรือหยดทันทีเหมือนผหญิง
              ุ             ู ญ
ในทางตรงกนขาม วยทองหรอ
   ในทางตรงกันขาม วัยทองหรือ
วัยหมดประจําเดือนของผูหญิงเปน
ชวงเวลาที่สิ้นสุดการมีประจําเดือน
แลว เนื่องจากรังไขหยดทํางาน ทํา
แลว เนองจากรงไขหยุดทางาน ทา
ใหฮอรโมนเอสโตรเจน (Estrogen)
ลดลง เกิดอาการตางๆ สงผลกระทบ
ตอสุขภาพในระยะยาว
ตอสขภาพในร ย ยาว
ผลการขาดฮอรโมนเอสโตรเจน
        ผลการขาดฮอรโมนเอสโตรเจน

1.   ชองคลอดมีขนาดเล็กลง
2.    มลลูกมีีขนาดเล็็กลง
3.
3     เตานมมรูปรางขนาดและความตงตวลดลง
      เตานมมีรปรางขนาดและความตึงตัวลดลง
4.    กระดูกคอยๆ มการสูญเสยแคลเซยม
      กระดกคอยๆ มีการสญเสียแคลเซียม
5.    จะมีขนขึนตามรางกายมากขึ้น
               ้
6.    ผิวหนังจะแหงเหี่ยวยน
อาการหรอโรคทเกด
              อาการหรือโรคที่เกิด
          จากการขาดฮอรโมนเอสโตรเจน

ในระยะแรกเริ่ม
 1. อาการรอนวูบวาบตามตว
 1 อาการรอนวบวาบตามตัว (hot flush)
 2. ผนังชองคลอดบางและอักเสบ (atrophic vaginitis)
 3. กลุมอาการของสตรีหมดประจําเดือน (menopausal syndrome)
ระยะยาว
1. ภาวะกระดูกพรุน (osteoporosis)
2. ภาวะโรคของหลอดเลอดไปเลยงหวใจอุดตน
2 ภาวะโรคของหลอดเลือดไปเลี้ยงหัวใจอดตัน
(coronaryheartdisease)




3. ทางสมองจะมความจาเสอมลง
3 ทางสมองจะมีความจําเสื่อมลง
วัยทองในเพศชาย

        หมายถง ผ ายทีสงอายุแลวอณฑะเสอม
        หมายถึง ผูชายทสูงอายแลวอัณฑ เสื่อม
                       ่
หนาทการผลตฮอรโมนแอนโดรเจน
หนาที่การผลิตฮอรโมนแอนโดรเจน (androgen)
มักเกิดกับ ผูชายที่สงอายุุ 40 ปขึ้นไปตรงกับภาวะ
               ู     ู
ทีเ่ รียกวา Partial Androgen Deficiency in
Aging Male (PADAM)
วยทองในเพศชาย
                 วัยทองในเพศชาย


1. ทําใหเกิดภาวะกระดูกพรุน
 2. เสีี่ยงตอการเปนโรคหัวใ
                   ป โ ั ใจและหลอดเลืือด
 3. เกิดอาการปวยเมื่อยและรอนวูบวาบตามตัว
                                ู
 4. สมรรถภาพทางเพศเสื่อมลงเนื่องจาก
อัณฑะทํางานไดนอยลง
ลักษณะการเจริญเติบโ
                  โตและความเสืื่อมของผูใหญวัยทอง

   ระบบรางกาย        ลักษณะการเจริญเติบโตและความเสื่อม
                              ของผูใหญวัยทอง
1. ระบบสมองและ      - หลงลืม ขาดสมาธิ
                      หลงลม ขาดสมาธ
สติปญญา
2. ระบบประสาทและ    - รอนวูบวาบ เหงื่ออกมาก อารมณ
ประสาทสมผส
ประสาทสัมผัส        แปรปรวน
3. ระบบผิวหนังและ   - ผิวหนังขาดความชุมชื้น แหง เหี่ยว มี
ผม                  ไขมั
                    ไ นสะสมใตผิวหนัง
ระบบรางกาย             ลักษณะการเจริญเติบโตและความเสื่อม
                                    ของผู หญวยทอง
                                    ของผใหญวัยทอง
4. ระบบกระดูก
            ู      -   กระดูกบาง กระดูกพรุน
                            ู         ู ุ

5. ระบบสืบพันธุ   - เพศหญิงขาดหรือมีฮอรโมนเอสโตรเจนนอยลง

และฮอรโมน
แล ฮอรโมน         - เพศชาย ลกอัณฑ เสื่อมทําใหสรางฮอรโมนนอยลง
                            ลูกอณฑะเสอมทาใหสรางฮอรโมนนอยลง

6. โรคที่มักพบ     - เพศหญิง มะเร็งเตานม มะเร็งปากมดลูก โรคหัวใจ
                   และหลอดเลืือด โโรคเบาหวาน โโรคความดันโ ตสูง
                                                         โลหิ
                   - เพศชาย มะเร็งตอมลกหมาก มะเร็งปอด โรคหัวใจ
                            มะเรงตอมลูกหมาก มะเรงปอด โรคหวใจ
                   และหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
คุณคาและแนวทางการปฎิิบัติตนทีเ่ี หมาะสม
                ป

        1. ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

        2. ดูแลรักษาสุขภาพรางกายและ
        สุขภาพจตของตนเอง
        สขภาพจิตของตนเอง

        3. ตรวจรางกายอยางสม่ําเสมอ
ขอแนะนําในการปฏิบัติตวสําหรับผูใหญวัยทอง
               ฏ ั                 ญ

1.   ควรเตรียมตัวเตรียมใจรับการเปลี่ยนแปลง
     ควรเตรยมตวเตรยมใจรบการเปลยนแปลง
2.
2    ควรตังใจจะมีชีวิตอยตอไป
     ควรตงใจจะมชวตอยู อไป
            ้
3.   ควรปลอยตัวเองใหสนุกสนานราเริง
                           ุ
4.   ควรยึดหลักความเรียบงาย
5.   ยืดหยุนใหมากขึ้นจะทําใหมสุขภาพจิตดี
                                ี
6.   มีจดมุงหมายในชีวิตที่สรางสรรค
        ุ
7.   ควรฝกหายใจเขาออกลึกๆ ชาๆ
          ฝ ใ              ึ 
8. ดมนาใหมากพอ
8 ดืมน้ําใหมากพอ
    ่
9. ออกกําลังกายอยางเหมาะสม
10. รับประทานอาหารใหถูกสวน
11. สนุกสนานกับงานอดิเรก
12. สนใจศกษาธรรมใหมากขน
12 สนใจศึกษาธรรมใหมากขึ้น
13. หมันยกระดับจิตใจใหราเริง และสรางสรรคอยูเู สมอ
        ่
14. ชวนคูสมรสทํากิจกรรมคลาย ๆ กัน
15. ถายทอดประสบการณใหมีคา   
16. ใชเซลลสมองใหมากๆ
16 ใชเซลลสมองใหมากๆ
ปจจััยทีี่มผลกระทบตอการเจริิญเติบโต
                   ี                    ิ โ
       และพฒนาการของวยทองและวยสูงอายุ
       และพัฒนาการของวัยทองและวัยสงอาย
1. พนธุกรรม
1 พันธกรรม
2. สิ่งแวดลอม
    2.1 ปญหาเกี่ยวกับตนเอง
        - สุขภาพทางกาย - สุขภาพทางจิต
   2.2 ปญหาเกยวกบครอบครว
   2 2 ปญหาเกี่ยวกับครอบครัว
   2.3 ปญหาเกี่ยวกับสังคม
การปฏบตตอผู หญวัยทองของลกหลาน
       การปฏิบัติตอผใหญวยทองของลูกหลาน

1. ทําความเขาใจ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับ
ชวงวัย
2. สรางความสัมพันธท่ีดีกบผูใหญวัยทอง
                     ั
3. ใหการดูแลชวยเหลอตางๆ อยางเหมาะสม
3 ใหการดแลชวยเหลือตางๆ อยางเหมาะสม
วัยสูงอายุ


   วัยสูงอายุ หมายถึง ผูที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป ทัง
                                               ้
เพศชายและเพศหญิง
ผูสูงอายุ แบงเปน 3 กลุมตามภาวะและสุขภาพดังนี้

1. ผูสูงอายุระดัับตน มีอายุระหวาง 60 - 70 ป
                      ี          
2. ผู ูงอายุระดบกลาง มอายุระหวาง
2 ผสงอายระดับกลาง มีอายระหวาง 71 - 80 ป      ป
3. ผูสูงอายุระดับปลาย มีอายุุระหวาง 80 ปขนไป
      ู      ุ                               ึ้
ลัักษณะการเจริิญเติบโตและความเสืื่อมของวััยสูงอายุ
                         ิ โ
     ระบบรางกาย      ลักษณะการเจริญเติบโ
                                         โตและความเสืื่อมของวัยสูงอายุ
ดานกายภาพ
ดานกายภาพ
1. ระบบผิวหนังและผม    -ผิวหนังบาง เหี่ยวยน ตกกระ หนาวงาย

                       -ผมรวง ผมเปลี่ยนเปนสีขาว

2. ระบบกระดููก ไขขอ   - กระดูกเปราะงาย ปวดตามขอ
                              ู
และกลามเนื้อ
3. ระบบทางเดนหายใจ
3 ระบบทางเดินหายใจ     - ปอดเสื่อม การยุบและขยายตวไมดี
                         ปอดเสอม การยบและขยายตัวไมด
ระบบรางกาย      ลัักษณะการเจริิญเติิบโ
                                            โตและความเสืื่อมของวััยสูงอายุ

4. ระบบทางเดนอาหาร
4 ระบบทางเดินอาหาร     - เหงือกรน ฟนโยก ฟนหักงาย อาหารยอยยาก ทองผูก
                         เหงอกรน ฟนโยก ฟนหกงาย อาหารยอยยาก ทองผก


5. ระบบหัวใจและหลอด - กลามเนื้อหัวใจออนกําลังลง หลอดเลือดแข็งตัว หนา
เลืือด              ขาดความยืืดหยุน 

6.
6 ระบบประสาท
       ป               - อวยวะรบความรูสกสมผสเสอม เชน หู ตา จมูก ลน
                           ั ั          ึ ั ั ื่                 ิ้
ประสาทสัมผัสและการ
ทรงตัว
     ั
ระบบรางกาย      ลัักษณะการเจริิญเติิบโ
                                            โตและความเสืื่อมของวััยสูงอายุ

7. สมองแลละสตปญญา สมองเสอม เหี่ยว เล็กลง ความจาเสอม หลงลมงาย
7 สมองแลละสติปญญา - สมองเสื่อม เหยว เลกลง ความจําเสื่อม หลงลืมงาย


8. ระบบตอมไรทอและ   - ตับออนหลั่งฮอรโมนอินซูลนนอยลง
                                                  ิ
ฮอรโมน
    โ                 - ตอมใตสมองเสืื่อม ทําใหรูสึกออนเพลีย เบืื่ออาหาร

9.
9 ระบบสบพนธุและ
        ื ั           - ตอมเพศ มการเปลยแปลงฮอรโมนเพศในหญง
                                ี ป ี่ ป      โ    ใ ิ
ระบบปสสาวะ            - การถายปสสาวะจะมีปริมาณลดลง แตบอยครั้ง
                                                          
ระบบรางกาย   ลักษณะการเจริญเติบโตและความเสื่อมของวัยสูงอายุ

ทางดานจิตใจ       -สูญเสียบุคคลอันเปนทีรัก
                                         ่
                   -สญเสียสัมพัธภาพภายในครอบครัว
                    สูญเสยสมพธภาพภายในครอบครว
                   -สูญเสียความสัมพันธทางเศรษฐกิจและสังคม

                   -สูญเสียสมรรถภาพทางเพศ
ระบบรางกาย   ลักษณะการเจริญเติบโตและความเสื่อมของวัยสูงอายุ
ทางดานสงคม
     ั          - การเปลยนแปลงรูปแบบของสงคม
                       ป ี่ ป            ั
                 - การเปลี่ยนแปลงสภาพของสังคม
                 - ความสูญเสีียและความคัับของใจทางสัังคม
                                               ใ
                 - ความสัมพันธกับชุมชนลดลง
การเปลีี่ยนแปลงและสภาพปญหาทางรางกาย
    ป       ป         ป
1. ภาวะสมองเสื่อม
   อาการ
           เกิดความบกพรองในการ
   รับรู การเรียนรู การตัดสินใจ
   การใชภาษา การทากจวตร
   การใชภาษา การทํากิจวัตร
   ประจําวัน บุคคลิกภาพ
   เปลี่ยนไปจากเดิิม
    ป ี ไป
10 สัญญาณอันตราย...สมองเสื่อม!
1. สูญเสียความจําในระยะสั้น ทีกระทบตอการทํางาน
                                  ่
   2. สิ่งที่เคยทําเปนประจําเริ่มทําไมเปน
      สงทเคยทาเปนประจาเรมทาไมเปน
   3. ปญหาดานภาษา เลือกคําพูดไมคอยถูก 
   4. ไมรูเวลา และสถานที่
   5. สูญเสียการตัดสินใจ
   6. ไมคอยเขาใจความคิดที่เปนนามธรรม
            
   7. วางของผดทแปลกๆ
   7 วางของผิดที่แปลกๆ
   8. อารมณหรือพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง
   9. บคลิกภาพเปลี่ยนแปลง และ
      บุคลกภาพเปลยนแปลง
   10. สูญเสียความคิดริเริ่ม
ปจจัยเสี่ยง
        การเกิดโรคตางๆ เชน โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดัน-โลหิต
   สูง โรคเบาหวาน หรือ พฤติกรรมการใชสารเสพติด
     ู                     ฤ


การปฏิบัติตัวเพื่อปองกันภาวะสมองเสือม
   ป ิ           ื      ั           ื่
        - ตรวจสขภาพตนเองอยางสม่ําเสมอ
          ตรวจสุขภาพตนเองอยางสมาเสมอ
        - สรางเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
        - หลีกเลี่ยงหรืองดการสูบบุหรี่ ดื่มสุราและการใชสารเสพติด
        - เขารวมกิจกรรมกับครอบครัวและสังคม
          เขารวมกจกรรมกบครอบครวและสงคม
        - ใชสมองมาก ๆ
อาการเวยนศรษะจากการเสยการทรงตว
  อาการเวียนศีรษะจากการเสียการทรงตัว
อาการ
      เวียนศีรษะ ไมสามารถทรงตัวอยูได ซึ่งพบรอยละ 40 ใน
ผูสูงอายุซึ่งเปนสาเหตุทําใหเกิดการหกลม

การดูแลตนเองเพื่อปองกัน
    1. ดูแลสุขภาพโดยรวม
    2. เมอพบอาการผดปกต ควรรบพบแพทย
    2 เมือพบอาการผิดปกติ ควรรีบพบแพทย
          ่
     3. หมันบริหารศีรษะและคอ
            ่
โรคตาในผู ูงอายุ
                        โรคตาในผสงอาย
โรคตอกระจก
โรคตอกระจก
เกิดจากกการเสื่อมสลายของเลนสแกวตา    เกิดการขุนมัว แสงผานไมได

อาการ
  ตามัว     มองไมชัด     มองไมเห็น

การดูแลตนเอง
- พบแพทยเพืื่อรับการรักษา - ควบคุมนําตาลในเลืือด
                                      ้
- หลีกเลี่ยงการถูกแสงจา - หามซื้อยาหยอดตามาใชเอง
โรคต ิ
                 โ อหิน

    เกิดจากการอุดตันการไหลเวียนของน้ําในลูกตา
                 ุ                        ู
ทําใหความดันในลูกตาสูงกวาปกติ แบงออกเปน 2 ชนิด
        1. ตอหินชนิดเฉียบพลัน
        2.  ิ ิ ื้ ั
        2 ตอหนชนดเรอรง
ตอหินชนิดเฉียบพลัน
     เกิดขึ้นทันทีโดยไมทราบสาเหตุ มีอาการปวด
 ตามากคลื่นไส อาเจียน ตามัว มองเห็นแสงเปนสี
 ตางๆ รอบดวงไฟ
                ไฟ


 ตอหินชนิดเรื้อรัง
   ความดันน้าในลูกตาคอยๆ เพิ่มขึ้นอยางชาๆ
            ํ
 ปวดไมรุนแรง มองเห็นแสงเปนสีตางๆ รอบ
                                  
 ดวงไฟ
    ไฟ
การดูแลตนอง

- รีบรักษาทันที
- ไ ควรซืื้อยาหยอดตามาใชเอง
  ไม
โรคหูในผูสูงอายุ
  รอยละ ผู อาย ปขนไป
  รอยละ 30 ผที่อายุ 65 ปขึ้นไป
  รอยละ ผู อาย ปขนไป
  รอยละ 50 ผที่อายุ 75 ปขึ้นไป

สาเหตุ
  เกิดจากความเสื่อมของประสาทสําหรับสงเสียงในหูชนใน
                                                ้ั
อาการ
       ฟงไมชัด แยกที่มาของเสียงไมออก หูอื้อ หาก
รุนแรงจะสูญเสีียการไดยิน
                    ไ 

  การดูแลรักษา
       ลดเสยงรบกวน ไมตะโกนใสกน กรณีที่หตงมาก
       ลดเสียงรบกวน ไมตะโกนใสกน กรณทหูตึงมาก
                                ั
ควรใชอุปกรณชวยฟง
โรคขอเขาเสอม
                 โรคขอเขาเสื่อม
สาเหตุ
- เกิดจากความเสื่อม
  เกดจากความเสอม            - น้ําหนักตัวมาก
                              นาหนกตวมาก
- เคยไดรบอบัตเหตุมากอน
  เคยไดรบอุบติเหตมากอน
         ั                  - ติดเชื้อบริเวณขอเขา
                              ตดเชอบรเวณขอเขา
อาการ
   ปวดขอ ขอฝด ขอบวมผิดรูป มีปญหาเกี่ยวกับการใชขอ
                            ู

การดูแลตนเอง
การดแลตนเอง
  - ใชความรอนประคบ
  - บริหารกลามเนือใหแข็งแรง
                     ้
  - หลีกเลีี่ยงทาทางทีี่ไมเหมาะสม
        ี                    
  - ใชไมเทาชวย และควบคมน้ําหนักตัว
     ใชไมเทาชวย และควบคุมนาหนกตว
ทองผูก
สาเหตุ
- การเคลื่อนไหวของลําไสลดลง
- การรับยาตางๆ และการเจ็บปวยดวยโรคบางชนิด

การดูแลตนเอง
- รัับป
      ประทานอาหารทีมกากใยมากๆ
                     ี่ ี ใ
- ออกกําลังกาย
- งดดื่มยา กาแฟ
- หากทองผกติดตอเปนเวลานานควรพบแพทย
          ู
ปญหาเกยวกบการขบถายปสสาวะ
     ป    ี่ ั    ั  ป

    เกิดจากความเสื่อมของระบบปสสาวะ

การดูแลตนเอง
- ไมควรกลั้นยปสสาวะเปนเวลานาน
  ไมควรกลนยปสสาวะเปนเวลานาน
- งดดืมชา กาแฟ เพราะเปนตัวกระตุนใหอยากถายปสสาวะ
      ่
นอนไมหลับ
          ไ ั
สาเหตุ
   - ธรรมชาติของวัยสูงอายุ จะมีระยะเวลาในการนอนสั้นลง
   - การไดรับยาบางชนิด
     การไดรบยาบางชนด
   - ดื่มเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ สุรา
   - การเจ็บปวย
   - ภาวะดานจิตใจ
     ภาวะดานจตใจ
การปฏิบัตตนเมื่อนอนไมหลับ
                     ฏ ิ
-   ทําจิตใจใหสงบ
-   พยายามออกกําลังกาย
-   งดดืมชา กาแฟ และสุรา
         ื่
-   ไมควรนอนกลางวน
    ไมควรนอนกลางวัน
-   หากปฏบัตทั้งหมดดังกลาวแลวไมไดผลควรพบแพทย
             ิ
สุขภาพชองปาก
          ป
- ฟนสึก         ใชและดแลรักษาฟนไมถกวิธี
                        ู             ู
- ฟนผ
  ฟนผุ          ดูแลรกษาฟนไมถูกวธ
                ดแลรักษาฟนไมถกวิธี
- โรคปริทันต
  โรคปรทนต      เปนปญหาทพบมาก
                เปนปญหาที่พบมาก
การดูแลรกษาสุขภาพชองปากของผู ูงอายุ
     การดแลรักษาสขภาพชองปากของผสงอาย

-   รกษาความสะอาดของฟนและชองปาก
     ั                     ฟ      ป
-   เลอกรบประทานอาหารทมคุณคา
    เลือกรับประทานอาหารที่มีคณคา
-   เลือกใชเครื่องชวยทําความสะอาดฟน
-   ตรวจสุขภาพฟนทุก 6 เดือน
อบัติเหตทีเ่ กิดกับผูสูงอายุ
                 ุ      ุ

       สาเหตุ                          การปองกัน
                                            ป ั
โดยสวนใหญเกดจาก
โดยสวนใหญเกิดจาก      - ระมัดระวังในการทํากิจกรรมตางๆ
                           ระมดระวงในการทากจกรรมตางๆ
 การเปลี่ยนแปลงของ      - จัดบานเรือนใหสะอาดเรียบรอย
 รางกาย                - เมื่อไดรับอุบัติเหตุตองแจงให
                                                
                        ลูกหลานทราบ
                        - ควรพบแพทยเพื่อตรวจสขภาพ
                           ควรพบแพทยเพอตรวจสุขภาพ
                        ประจําป
การเปลี่ยนแปลงทางดานจิตใจอารมณและสังคมในวัยสูงอายุุ
                                               ู

     -     ความเครียด ความวิตกกังวลและความไมมนใจ
                                              ั่
     เกีี่ยวกับอนาคตของตนเอง
     - ซึมเศรา มความคดฟุงซาน
           ซมเศรา มีความคิดฟ ซาน
     - ระแวง คิดซ้ําซาก ไมไววางใจผูอน
                                      ื่
แนวทางปองกนและแกไขปญหาสุขภาพจตในผู ูงอายุ
แนวทางปองกันและแกไขปญหาสขภาพจิตในผสงอาย

       ตระหนักและระวังความรูสึก และความคิดของ
   ตนเอง
     คอยกระตุนเตือนตนเองใหกระทํากิจวัตรประจําวัน
                 ุ
     เขารวมกิจกรรมทางสังคม
     ทํางานอดิเรกที่ชื่นชอบ
     สรางเสริิมสัมพันธภาพภายในครอบครััว
                    ั ั       ใ
     ฝกจตใหสงบ
     ฝกจิตใหสงบ
แนวทางการปฏบตสาหรบผู ูงอายุ
    แนวทางการปฏิบัติสําหรับผสงอาย
-   ดูแลรักษาสุขภาพทางกาย
    ใหแข็งแรง
-   ดูแลรัักษาสุขภาพจิิตใ
                        ใจ
    อารมณใหเปนปกต
    อารมณใหเปนปกติ
-   อยูในสังคมอยางเปนปกติ
        ู
    ไมแยกตัว
การปฏิิบัติตัวของลูกหลานตอผูสูงอายุ
   ป                     

  -   ดูแลชวยเหลือทางดานการสงเสริมและรักษา
      สุขภาพทางดานรางกาย
  -   การสงเสริมดูแลสุขภาพจิต
  -   การสงเสรมทางดานสงคม
      การสงเสริมทางดานสังคม
กิจกรรมทบทวนความรูู

   1. จากการศึกษาเรื่องการดูแลและสงเสริมสุขภาพ
ของผูใหญวยทองและวยสูงอายุ ใ  ิ
       ั            ั       ใหวเคราะหปจจยทมี
                                         ป ั ี่
                                         
ผลตอการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ ของผูใหญวัยทองและ
วัยสูงอายุลงในหนังสือรียนวิชาสุขศึกษา หนา 36 - 40
(แบบฝกหดทายบทเรยน
(แบบฝกหัดทายบทเรียน)

More Related Content

Viewers also liked

Hvorfor har hunder atferdsproblemer
Hvorfor har hunder atferdsproblemerHvorfor har hunder atferdsproblemer
Hvorfor har hunder atferdsproblemerGry Løberg
 
correct_Portal manual
correct_Portal manual correct_Portal manual
correct_Portal manual UsableLabs
 
10 ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับ usability ที่ไม่ควรทำ
10 ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับ usability ที่ไม่ควรทำ10 ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับ usability ที่ไม่ควรทำ
10 ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับ usability ที่ไม่ควรทำUsableLabs
 
Portal profile
Portal profilePortal profile
Portal profileUsableLabs
 
Stress og velferd hos hund
Stress og velferd hos hundStress og velferd hos hund
Stress og velferd hos hundGry Løberg
 
สร้างเว็บไซต์โดยใช้หลัก Usability
สร้างเว็บไซต์โดยใช้หลัก Usability สร้างเว็บไซต์โดยใช้หลัก Usability
สร้างเว็บไซต์โดยใช้หลัก Usability UsableLabs
 
2.Java fundamentals
2.Java fundamentals2.Java fundamentals
2.Java fundamentalsUsableLabs
 
1.Introduction to java
1.Introduction to java1.Introduction to java
1.Introduction to javaUsableLabs
 
Portal manual (Original)
Portal manual (Original)Portal manual (Original)
Portal manual (Original)UsableLabs
 

Viewers also liked (14)

Hvorfor har hunder atferdsproblemer
Hvorfor har hunder atferdsproblemerHvorfor har hunder atferdsproblemer
Hvorfor har hunder atferdsproblemer
 
correct_Portal manual
correct_Portal manual correct_Portal manual
correct_Portal manual
 
Card sorting
Card sortingCard sorting
Card sorting
 
10 ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับ usability ที่ไม่ควรทำ
10 ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับ usability ที่ไม่ควรทำ10 ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับ usability ที่ไม่ควรทำ
10 ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับ usability ที่ไม่ควรทำ
 
Money
MoneyMoney
Money
 
Portal profile
Portal profilePortal profile
Portal profile
 
Stress og velferd hos hund
Stress og velferd hos hundStress og velferd hos hund
Stress og velferd hos hund
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
สร้างเว็บไซต์โดยใช้หลัก Usability
สร้างเว็บไซต์โดยใช้หลัก Usability สร้างเว็บไซต์โดยใช้หลัก Usability
สร้างเว็บไซต์โดยใช้หลัก Usability
 
4.Oop
4.Oop4.Oop
4.Oop
 
5.Methods cs
5.Methods cs5.Methods cs
5.Methods cs
 
2.Java fundamentals
2.Java fundamentals2.Java fundamentals
2.Java fundamentals
 
1.Introduction to java
1.Introduction to java1.Introduction to java
1.Introduction to java
 
Portal manual (Original)
Portal manual (Original)Portal manual (Original)
Portal manual (Original)
 

Similar to Health

พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2Kobchai Khamboonruang
 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้Ummara Kijruangsri
 
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศโรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศWan Ngamwongwan
 
ธาตุเจ้าเรือน.pdf
ธาตุเจ้าเรือน.pdfธาตุเจ้าเรือน.pdf
ธาตุเจ้าเรือน.pdfTu Artee
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ssuser48f3f3
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทnokbiology
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธniralai
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)Wan Ngamwongwan
 

Similar to Health (20)

พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
 
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศโรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
 
ธาตุเจ้าเรือน.pdf
ธาตุเจ้าเรือน.pdfธาตุเจ้าเรือน.pdf
ธาตุเจ้าเรือน.pdf
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
03 develop1
03 develop103 develop1
03 develop1
 
Ihd
IhdIhd
Ihd
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 

More from UsableLabs

การจัดการความรู้
การจัดการความรู้การจัดการความรู้
การจัดการความรู้UsableLabs
 
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคUsableLabs
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
6.Flow control
6.Flow control6.Flow control
6.Flow controlUsableLabs
 
ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่
ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่
ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่UsableLabs
 
30 web (blog2book)
30 web (blog2book)30 web (blog2book)
30 web (blog2book)UsableLabs
 
ภาพสวยๆ จากคนรักมวลเมฆ
ภาพสวยๆ จากคนรักมวลเมฆภาพสวยๆ จากคนรักมวลเมฆ
ภาพสวยๆ จากคนรักมวลเมฆUsableLabs
 
แนะนำวิธีการจดทะเบียนโดเมน
แนะนำวิธีการจดทะเบียนโดเมนแนะนำวิธีการจดทะเบียนโดเมน
แนะนำวิธีการจดทะเบียนโดเมนUsableLabs
 
เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาUsableLabs
 

More from UsableLabs (10)

การจัดการความรู้
การจัดการความรู้การจัดการความรู้
การจัดการความรู้
 
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
6.Flow control
6.Flow control6.Flow control
6.Flow control
 
3.Expression
3.Expression3.Expression
3.Expression
 
ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่
ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่
ส่งยิ้ม ส่งรัก รับปีใหม่
 
30 web (blog2book)
30 web (blog2book)30 web (blog2book)
30 web (blog2book)
 
ภาพสวยๆ จากคนรักมวลเมฆ
ภาพสวยๆ จากคนรักมวลเมฆภาพสวยๆ จากคนรักมวลเมฆ
ภาพสวยๆ จากคนรักมวลเมฆ
 
แนะนำวิธีการจดทะเบียนโดเมน
แนะนำวิธีการจดทะเบียนโดเมนแนะนำวิธีการจดทะเบียนโดเมน
แนะนำวิธีการจดทะเบียนโดเมน
 
เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
 

Health

  • 1. สื่อการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการดูแลและสงเสริมสุขภาพของผูใหญวัยทองและวัยสูงอายุ จััดทําโดย ํโ นางสาวมณีรัตน สมภาค ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
  • 3. วัยทอง เปนชวงตอระหวางวัย ผูใหญตอนตนและวัยสูงอายุ ประชากร ชายและหญิงในชวงอายุ 40 หรือ 45 ป ขึ้นไป รางกายจะมีการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะมีการผลิตฮอรโมนเพศลดลง การเปลี่ยนแปลงของรางกายจะเปนแบบ คอยเปนคอยไป เนื่องจากการลดลงของ ฮอรโมนเพศชาย (Testosterone) ไมได ( ) ลดลงอยางเฉียบพลัน ผูชายบางคนก็ อาจมี หรือหยดทันทีเหมือนผหญิง ุ ู ญ
  • 4. ในทางตรงกนขาม วยทองหรอ ในทางตรงกันขาม วัยทองหรือ วัยหมดประจําเดือนของผูหญิงเปน ชวงเวลาที่สิ้นสุดการมีประจําเดือน แลว เนื่องจากรังไขหยดทํางาน ทํา แลว เนองจากรงไขหยุดทางาน ทา ใหฮอรโมนเอสโตรเจน (Estrogen) ลดลง เกิดอาการตางๆ สงผลกระทบ ตอสุขภาพในระยะยาว ตอสขภาพในร ย ยาว
  • 5. ผลการขาดฮอรโมนเอสโตรเจน ผลการขาดฮอรโมนเอสโตรเจน 1. ชองคลอดมีขนาดเล็กลง 2. มลลูกมีีขนาดเล็็กลง 3. 3 เตานมมรูปรางขนาดและความตงตวลดลง เตานมมีรปรางขนาดและความตึงตัวลดลง 4. กระดูกคอยๆ มการสูญเสยแคลเซยม กระดกคอยๆ มีการสญเสียแคลเซียม 5. จะมีขนขึนตามรางกายมากขึ้น ้ 6. ผิวหนังจะแหงเหี่ยวยน
  • 6. อาการหรอโรคทเกด อาการหรือโรคที่เกิด จากการขาดฮอรโมนเอสโตรเจน ในระยะแรกเริ่ม 1. อาการรอนวูบวาบตามตว 1 อาการรอนวบวาบตามตัว (hot flush) 2. ผนังชองคลอดบางและอักเสบ (atrophic vaginitis) 3. กลุมอาการของสตรีหมดประจําเดือน (menopausal syndrome)
  • 9. วัยทองในเพศชาย หมายถง ผ ายทีสงอายุแลวอณฑะเสอม หมายถึง ผูชายทสูงอายแลวอัณฑ เสื่อม ่ หนาทการผลตฮอรโมนแอนโดรเจน หนาที่การผลิตฮอรโมนแอนโดรเจน (androgen) มักเกิดกับ ผูชายที่สงอายุุ 40 ปขึ้นไปตรงกับภาวะ ู ู ทีเ่ รียกวา Partial Androgen Deficiency in Aging Male (PADAM)
  • 10. วยทองในเพศชาย วัยทองในเพศชาย 1. ทําใหเกิดภาวะกระดูกพรุน 2. เสีี่ยงตอการเปนโรคหัวใ ป โ ั ใจและหลอดเลืือด 3. เกิดอาการปวยเมื่อยและรอนวูบวาบตามตัว ู 4. สมรรถภาพทางเพศเสื่อมลงเนื่องจาก อัณฑะทํางานไดนอยลง
  • 11. ลักษณะการเจริญเติบโ โตและความเสืื่อมของผูใหญวัยทอง ระบบรางกาย ลักษณะการเจริญเติบโตและความเสื่อม ของผูใหญวัยทอง 1. ระบบสมองและ - หลงลืม ขาดสมาธิ หลงลม ขาดสมาธ สติปญญา 2. ระบบประสาทและ - รอนวูบวาบ เหงื่ออกมาก อารมณ ประสาทสมผส ประสาทสัมผัส แปรปรวน 3. ระบบผิวหนังและ - ผิวหนังขาดความชุมชื้น แหง เหี่ยว มี ผม ไขมั ไ นสะสมใตผิวหนัง
  • 12. ระบบรางกาย ลักษณะการเจริญเติบโตและความเสื่อม ของผู หญวยทอง ของผใหญวัยทอง 4. ระบบกระดูก ู - กระดูกบาง กระดูกพรุน ู ู ุ 5. ระบบสืบพันธุ - เพศหญิงขาดหรือมีฮอรโมนเอสโตรเจนนอยลง และฮอรโมน แล ฮอรโมน - เพศชาย ลกอัณฑ เสื่อมทําใหสรางฮอรโมนนอยลง ลูกอณฑะเสอมทาใหสรางฮอรโมนนอยลง 6. โรคที่มักพบ - เพศหญิง มะเร็งเตานม มะเร็งปากมดลูก โรคหัวใจ และหลอดเลืือด โโรคเบาหวาน โโรคความดันโ ตสูง โลหิ - เพศชาย มะเร็งตอมลกหมาก มะเร็งปอด โรคหัวใจ มะเรงตอมลูกหมาก มะเรงปอด โรคหวใจ และหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
  • 13. คุณคาและแนวทางการปฎิิบัติตนทีเ่ี หมาะสม  ป 1. ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 2. ดูแลรักษาสุขภาพรางกายและ สุขภาพจตของตนเอง สขภาพจิตของตนเอง 3. ตรวจรางกายอยางสม่ําเสมอ
  • 14. ขอแนะนําในการปฏิบัติตวสําหรับผูใหญวัยทอง ฏ ั ญ 1. ควรเตรียมตัวเตรียมใจรับการเปลี่ยนแปลง ควรเตรยมตวเตรยมใจรบการเปลยนแปลง 2. 2 ควรตังใจจะมีชีวิตอยตอไป ควรตงใจจะมชวตอยู อไป ้ 3. ควรปลอยตัวเองใหสนุกสนานราเริง ุ 4. ควรยึดหลักความเรียบงาย 5. ยืดหยุนใหมากขึ้นจะทําใหมสุขภาพจิตดี ี 6. มีจดมุงหมายในชีวิตที่สรางสรรค ุ 7. ควรฝกหายใจเขาออกลึกๆ ชาๆ ฝ ใ  ึ 
  • 15. 8. ดมนาใหมากพอ 8 ดืมน้ําใหมากพอ ่ 9. ออกกําลังกายอยางเหมาะสม 10. รับประทานอาหารใหถูกสวน 11. สนุกสนานกับงานอดิเรก 12. สนใจศกษาธรรมใหมากขน 12 สนใจศึกษาธรรมใหมากขึ้น 13. หมันยกระดับจิตใจใหราเริง และสรางสรรคอยูเู สมอ ่ 14. ชวนคูสมรสทํากิจกรรมคลาย ๆ กัน 15. ถายทอดประสบการณใหมีคา  16. ใชเซลลสมองใหมากๆ 16 ใชเซลลสมองใหมากๆ
  • 16. ปจจััยทีี่มผลกระทบตอการเจริิญเติบโต ี  ิ โ และพฒนาการของวยทองและวยสูงอายุ และพัฒนาการของวัยทองและวัยสงอาย 1. พนธุกรรม 1 พันธกรรม 2. สิ่งแวดลอม 2.1 ปญหาเกี่ยวกับตนเอง - สุขภาพทางกาย - สุขภาพทางจิต 2.2 ปญหาเกยวกบครอบครว 2 2 ปญหาเกี่ยวกับครอบครัว 2.3 ปญหาเกี่ยวกับสังคม
  • 17. การปฏบตตอผู หญวัยทองของลกหลาน การปฏิบัติตอผใหญวยทองของลูกหลาน 1. ทําความเขาใจ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับ ชวงวัย 2. สรางความสัมพันธท่ีดีกบผูใหญวัยทอง  ั 3. ใหการดูแลชวยเหลอตางๆ อยางเหมาะสม 3 ใหการดแลชวยเหลือตางๆ อยางเหมาะสม
  • 18. วัยสูงอายุ วัยสูงอายุ หมายถึง ผูที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป ทัง  ้ เพศชายและเพศหญิง
  • 19. ผูสูงอายุ แบงเปน 3 กลุมตามภาวะและสุขภาพดังนี้ 1. ผูสูงอายุระดัับตน มีอายุระหวาง 60 - 70 ป  ี  2. ผู ูงอายุระดบกลาง มอายุระหวาง 2 ผสงอายระดับกลาง มีอายระหวาง 71 - 80 ป ป 3. ผูสูงอายุระดับปลาย มีอายุุระหวาง 80 ปขนไป ู ุ ึ้
  • 20. ลัักษณะการเจริิญเติบโตและความเสืื่อมของวััยสูงอายุ ิ โ ระบบรางกาย ลักษณะการเจริญเติบโ โตและความเสืื่อมของวัยสูงอายุ ดานกายภาพ ดานกายภาพ 1. ระบบผิวหนังและผม -ผิวหนังบาง เหี่ยวยน ตกกระ หนาวงาย -ผมรวง ผมเปลี่ยนเปนสีขาว 2. ระบบกระดููก ไขขอ - กระดูกเปราะงาย ปวดตามขอ ู และกลามเนื้อ 3. ระบบทางเดนหายใจ 3 ระบบทางเดินหายใจ - ปอดเสื่อม การยุบและขยายตวไมดี ปอดเสอม การยบและขยายตัวไมด
  • 21. ระบบรางกาย ลัักษณะการเจริิญเติิบโ โตและความเสืื่อมของวััยสูงอายุ 4. ระบบทางเดนอาหาร 4 ระบบทางเดินอาหาร - เหงือกรน ฟนโยก ฟนหักงาย อาหารยอยยาก ทองผูก เหงอกรน ฟนโยก ฟนหกงาย อาหารยอยยาก ทองผก 5. ระบบหัวใจและหลอด - กลามเนื้อหัวใจออนกําลังลง หลอดเลือดแข็งตัว หนา เลืือด ขาดความยืืดหยุน  6. 6 ระบบประสาท ป - อวยวะรบความรูสกสมผสเสอม เชน หู ตา จมูก ลน ั ั ึ ั ั ื่  ิ้ ประสาทสัมผัสและการ ทรงตัว ั
  • 22. ระบบรางกาย ลัักษณะการเจริิญเติิบโ โตและความเสืื่อมของวััยสูงอายุ 7. สมองแลละสตปญญา สมองเสอม เหี่ยว เล็กลง ความจาเสอม หลงลมงาย 7 สมองแลละสติปญญา - สมองเสื่อม เหยว เลกลง ความจําเสื่อม หลงลืมงาย 8. ระบบตอมไรทอและ - ตับออนหลั่งฮอรโมนอินซูลนนอยลง ิ ฮอรโมน โ - ตอมใตสมองเสืื่อม ทําใหรูสึกออนเพลีย เบืื่ออาหาร 9. 9 ระบบสบพนธุและ ื ั  - ตอมเพศ มการเปลยแปลงฮอรโมนเพศในหญง  ี ป ี่ ป โ ใ ิ ระบบปสสาวะ - การถายปสสาวะจะมีปริมาณลดลง แตบอยครั้ง 
  • 23. ระบบรางกาย ลักษณะการเจริญเติบโตและความเสื่อมของวัยสูงอายุ ทางดานจิตใจ -สูญเสียบุคคลอันเปนทีรัก ่ -สญเสียสัมพัธภาพภายในครอบครัว สูญเสยสมพธภาพภายในครอบครว -สูญเสียความสัมพันธทางเศรษฐกิจและสังคม -สูญเสียสมรรถภาพทางเพศ
  • 24. ระบบรางกาย ลักษณะการเจริญเติบโตและความเสื่อมของวัยสูงอายุ ทางดานสงคม  ั - การเปลยนแปลงรูปแบบของสงคม ป ี่ ป ั - การเปลี่ยนแปลงสภาพของสังคม - ความสูญเสีียและความคัับของใจทางสัังคม ใ - ความสัมพันธกับชุมชนลดลง
  • 25. การเปลีี่ยนแปลงและสภาพปญหาทางรางกาย ป ป ป 1. ภาวะสมองเสื่อม อาการ เกิดความบกพรองในการ รับรู การเรียนรู การตัดสินใจ การใชภาษา การทากจวตร การใชภาษา การทํากิจวัตร ประจําวัน บุคคลิกภาพ เปลี่ยนไปจากเดิิม ป ี ไป
  • 26. 10 สัญญาณอันตราย...สมองเสื่อม! 1. สูญเสียความจําในระยะสั้น ทีกระทบตอการทํางาน ่ 2. สิ่งที่เคยทําเปนประจําเริ่มทําไมเปน สงทเคยทาเปนประจาเรมทาไมเปน 3. ปญหาดานภาษา เลือกคําพูดไมคอยถูก  4. ไมรูเวลา และสถานที่ 5. สูญเสียการตัดสินใจ 6. ไมคอยเขาใจความคิดที่เปนนามธรรม  7. วางของผดทแปลกๆ 7 วางของผิดที่แปลกๆ 8. อารมณหรือพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง 9. บคลิกภาพเปลี่ยนแปลง และ บุคลกภาพเปลยนแปลง 10. สูญเสียความคิดริเริ่ม
  • 27. ปจจัยเสี่ยง การเกิดโรคตางๆ เชน โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดัน-โลหิต สูง โรคเบาหวาน หรือ พฤติกรรมการใชสารเสพติด ู ฤ การปฏิบัติตัวเพื่อปองกันภาวะสมองเสือม ป ิ ื ั ื่ - ตรวจสขภาพตนเองอยางสม่ําเสมอ ตรวจสุขภาพตนเองอยางสมาเสมอ - สรางเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี - หลีกเลี่ยงหรืองดการสูบบุหรี่ ดื่มสุราและการใชสารเสพติด - เขารวมกิจกรรมกับครอบครัวและสังคม เขารวมกจกรรมกบครอบครวและสงคม - ใชสมองมาก ๆ
  • 28. อาการเวยนศรษะจากการเสยการทรงตว อาการเวียนศีรษะจากการเสียการทรงตัว อาการ เวียนศีรษะ ไมสามารถทรงตัวอยูได ซึ่งพบรอยละ 40 ใน ผูสูงอายุซึ่งเปนสาเหตุทําใหเกิดการหกลม การดูแลตนเองเพื่อปองกัน 1. ดูแลสุขภาพโดยรวม 2. เมอพบอาการผดปกต ควรรบพบแพทย 2 เมือพบอาการผิดปกติ ควรรีบพบแพทย ่ 3. หมันบริหารศีรษะและคอ ่
  • 29. โรคตาในผู ูงอายุ โรคตาในผสงอาย โรคตอกระจก โรคตอกระจก เกิดจากกการเสื่อมสลายของเลนสแกวตา เกิดการขุนมัว แสงผานไมได อาการ ตามัว มองไมชัด มองไมเห็น การดูแลตนเอง - พบแพทยเพืื่อรับการรักษา - ควบคุมนําตาลในเลืือด ้ - หลีกเลี่ยงการถูกแสงจา - หามซื้อยาหยอดตามาใชเอง
  • 30. โรคต ิ โ อหิน เกิดจากการอุดตันการไหลเวียนของน้ําในลูกตา ุ ู ทําใหความดันในลูกตาสูงกวาปกติ แบงออกเปน 2 ชนิด 1. ตอหินชนิดเฉียบพลัน 2.  ิ ิ ื้ ั 2 ตอหนชนดเรอรง
  • 31. ตอหินชนิดเฉียบพลัน เกิดขึ้นทันทีโดยไมทราบสาเหตุ มีอาการปวด ตามากคลื่นไส อาเจียน ตามัว มองเห็นแสงเปนสี ตางๆ รอบดวงไฟ  ไฟ ตอหินชนิดเรื้อรัง ความดันน้าในลูกตาคอยๆ เพิ่มขึ้นอยางชาๆ ํ ปวดไมรุนแรง มองเห็นแสงเปนสีตางๆ รอบ  ดวงไฟ ไฟ
  • 32. การดูแลตนอง - รีบรักษาทันที - ไ ควรซืื้อยาหยอดตามาใชเอง ไม
  • 33. โรคหูในผูสูงอายุ รอยละ ผู อาย ปขนไป รอยละ 30 ผที่อายุ 65 ปขึ้นไป รอยละ ผู อาย ปขนไป รอยละ 50 ผที่อายุ 75 ปขึ้นไป สาเหตุ เกิดจากความเสื่อมของประสาทสําหรับสงเสียงในหูชนใน ้ั
  • 34. อาการ ฟงไมชัด แยกที่มาของเสียงไมออก หูอื้อ หาก รุนแรงจะสูญเสีียการไดยิน ไ  การดูแลรักษา ลดเสยงรบกวน ไมตะโกนใสกน กรณีที่หตงมาก ลดเสียงรบกวน ไมตะโกนใสกน กรณทหูตึงมาก ั ควรใชอุปกรณชวยฟง
  • 35. โรคขอเขาเสอม โรคขอเขาเสื่อม สาเหตุ - เกิดจากความเสื่อม เกดจากความเสอม - น้ําหนักตัวมาก นาหนกตวมาก - เคยไดรบอบัตเหตุมากอน เคยไดรบอุบติเหตมากอน ั - ติดเชื้อบริเวณขอเขา ตดเชอบรเวณขอเขา
  • 36. อาการ ปวดขอ ขอฝด ขอบวมผิดรูป มีปญหาเกี่ยวกับการใชขอ ู การดูแลตนเอง การดแลตนเอง - ใชความรอนประคบ - บริหารกลามเนือใหแข็งแรง ้ - หลีกเลีี่ยงทาทางทีี่ไมเหมาะสม ี  - ใชไมเทาชวย และควบคมน้ําหนักตัว ใชไมเทาชวย และควบคุมนาหนกตว
  • 37. ทองผูก สาเหตุ - การเคลื่อนไหวของลําไสลดลง - การรับยาตางๆ และการเจ็บปวยดวยโรคบางชนิด การดูแลตนเอง - รัับป ประทานอาหารทีมกากใยมากๆ ี่ ี ใ - ออกกําลังกาย - งดดื่มยา กาแฟ - หากทองผกติดตอเปนเวลานานควรพบแพทย ู
  • 38. ปญหาเกยวกบการขบถายปสสาวะ ป ี่ ั ั  ป เกิดจากความเสื่อมของระบบปสสาวะ การดูแลตนเอง - ไมควรกลั้นยปสสาวะเปนเวลานาน ไมควรกลนยปสสาวะเปนเวลานาน - งดดืมชา กาแฟ เพราะเปนตัวกระตุนใหอยากถายปสสาวะ ่
  • 39. นอนไมหลับ ไ ั สาเหตุ - ธรรมชาติของวัยสูงอายุ จะมีระยะเวลาในการนอนสั้นลง - การไดรับยาบางชนิด การไดรบยาบางชนด - ดื่มเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ สุรา - การเจ็บปวย - ภาวะดานจิตใจ ภาวะดานจตใจ
  • 40. การปฏิบัตตนเมื่อนอนไมหลับ ฏ ิ - ทําจิตใจใหสงบ - พยายามออกกําลังกาย - งดดืมชา กาแฟ และสุรา ื่ - ไมควรนอนกลางวน ไมควรนอนกลางวัน - หากปฏบัตทั้งหมดดังกลาวแลวไมไดผลควรพบแพทย  ิ
  • 41. สุขภาพชองปาก  ป - ฟนสึก ใชและดแลรักษาฟนไมถกวิธี ู ู - ฟนผ ฟนผุ ดูแลรกษาฟนไมถูกวธ ดแลรักษาฟนไมถกวิธี - โรคปริทันต โรคปรทนต เปนปญหาทพบมาก เปนปญหาที่พบมาก
  • 42. การดูแลรกษาสุขภาพชองปากของผู ูงอายุ การดแลรักษาสขภาพชองปากของผสงอาย - รกษาความสะอาดของฟนและชองปาก ั ฟ  ป - เลอกรบประทานอาหารทมคุณคา เลือกรับประทานอาหารที่มีคณคา - เลือกใชเครื่องชวยทําความสะอาดฟน - ตรวจสุขภาพฟนทุก 6 เดือน
  • 43. อบัติเหตทีเ่ กิดกับผูสูงอายุ ุ ุ สาเหตุ การปองกัน ป ั โดยสวนใหญเกดจาก โดยสวนใหญเกิดจาก - ระมัดระวังในการทํากิจกรรมตางๆ ระมดระวงในการทากจกรรมตางๆ การเปลี่ยนแปลงของ - จัดบานเรือนใหสะอาดเรียบรอย รางกาย - เมื่อไดรับอุบัติเหตุตองแจงให  ลูกหลานทราบ - ควรพบแพทยเพื่อตรวจสขภาพ ควรพบแพทยเพอตรวจสุขภาพ ประจําป
  • 44. การเปลี่ยนแปลงทางดานจิตใจอารมณและสังคมในวัยสูงอายุุ ู - ความเครียด ความวิตกกังวลและความไมมนใจ ั่ เกีี่ยวกับอนาคตของตนเอง - ซึมเศรา มความคดฟุงซาน ซมเศรา มีความคิดฟ ซาน - ระแวง คิดซ้ําซาก ไมไววางใจผูอน  ื่
  • 45. แนวทางปองกนและแกไขปญหาสุขภาพจตในผู ูงอายุ แนวทางปองกันและแกไขปญหาสขภาพจิตในผสงอาย ตระหนักและระวังความรูสึก และความคิดของ ตนเอง คอยกระตุนเตือนตนเองใหกระทํากิจวัตรประจําวัน ุ เขารวมกิจกรรมทางสังคม ทํางานอดิเรกที่ชื่นชอบ สรางเสริิมสัมพันธภาพภายในครอบครััว ั ั ใ ฝกจตใหสงบ ฝกจิตใหสงบ
  • 46. แนวทางการปฏบตสาหรบผู ูงอายุ แนวทางการปฏิบัติสําหรับผสงอาย - ดูแลรักษาสุขภาพทางกาย ใหแข็งแรง - ดูแลรัักษาสุขภาพจิิตใ ใจ อารมณใหเปนปกต อารมณใหเปนปกติ - อยูในสังคมอยางเปนปกติ ู ไมแยกตัว
  • 47. การปฏิิบัติตัวของลูกหลานตอผูสูงอายุ ป  - ดูแลชวยเหลือทางดานการสงเสริมและรักษา สุขภาพทางดานรางกาย - การสงเสริมดูแลสุขภาพจิต - การสงเสรมทางดานสงคม การสงเสริมทางดานสังคม
  • 48. กิจกรรมทบทวนความรูู 1. จากการศึกษาเรื่องการดูแลและสงเสริมสุขภาพ ของผูใหญวยทองและวยสูงอายุ ใ  ิ  ั ั ใหวเคราะหปจจยทมี ป ั ี่  ผลตอการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ ของผูใหญวัยทองและ วัยสูงอายุลงในหนังสือรียนวิชาสุขศึกษา หนา 36 - 40 (แบบฝกหดทายบทเรยน (แบบฝกหัดทายบทเรียน)