SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
 การเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 ระบบโครงกระดูก
กระดูกแกน
กระดูกรยางค์
ข้อต่อและเอ็นยึดกระดูก
 ระบบกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อยึดกระดูก
กล้ามเนื้อหัวใจ
กล้ามเนื้อเรียบ
โครงสร้างและการทางาน
ของกล้ามเนื้อยึดกระดูก
ระบบโครงกระดูก
 ระบบโครงกระดูกประกอบด้วย
- กระดูกแกน (axial skeleton)
- กระดูกรยางค์ (appendicular skeleton)
 เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ ประกอบด้วย กระดูกประมาณ
206 ชิ้น ต่อกัน
ระบบโครงกระดูก
(pectoral girdle)
ilium
sacrum
pubis
ischium
สีน้ำเงิน คือ กระดูกแกน 80 ชิน
สีเหลือง คือ กระดูกรยำงค์ 126 ชิน
กระดูกแกน
 กระดูกแกนมีจานวน 80 ชิ้น ประกอบด้วยกระดูกกะโหลก
ศรีษะ กระดูกสันหลัง กระดูกหน้าอกและกระดูกซี่โครง
 กระดูกกะโหลกศรีษะเป็นกระดูกที่เป็นแผ่นเชื่อมติดกัน
ภายในมีลักษณะเป็นโพรง สาหรับบรรจุสมองทาหน้าที่ป้องกัน
สมองไม่ให้ได้รับอันตราย
8
กะโหลกศีรษะ(skull)รวมทั้ง
กระดูกชิ้นเล็กๆ อีกหลายๆชิ้น
เชื่อมติดต่อกัน ภายในลักษณะ
คล้ายกล่องบรรจุเนื้อสมองไว้
กะโหลกศีรษะจึงทาหน้าที่ทั้ง
ห่อหุ้มและป้องกันมันสมองที่อยู่
ภายในนอกจากบริเวณกะโหลก
ศีรษะแล้ว ยังมีกระดูกแก้ม
กระดูกขากรรไกรซึ่งมีฟันอยู่
ภายในซอก การเคี้ยวอาหาร
เกิดจากการเคลื่อนไหวของ
ขากรรไกรล่าง
แผนภาพแสดงกระดูกแกน (ก) กระดูกรยางค์ (ข) ซึ่งแสดงด้วยสีดา
กะโหลกศีรษะ
กระดูกสันหลัง
 ทาหน้าที่ช่วยค้าจุนและรองรับน้าหนักของร่างกาย
 ประกอบด้วยกระดูกที่มีลักษณะเป็นข้อๆ ต่อกัน
 ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อจะมีแผ่นกระดูกอ่อน หรือเรียกว่า
หมอนรองกระดูก ทาหน้าที่รองและเชื่อมกระดูกสันหลัง แต่ละข้อ
เพื่อป้องกันการเสียดสี
 กระดูกสันหลังแต่ละข้อจะมีช่องให้ไขสันหลังสอดผ่าน
และจะมีส่วนของจะงอยยื่นออกมาเป็นที่เกาะของกล้ามเนื้อและเอ็น
10
รูปแสดงส่วนต่าง ๆ ของกระดูกสันหลัง
มีจานวน 12 คู่ โดยกระดูก
ซี่โครงทุกชิ้นจะเชื่อมต่อกับ
ด้านข้างของกระดูกสันหลัง
ช่วงอก โดยตอนปลายของ
กระดูกซี่โครง (sternum)
ยกเว้นกระดูกซี่โครงคู่ที่ 11
และคู่ที่ 12 เป็นกระดูกสั้น ไม่
เชื่อมติดกับกระดูกอก เรียกว่า
ซี่โครงลอย (floating ribs)
รูปที่ ซี่โครงและกระดูกอก ก. ด้านหน้าข. ด้านหลัง
กระดูกซี่โครง
กระดูกรยางค์
กระดูกรยางค์มีทั้งสิ้น 126 ชิ้น ได้แก่
 กระดูกแขน
 กระดูกขา
 กระดูกสะบัก
 กระดูกเชิงกราน
13
 กระดูกรยางค์ มี 126 ชิ้น ได้แก่
กระดูกแขนและกระดูกขาซึ่งต่อยื่น
ออกมาจากกระดูกแกนในลักษณะ
เป็นคู่ๆ กระดูกสะบัก (scapula)
กระดูกไหปลาร้า (clavicle) รวม
เป็นกระดูกหัวไหล่ (pectoral
girdle) และกระดูกเชิงกราน
(pelvic girdle )
กระดูกรยางค์ (Appendicular skeleton)
ข้อต่อและเอ็นยึดกระดูก
ข้อต่อและเอ็นยึดกระดูก
 ตาแหน่งที่กระดูก 2 ชิ้นมาต่อกัน เรียกว่า ข้อต่อ (joint)
 ลักษณะของข้อต่อ
- ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้ากระดูก
- ข้อต่อแบบบานพับ
- ข้อต่อแบบเดือย
- ข้อต่อแบบอานม้า
- ข้อต่อแบบสไลด์
- ข้อต่อแบบเคลื่อนไหวไม่ได้
ข้อต่อ: เป็นบริเวณที่กระดูกมาต่อกับ
กระดูก มี synovial memebranes
มาหุ้มบริเวณข้อต่อ เพื่อป้องกันการ
เสียดสีระหว่างกระดูก จะมีกระดูก
อ่อนมาทาหน้าที่เป็นหมอนรอง และ
มี synovial fluid ทาหน้าที่เป็นสาร
หล่อลื่น
Ligament: เป็นเอ็นที่ยึดระหว่าง
กระดูกกับกระดูก
Tendon: เป็นเอ็นที่ยึดระหว่าง
กล้ามเนื้อกับกระดูก
ข้อต่อ (articulation หรือ Joint)
ชนิดข้อต่อ
fibrous joint เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้และมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
บางๆ ยึดกระดูกสองชิ้นไว้ หรืออาจหุ้มภายนอกไว้ เช่น กระดูก
กะโหลกศรีษะ
cartilagenous joint เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เช่น ข้อ
ต่อระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูกอก ข้อต่อระหว่างท่อนกระดูกสัน
หลัง ข้อต่อระหว่างกระดูกเชิงกรานซีกซ้ายกับซีกขวาทางด้าน
หัวหน่าว
sylnovial joint เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก ประกอบด้วย
กระดูกอย่างน้อย 2 ชิ้น
ข้อต่อซิลโนเวียล
(sylnovial joint)
แบบที่ 1 พบที่ใดของร่างกาย..........
แบบที่ 2 พบที่ใดของร่างกาย..........
แบบที่ 3 พบที่ใดของร่างกาย..........
ข้อต่อมีหลายชนิดได้แก่
 ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้ากระดูก(ball and socket joint)หมุนได้อิสระ
รอบๆทุกทิศทาง เช่น หัวไหล่ โคนขา
 ข้อต่อแบบบานพับ(hinge joint) ทาให้ยืดเหยียดและงอได้เช่นข้อต่อ
ข้อศอก ข้อต่อเข่า นิ้วมือนิ้วเท้า
 ข้อต่อแบบเดือย(pivot joint) ทาให้กระดูกเกิดการหมุนได้เช่น ข้อต่อ
ระหว่างกระดูกต้นคอกับฐานของกะโหลก
 ข้อต่อแบบอานม้า(saddle joint) ข้อต่อกระดูกฝ่ามือกับกระดูก
นิ้วหัวแม่มือ)
 ข้อต่อแบบสไลด์(gliding joint) ข้อต่อกระดูกข้อมือ ข้อเท้า
 ข้อต่อแบบคอนไดลอยด์ เช่นข้อต่อกระดูกฝ่ามือกับกระดูกนิ้วมือ
21
ข้อต่อ
น้าไขข้อและเอ็นยึดข้อ
 น้าไขข้อ คือของเหลวที่อยู่ระหว่างกระดูกบริเวณข้อต่อ
ทาหน้าที่หล่อลื่น ทาให้กระดูกไม่เสียดสีกันขณะเคลื่อนไหว
ทาให้เคลื่อนไหวได้สะดวกไม่เกิดความเจ็บปวด
 เอ็นยึดข้อ หมายถึงโครงสร้างที่ยึดกระดูกให้เชื่อมติดต่อ
กัน เพื่อทาหน้าที่เป็นโครงร่างค้าจุนร่างกายและทาให้
กระดูกทางานสัมพันธ์กันในการเคลื่อนไหว ซึ่งก็คือเนื้อเยื่อ
เกี่ยวพันที่มีความเหนียวทนทานนั่นเอง
ระบบกล้ามเนื้อ
ก.ภาพถ่ายและภาพวาดของกล้ามเนื้อยึดกระดูก
ข.ภาพถ่ายและภาพวาดของกล้ามเนื้อหัวใจ
ค.ภาพถ่ายและภาพวาดของกล้ามเนื้อเรียบ
กล้ามเนื้อยึดกระดูก (skeletal muscle)
 เป็นกล้ามเนื้อที่เกาะติดกับโครงกระดูก เช่น กล้ามเนื้อแขน
กล้ามเนื้อขา
 ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยตรง
 เซลล์กล้ามเนื้อยึดกระดูกมีลักษณะมองเห็นเป็นแถบลาย สีอ่อน
สีเข้มสลับกันเห็นเป็นลาย
 เซลล์มีลักษณะเป็นทรงกระบอกยาวแต่ละเซลล์มีหลายนิวเคลียส
 การทางานถูกควบคุมโดยระบบประสาทโซมาติก ซึ่งสามารถ
บังคับได้ หรืออยู่ในอานาจจิตใจ
กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle)
 เซลล์มีรูปร่างเป็นทรงกระบอก แต่สั้นกว่าเซลล์
กล้ามเนื้อยึดกระดูกและเห็นเป็นลาย ตอนปลายของ
เซลล์แตกแขนงและเชื่อมโยงติดต่อกันกับเซลล์
ข้างเคียง
 การทางานของกล้ามเนื้อหัวใจถูกควบคุมโดยระบบ
ประสาทอัตโนมัติ ร่างกายไม่สามารถบังคับได้ หรืออยู่
นอกอานาจจิตใจ
กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle)
 เป็นกล้ามเนื้อที่พบอยู่ตามอวัยวะภายใน เช่น ผนัง
กระเพาะอาหาร ผนังลาไส้ ผนังหลอดเลือด และม่านตา
 กล้ามเนื้อเหล่านี้ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาว
หัวท้ายแหลม แต่ละเซลล์มี 1 นิวเคลียส ไม่มีลายพาดขวาง
 การทางานถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ
การทางานของกล้ามเนื้อยึดกระดูก
 กล้ามเนื้อจะมีการทางานเป็นคู่
 การงอและเหยียดแขนเกิดจากการทางานของกล้ามเนื้อไบเซพ (bicep) และไตรเซพ
(tricep) ในขณะที่ไบเซพหดตัวไตรเซพจะคลายตัว ทาให้แขนงอเข้า และขณะที่ไบเซพ
คลายตัวไตรเซพจะหดตัวทาให้แขนเหยียดออก
โครงสร้างและการทางานของกล้ามเนื้อยึดกระดูก
 กล้ามเนื้อยึดกระดูกแต่ละมัด ประกอบด้วยเส้นใยกล้ามเนื้อ
(muscle fiber) หรือเซลล์กล้ามเนื้อ (muscle cell)
 ภายในเส้นใยกล้ามเนื้อ ประกอบด้วยเส้นใยกล้ามเนื้อเล็ก
มีลักษณะเป็นท่อนยาวเรียงซ้อนกันเส้นใยกล้ามเนื้อเหล่านี้
จะอยู่รวมกันเป็นมัด
 เส้นใยกล้ามเนื้อประกอบด้วย ไมโครฟิลาเมนท์ 2 ชนิด
คือชนิดบางและชนิดหนาซึ่งเป็นสายโปรตีนแอกทินและ
ไมโอซิน ตามลาดับ
โครงสร้างเส้นใย
กล้ามเนื้อ เส้นใย
กล้ามเนื้อเล็ก
และการเรียงตัว
ของแอกทินกับ
ไมโอซิน
การทางานของเส้นใยกล้ามเนื้อ
 ฮักซเลย์และแฮนสัน (H.E.Huxley และ Hanson)
ได้เสนอสมมติฐานการหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดจากการเลื่อน
ตัวของแอกทินเข้าหากันตรงกลาง (sliding filament
hypothesis) การเลื่อนของโปรตีนดังกล่าวทาให้เส้นใย
กล้ามเนื้อหดตัว

More Related Content

What's hot

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังWan Ngamwongwan
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 

What's hot (20)

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 

Similar to การเคลื่อนที่ของคน

บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfRatarporn Ritmaha
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptxบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptxRatarporn Ritmaha
 
ระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxKanokvanKS
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตComputer ITSWKJ
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal systemRungsaritS
 

Similar to การเคลื่อนที่ของคน (12)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
 
ระบบกระดูก
ระบบกระดูกระบบกระดูก
ระบบกระดูก
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptxบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์.pptx
 
ระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptx
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
 
Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)
 
Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)
 

More from สุรินทร์ ดีแก้วเกษ

การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 

More from สุรินทร์ ดีแก้วเกษ (20)

คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
 
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
Googlesites v.2
Googlesites v.2Googlesites v.2
Googlesites v.2
 
Google site
Google siteGoogle site
Google site
 
Go go board introduction
Go go board introductionGo go board introduction
Go go board introduction
 
Social net
Social netSocial net
Social net
 
การใช้งาน Go go board เบื้องต้น
การใช้งาน Go go board เบื้องต้นการใช้งาน Go go board เบื้องต้น
การใช้งาน Go go board เบื้องต้น
 
Robot form University of Phayao
Robot form University of PhayaoRobot form University of Phayao
Robot form University of Phayao
 

การเคลื่อนที่ของคน