SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
บทเรียนสาเร็จรูป
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
เล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
นางเกษรินทร์ กาญจณะดี
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ
โรงเรียนวัดเขาขุนพนม ตาบลบ้านเกาะ อาเภอพรหมคีรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก
คำนำ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งเน้นให้
ผู้เรียนได้รู้จักการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง มีความคิดสร้างสรรค์ รักการอ่าน
คิดเป็ น ทาเป็ น แก้ปัญหาเป็ น ด้วยทักษะกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
บทเรียนสาเร็จรูปชุดนี้เป็นสื่อการเรียนการสอนที่ผู้สอนได้สร้างขึ้นเพื่อใช้
เป็ นนวัตกรรมในการศึกษาสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นสื่อที่ช่วยพัฒนากระบวนการเรียนรู้การศึกษาด้วยตนเอง
จากการอ่านตามความสามารถของนักเรียนแต่ละคน และมีประโยชน์ ต่อ ครู และ
นักเรียน ได้ใช้ประกอบการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ในสาระที่ 3สารและสมบัติของสาร เล่มที่1เรื่องสสารและสาร
ขอขอบคุณผู้อานวยการโรงเรียนวัดเขาขุนพนม คณะครู และ นักเรียน
และสถานศึกษาที่เป็นแหล่งทดลองใช้ ผู้จัดทาบทเรียนสาเร็จรูปหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
บทเรียนสาเร็จรูปชุดนี้ จะเป็ นนวัตกรรมหนึ่งที่ช่วยให้ การจัดการเรียนการสอน
เป็นไปตามความมุ่งหมายตลอดจนสามารถ ส่งผลทาให้ผลการเรียนรู้ทางการเรียน
ของผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
เกษรินทร์ กาญจณะดี
ข
สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
คานา ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ค
ลาดับขั้นตอนการเรียนโดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป 1
คาแนะนาการใช้บทเรียนสาเร็จรูป 2
มาตรฐานการเรียนรู้ 3
ตัวชี้วัด 3
ผลการเรียนรู้ 3
สาระการเรียนรู้ 4
จุดประสงค์การเรียนรู้ 4
แบบทดสอบก่อนเรียน 5
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 7
กรอบที่ 1 8
กิจกรรมกรอบที่ 1 11
เฉลยกิจกรรมกรอบที่ 1 12
กรอบที่ 2 13
กิจกรรมกรอบที่ 2 21
เฉลยกิจกรรมกรอบที่ 2 22
กรอบที่ 3 23
กิจกรรมกรอบที่ 3 24
เฉลยกิจกรรมกรอบที่ 3 25
กรอบที่ 4 26
แบบทดสอบหลังเรียน 27
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 29
บรรณานุกรม 30
ภาคผนวก 32
ค
สำรบัญภำพ
ภำพที่ หน้ำ
1.1 คน อากาศ น้า ดิน ก้อนหิน เป็นสาร 8
1.2 ผัก ผลไม้ เป็นสาร 8
1.3 สัตว์ต่างๆ เป็นสาร 8
1.4 ต้นข้าวในท้องนา เป็นสาร 8
1.5 น้าส้มและส้ม เป็นสาร 9
1.6 แร่ธาตุ เป็นสาร 9
1.7 เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ เป็นสาร 9
2.1 แผนผังการเปลี่ยนสถานะของสาร 14
2.2 การเปลี่ยนสถานะของน้า 14
2.3 ถ่านก่อนการเปลี่ยนแปลง 15
2.4 ถ่านหลังการเปลี่ยนแปลงกลายเป็นเถ้าถ่านและควัน 15
2.5 การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง 18
2.6 การจัดเรียงอนุภาคของของเหลว 18
2.7 การจัดเรียงอนุภาคของแก๊ส 18
2.8 กระบวนการดูดกลืนความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะ
จากน้าแข็งกลายเป็นแก๊ส 19
2.9 กระบวนการคายความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะ
จากแก๊สกลายเป็นน้าแข็ง 20
1
1. อ่านคาแนะนา
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
3. ศึกษาบทเรียน
4. ทดสอบหลังเรียน 5. ไม่ผ่านการทดสอบ
5. ผ่านการทดสอบ
6. ศึกษาเรื่องใหม่
ลาดับขั้นตอนการเรียนโดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป
มาถึงต้นทางแล้วต้องปฏิบัติตามขั้นตอนการเรียนก่อน
ไม่งั้นจะเรียนไม่เข้าใจนะคะ
2
บทเรียนนี้เป็นบทเรียนสาเร็จรูปจัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนศึกษาด้วยตนเอง โปรดอ่าน
คาแนะนาก่อนศึกษาบทเรียนดังต่อไปนี้
1. บทเรียนนี้คือบทเรียนสาเร็จรูปแบบเส้นตรง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
2. ให้นักเรียนศึกษาลาดับขั้นการเรียนไปทีละขั้นตอน
3. ให้นักเรียนศึกษาผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อนเริ่มเรียน
4. ก่อนจะศึกษาให้ผู้เรียนเริ่มบทเรียนด้วยการทาแบบทดสอบก่อนเรียนลงในชุดกระดาษคาตอบ
ที่ครูแจกให้ เพื่อตรวจสอบความรู้ที่จะเรียนมากน้อยเพียงใด และตรวจคาตอบจากเฉลย
แบบทดสอบก่อนเรียน
5. บทเรียนในแต่ละหน้าเรียกว่ากรอบหรือเฟรมคือข้อความย่อยๆที่ให้ความรู้และมีคาถามซึ่ง
จะมีคาตอบอยู่ในหน้าถัดไปให้ศึกษาไปที่ละกรอบ แล้วตอบคาถามลงในกระดาษคาตอบที่ครูแจกให้
6. นักเรียนตรวจหาคาตอบในหน้าถัดไป ถ้าคาตอบถูกก็เรียนกรอบต่อไป ถ้าคาตอบผิด
ย้อนกลับไปทาความเข้าใจบทเรียนอีกครั้งหนึ่งจนกว่าจะตอบคาถามได้ถูกต้อง
7. ในขณะที่ศึกษาบทเรียนและปฏิบัติกิจกรรม ข้อสาคัญควรมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง
มุ่งมั่นที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองไม่เปิดดูเฉลยคาตอบก่อน
8. เมื่อศึกษาจบบทเรียนแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียนลงในกระดาษคาตอบที่ครูแจกให้
และตรวจคาตอบจากเฉลย เพื่อทราบความก้าวหน้าของนักเรียน
9. ถ้าสงสัยหรือต้องการคาแนะนาความช่วยเหลือให้ปรึกษาครูผู้สอน การเรียนรู้ด้วย
บทเรียนสาเร็จรูปจะประสบผลสาเร็จได้สูงสุด ต้องมีความตั้งใจ ขยันหมั่นเพียร รักการอ่าน
มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง
คาแนะนาในการใช้บทเรียนสาเร็จรูป
ทดสอบตัวเอง ต้องมั่นใจ และ
ซื่อสัตย์ต่อตัวเองนะครับ
3
มาตรฐาน ว3.1: เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง
และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว3.2: เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
1. ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์
และอธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม
2. อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสารโดยใช้แบบจาลองการจัดเรียง
อนุภาคของสาร
1. บอกความหมายของสสารและสารได้
2. อธิบายสมบัติของสารทางกายภาพและทางเคมีเบื้องต้นได้
3. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของสารทางกายภาพและทางเคมีเบื้องต้นได้
4. สามารถยกตัวอย่างสารในชีวิตประจาวันได้
ผลการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วัด
4
1. ความหมายของสสารและสาร
2. สมบัติของสาร
3. การเปลี่ยนแปลงของสาร
4. ตัวอย่างสารในชีวิตประจาวัน
1. นักเรียนสามารถบอกความหมายของสสารและสารได้ถูกต้อง
2. นักเรียนสามารถอธิบายสมบัติของสารทางกายภาพและทางเคมีเบื้องต้น
ได้ถูกต้อง
3. นักเรียนสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของสารทางกายภาพและทางเคมีเบื้องต้น
ได้ถูกต้อง
4. นักเรียนสามารถยกตัวอย่างสารในชีวิตประจาวันได้
สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
พร้อมแล้ว...เริ่มทา
แบบทดสอบก่อนเรียน กันเลยจ๊ะ
5
แบบทดสอบก่อนเรียน
บทเรียนสาเร็จรูป กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
คาสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมดจานวน 10 ข้อ แต่ละข้อมี 4 ตัวเลือกคือ ก ข ค และ ง
ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย  เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. สาร หมายถึงอะไร
ก. อนุภาคที่เรียกว่าอะตอม
ข. ธาตุต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ
ค. เนื้อของสารซึ่งมีมวลและสัมผัสได้
ง. อนุภาคที่มีขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้
2. สสารและสารแตกต่างกันอย่างไร
ก. น้าหนัก
ข. สมบัติของสาร
ค. อัตราส่วนผสม
ง. การต้องการที่อยู่
3. สารในข้อใดมีปริมาณไม่คงที
ก. ขี้เถ้า
ข. อากาศ
ค. สบู่เหลว
ง. นมข้นหวาน
4. สาเหตุที่ต้องจัดจาพวกสารออกเป็นหมวดหมู่ คือข้อใด
ก. สารแต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน
ข. สารแต่ละชนิดมีสถานะต่างกัน
ค. สารบางชนิดมีปฏิกิริยาคล้ายคลึงกัน
ง. สะดวกในการศึกษาสมบัติของสารนั้นๆ
5. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี
ก. ไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
ข. พลังงานเคมีของสารคงเดิม
ค. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ง่าย
ง. สมบัติของสารใหม่แตกต่างจากสารเดิม
6
6. ข้อใดถูกต้อง
ก. น้าไม่สามารถเปลี่ยนสถานะได้
ข. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อน
ค. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการคายความร้อน
ง. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อนและคายความร้อน
7. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ
ก. ความหนาแน่นของสาร
ข. ประเภทของสถานะของสารนั้นๆ
ค. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสาร
ง. สมบัติเกี่ยวกับจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสาร
8. เทียนไขละลายเมื่อได้รับความร้อนเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด
ก. เปลี่ยนสถานะ
ข. เปลี่ยนรูปร่าง
ค. เกิดสารละลาย
ง. เกิดปฏิกิริยาเคมี
9. ยีสต์ + น้าตาล + น้าอุ่น = สารใหม่ที่ได้คือข้อใด
ก. ขี้เถ้า
ข. ตะกอน
ค. ผงแป้ ง
ง. ฟองแก๊ส
10. ข้อใดเป็นสมบัติทางเคมี
ก. การเกิดสนิมเหล็ก
ข. การละลายน้าของเกลือ
ค. ความหนาแน่นของสาร
ง. การหลอมเหลวของน้าแข็ง
7
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
บทเรียนสาเร็จรูป กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนคะ
ข้อ 1. ค
ข้อ 2. ข
ข้อ 3. ข
ข้อ 4. ง
ข้อ 5. ง
ข้อ 6. ง
ข้อ 7. ก
ข้อ 8. ก
ข้อ 9. ง
ข้อ 10. ก
8
ความหมายของสสารและสาร
สสาร (matter) คือ สิ่งที่มีตัวตน มีมวล มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่และ
สามารถสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า สสารอาจจะมีสถานะเป็ นของแข็ง (solid)
ของเหลว (liquid) หรือแก๊ส (gas) อาจเป็ นสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิตก็ได้ เช่น อากาศ
น้า ดิน อาหาร พืช สัตว์ เก้าอี้ หนังสือ เครื่องจักรกล ฯลฯ ดังนั้น สิ่งต่างๆ ที่มีอยู่
ในโลกล้วนเป็นสสารทั้งสิ้น
กรอบที่ 1
ภาพที่ 1.1 คน อากาศ น้า ดิน ก้อนหิน เป็นสาร
บันทึกจาก: โครงการพระราชดาริ น้าพุร้อนสันกาแพง
(2551)
ภาพที่ 1.2 ผัก ผลไม้ เป็นสาร
ที่มา: โจเอล เลดี้. (2557)
ภาพที่ 1.3 สัตว์ต่างๆ เป็นสาร
ที่มา: วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2551)
ภาพที่ 1.4 ต้นข้าวในท้องนา เป็นสาร
บันทึกจาก: ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง จ. เชียงใหม่ (2551)
9
ภาพที่ 1.7 เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ เป็นสาร
ที่มา: พิษณุ เกตุงาม (2555)
สาร (substance) คือ ส่วนย่อยๆ หรือเป็ นองค์ประกอบของสสารนั่นเอง
ชนิดของสสารที่มีอยู่และที่เราพบเห็นนั้นมีอยู่มากมาย และหลายชนิดมองเห็นว่ามี
ลักษณะเป็นเนื้อเดียวกันตลอด แต่เมื่อนามาวิเคราะห์ดูให้ละเอียดแล้ว มักจะพบว่า
ประกอบด้วยสารชนิดต่างๆ จานวนหนึ่งเสมอ สารในโลกนี้มีอยู่มากมายเช่นกัน
และถ้านามาวิเคราะห์หรือแยกสลายดูต่อไปอีกจะพบว่าประกอบด้วยธาตุ
(element) ต่างๆ ที่มีอยู่ทั้งสิ้นเพียงร้อยกว่าชนิดเท่านั้น สารมีตัวตน มีน้าหนัก และ
ต้องการที่อยู่เช่นเดียวกับสสาร
http://happypa.wikispaces.com www.rmutphysics.com
ภาพที่ 1.5 น้าส้มและส้ม เป็นสาร
ที่มา: มาย ออเรนจ์ (2555)
ภาพที่ 1.6 แร่ธาตุ เป็นสาร
ที่มา: ภาควิชาฟิสิกส์ ม.เทคโนโลยีราชมงคล (2555)
10
อ๋อ อธิบายได้อย่างนี้จ๊ะ
ตกลง “สสาร” กับ “สาร”
แตกต่างกันอย่างไร
สสารและสาร ต่างเป็ นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา
มีน้าหนัก มีตัวตน ต้องการที่อยู่ และสามารถสัมผัสได้
แต่สสารไม่สามารถระบุสมบัติเฉพาะตัวได้ จึงกล่าวได้ว่า
สิ่งที่สามารถระบุสมบัติเฉพาะตัวได้คือสารนั่นเองสารแต่ละชนิด
จะมีสมบัติเฉพาะตัวแตกต่างกัน และมีจานวนมากในโลกนี้
จึงมีการศึกษาสมบัติของสารแต่ละชนิดและจัดแบ่งสาร
ออกเป็นหมวดหมู่ไงละจ๊ะ
รู้จักความหมายของสสารและสารแล้วไปทา
กิจกรรมกันเลยจ๊ะ
11
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. ความหมายของสสารและสาร
สสาร คือ ………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
สาร คือ…………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
2. สสารและสาร เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
สิ่งที่เหมือนกัน……………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………….
สิ่งที่แตกต่างกัน…………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………….
กิจกรรมกรอบที่ 1
2 ข้อไม่มากเกินไปนะคะ
เฉลยอยู่หน้าถัดไปค่ะ
12
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. ความหมายของสสารและสาร
สสาร คือ สิ่งที่มีตัวตนมีน้าหนักต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้งห้า
สาร คือ องค์ประกอบย่อยของสสาร เป็นสิ่งที่มีตัวตน มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่
และสัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้งห้าสามารถระบุสมบัติเฉพาะตัวของสารชนิดนั้นๆ ได้
2. สสารและสาร เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
สิ่งที่เหมือนกัน
เป็นสิ่งที่มีตัวตน มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้งห้า
สิ่งที่แตกต่างกัน
สสารเป็นสิ่งที่ไม่สามารถระบุสมบัติเฉพาะได้ แต่สารสามารถระบุ
สมบัติเฉพาะตัวของสารนั้นๆ ได้
เฉลยกิจกรรมกรอบที่ 1
ตอบถูกหมดใช่ไหมคะ
ถ้าตอบถูกไปต่อกรอบที่
2 เลยค่ะ
แต่ถ้าตอบผิด ควร
กลับไปทบทวนเนื้อหาใน
กรอบที่ 1 อีกครั้งนะครับ
13
สมบัติของสาร
สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสารที่สามารถบอกให้ทราบว่า
สารนั้นเป็นอะไร เพราะสารแต่ละชนิดมีสมบัติไม่เหมือนกัน ดังนั้นจึงมีการใช้เกณฑ์
การพิจารณาและอธิบายสมบัติของสารมาจัดจาแนกสารเพื่อสะดวกในการศึกษาสารนั้นๆ
สมบัติของสารแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี
สมบัติทางกายภาพ (physical properties)
เป็ นสมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด ซึ่งสามารถสังเกตได้ง่ายจากภายนอก
โดยไม่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมี สมบัติทางกายภาพบางอย่างของสารเป็นสิ่งที่เรารู้สึกได้
และบอกลักษณะได้ เช่น สี กลิ่น รส สถานะ เนื้อสาร รูปผลึก การยอมให้แสงผ่าน
ความเป็นมันวาว เป็ นต้น แต่บางอย่างก็เป็นสิ่งที่สังเกตได้โดยวัดจากการทดลอง
เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น ความถ่วงจาเพาะ การนาความร้อน
การนาไฟฟ้ า เป็นต้น
สมบัติทางกายภาพของสารเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ซึ่งจะเป็ นการเปลี่ยนลักษณะ
หรือสถานะไป เนื่องจากการเรียงตัวใหม่ของสารเดิมเท่านั้น จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
องค์ประกอบทางเคมี (สัดส่วนของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ) ของสารแต่อย่างใด ดังนั้น
จะไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น การละลายน้าตาลทรายในน้า โมเลกุลของน้าตาล
ทรายจะแทรกไปน้าโมเลกุลของน้าโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีของ
โมเลกุลของน้าตาลทรายและน้าแต่อย่างใด
กรอบที่ 2
สมบัติของสาร
สมบัติทางกายภาพ
สมบัติทางเคมี
14
ภาพที่ 2.2 การเปลี่ยนสถานะของน้า
ที่มา: การดูด-การคายความร้อน (2555)
ตัวอย่างการเปลี่ยนสถานะของน้า
การเปลี่ยนสถานะของสารอาจเป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน
ตัวอย่างการเปลี่ยนสถานะของสารที่พบในชีวิตประจาวัน ได้แก่ น้าแข็งหลอมเหลว
กลายเป็นน้าและน้าได้รับความร้อนกลายเป็นไอน้าเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน
ในทางตรงกันข้าม เมื่อไอน้าเปลี่ยนสถานะกลับมาเป็ นน้าและน้าแข็งเป็ นการเปลี่ยนแปลง
ประเภทคายความร้อน
ทราบหรือไม่คะ การเปลี่ยนสถานะ
ของสารหมายถึงอะไร... อธิบายได้
ดังแผนภาพค่ะ
ภาพที่ 2.1 แผนผังการเปลี่ยนสถานะของสาร
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
การหลอมเหลว การระเหย/การกลายเป็นไอ
การควบแน่นการแข็งตัว
การระเหิด
15
สมบัติทางเคมี (chemical properties)
เป็นสมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารที่แสดงออกมาให้เห็น
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยจะมีสารใหม่เกิดขึ้น
มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบภายในและมีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ
ของสารด้วยซึ่งสารใหม่ที่เกิดขึ้นจะมีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิมเช่นการเกิดสนิมเหล็ก
การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงการสังเคราะห์ด้วยแสงการเกิดฟองแก๊สจากการทาปฏิกิริยาเคมี
ของยีสต์ น้าตาล และน้าอุ่น เป็นต้น
การเผาถ่านก็เป็น การ
เปลี่ยนแปลงสมบัติทาง
เคมีเช่นกันใช่หรือไม่คะ
ใช่ครับ เพราะการเผาถ่านเป็น
การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมี ทา
ให้เกิดสารใหม่ ได้แก่ ขี้เถ้า และ ควัน สังเกต
ไหมว่ามีการเปลี่ยนแปลง ทาง
กายภาพเกิดขึ้นด้วย เพราะรูปร่างลักษณะ
ของก้อนถ่านเปลี่ยนแปลงไป
ภาพที่ 2.3 ถ่านก่อนการเปลี่ยนแปลง
ที่มา: ลุงดำ และทีมงำนนิตยสำร ต่วย'ตูน (2555)
ภาพที่ 2.4 ถ่านหลังการเปลี่ยนแปลงกลายเป็น
เถ้าถ่านและควัน
ที่มา: ลุงดำ และทีมงำนนิตยสำร ต่วย'ตูน (2555)
16
เป็นไงบ้างคะศึกษา การ
เปลี่ยนแปลงสมบัติของสาร
ทาความเข้าใจได้ไม่ยากใช่ไหมคะ
ลองเปรียบเทียบความแตกต่างของการเปลี่ยนแปลงทาง
กายภาพ และการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารดูนะครับ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
1. ไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
2. องค์ประกอบทางเคมีของสารคงเดิม
และไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น
3. พลังงานเคมีของสารคงเดิม
4. สารยังมีสมบัติต่างๆ คงเดิม
5. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ง่าย
เพราะเป็นการจัดโมเลกุลของสาร
ใหม่เท่านั้น
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
1. เกิดปฏิกิริยาเคมี
2. องค์ประกอบทางเคมีของสาร
เปลี่ยนแปลงไป และมีสารใหม่
เกิดขึ้น
3. พลังงานเคมีของสารเปลี่ยนแปลงไป
4. สมบัติของสารใหม่แตกต่างจาก
สารเดิม
5. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ยาก
เพราะการจัดโมเลกุลของสาร
เปลี่ยนแปลงไป
17
การเปลี่ยนแปลงสถานะกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร (change of state) เป็ นการทาให้ระยะห่าง
ระหว่างโมเลกุลของสารเปลี่ยนแปลงไป แต่องค์ประกอบของสารยังคงเป็นสารชนิดเดิม
สูตรโมเลกุลคงเดิม
ในธรรมชาติสารแต่ละชนิดจะปรากฏอยู่ในสถานะใดสถานะหนึ่ง ได้แก่
ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส เราสามารถทาให้สารเปลี่ยนจากสถานะหนึ่งไปเป็ น
สถานะหนึ่งได้ และสามารถทาให้กลับมาอยู่ในสถานะเดิมได้อีก การเปลี่ยนแปลง
สถานะของสารเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
โมเลกุล (molecule) หมายถึง อนุภาคที่เล็ก
ที่สุดของสารที่ยังแสดงสมบัติของสารนั้น และ
สามารถดารงตนอยู่เป็นอิสระได้
สูตรโมเลกุล (molecular formula) หมายถึง สัญลักษณ์
หรือกลุ่มของสัญลักษณ์ที่เขียนแทน 1 โมเลกุลของสาร ทาให้ทราบว่า
สารนั้นมีธาตุใดเป็นองค์ประกอบบ้าง เช่น
P4 : ฟอสฟอรัส 1 โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุฟอสฟอรัส 4 อะตอม
C6H12O6 : น้าตาลกลูโคส1โมเลกุลประกอบด้วยธาตุคาร์บอนไฮโดรเจน
และออกซิเจน จานวน 6,12 และ 6 อะตอมตามลาดับ
18
สถานะของสารสามารถแบ่งออกเป็ น 3 สถานะ คือ
1. ของแข็ง (solid) คือ สารที่มีรูปร่างและปริมาตรที่แน่นอน ไม่เปลี่ยนแปลง
ตามภาชนะ อนุภาคชิดกันเป็ นระเบียบ มีความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
โมเลกุลสูงกว่าของเหลวและแก๊ส
ภาพที่ 2.5 การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง
2. ของเหลว (liquid) คือ สารที่มีปริมาตรแน่นอน แต่มีรูปร่างไม่แน่นอน
เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ อนุภาคอยู่ใกล้เคียงกันแต่ไม่เป็นระเบียบ มีการชน
กันตลอดเวลา จึงมีความหนาแน่นสูงกว่าแก๊ส
ภาพที่ 2.6 การจัดเรียงอนุภาคของของเหลว
3. แก๊ส (gas) คือ สารที่มีรูปร่างและปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงตาม
ภาชนะที่บรรจุเพราะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จึงฟุ้ งกระจายได้เต็มภาชนะ
และมีความหนาแน่นต่า
ภาพที่ 2.7 การจัดเรียงอนุภาคของแก๊ส
19
การเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็ นของเหลว เรียกว่า การละลาย
การหลอมเหลว หรือ การหลอมละลาย และจากของเหลวเป็ นแก๊ส เรียกว่า
การระเหย หรือ การกลายเป็นไอ จะต้องทาให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคลดลง
หรืออนุภาคเกิดการจับตัวกันน้อยลง ซึ่งทาได้โดยใช้พลังงานเข้าช่วย
เมื่อให้ความร้อนแก่สารในสถานะของแข็ง จะทาให้ของแข็งหลอมเหลวกลายเป็ นของเหลว
และเมื่อให้ความร้อนแก่ของเหลวจะทาให้ของเหลวกลายเป็นแก๊สสารอาจมีการเปลี่ยนสถานะ
จากของแข็งเป็นแก๊ส เกิดจากอนุภาคได้รับความร้อนสูง จนแรงยึดเหนี่ยวหลุดจากกัน
เรียกว่า การระเหิด
ภาพที่ 2.8 กระบวนการดูดกลืนความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะจากน้าแข็งกลายเป็นแก๊ส
ถ้าทาของแข็งให้กลายเป็นของเหลว
หรือจากของเหลวให้กลายเป็นแก๊ส
ต้องให้ความร้อนกับสารใช่ไหมค่ะ
ใช่ครับ พลังงานความร้อนจะช่วย
ลดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
เรียกการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
แบบนี้ว่า ดูดความร้อน
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
ดูดความร้อน
การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ
การระเหิด
20
ในทางกลับกันการเปลี่ยนสถานะของสารจากแก๊สกลับมาเป็ นของเหลว
เรียกว่า การควบแน่น และจากของเหลวกลายเป็นของแข็ง เรียกว่า การเยือกแข็ง
นั้นจะต้องทาให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค เพิ่มขึ้นหรืออนุภาคจัดตัวกันมากขึ้น
ซึ่งทาได้โดยให้สารคายความร้อนออกมา เมื่อลดอุณหภูมิของสารในสถานะแก๊ส
ลงจะทาให้แก๊สควบแน่นกลายเป็นของเหลว และเมื่อลดอุณหภูมิของเหลวลงอีกจะ
ทาให้ของเหลวกลายเป็นของแข็งได้
ภาพที่ 2.9 กระบวนการคายความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะจากแก๊สกลายเป็นน้าแข็ง
พลังงานความร้อนที่ใช้ไปเพื่อเปลี่ยนสถานะของสารเรียกว่า ความร้อนแฝง
ถ้าเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็ นไอเรียกว่า ความร้อนแฝงของ
การกลายเป็ นไอ ถ้าเปลี่ยนสถานะของแข็งเป็ นของเหลวเรียกว่า ความร้อนแฝง
ของการหลอมเหลว
สารสามารถเปลี่ยนสถานะกลับไป
กลับมาได้ ครับ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ
การเปลี่ยนแปลงพลังงานที่เกิดขึ้นขณะ
เปลี่ยนสถานะว่าเป็นประเภทใด
แก๊ส ของเหลว ของแข็ง
คายความร้อน
การควบแน่น การเยือกแข็ง
ความร้อนแฝงใช้ในกระบวนเปลี่ยนสถานะ
ของสารนี้เอง เข้าใจแล้วค่ะ เด็กๆ ละคะ
เป็นอย่างไรบ้าง ถ้าเข้าใจแล้วไปทา
กิจกรรมในกรอบที่ 2 กันเลยค่ะ
21
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตอบที่ถูกต้องในกรอบที่กาหนด แล้วเติมคาตอบลงใน
ช่องว่างในแต่ละข้อ
1. สมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด สามารถสังเกตได้ง่ายจากภาพนอก คือ
……………………………………………………ของสาร
2. สมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ทาให้เกิดสารใหม่ คือ ………………………………………..ของสาร
3. การนาความร้อน เป็น………………………………..……………..ของสาร
4. การเกิดสนิมเหล็ก เป็น……………………………………………….ของสาร
5. ลักษณะผลึก เป็น……………………………………………ของสาร
6. ความหนาแน่น เป็น…………………………………………ของสาร
7. การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็น…………………………………………..ของสาร
8. การเผาไหม้ เป็น…………………………………………ของสาร
9. การละลายของน้าตาลในน้า เป็น……………………………………………..ของสาร
10. น้า ณ อุณหภูมิห้องมีสถานะเป็น……………………….เมื่อได้รับความร้อนจะ
ระเหยกลายเป็นไออยู่ในสถานะ………………………….แต่หากน้ามีอุณหภูมิต่ากว่า
0๐
C จากของเหลวจะกลายเป็น…………………………..
กิจกรรมกรอบที่ 2
สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
มั่นใจในคาตอบแล้ว
ตรวจคาตอบในหน้าถัดไป
ได้เลยครับ
22
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตอบที่ถูกต้องในกรอบที่กาหนด แล้วเติมคาตอบลงใน
ช่องว่างในแต่ละข้อ
1. สมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด สามารถสังเกตได้ง่ายจากภาพนอก คือ
สมบัติทางกายภาพ ของสาร
2. สมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารเมื่อมี
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีทาให้เกิดสารใหม่ คือ สมบัติทางเคมี ของสาร
3. การนาความร้อน เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร
4. การเกิดสนิมเหล็ก เป็น สมบัติทางเคมี ของสาร
5. ลักษณะผลึก เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร
6. ความหนาแน่น เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร
7. การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็น สมบัติทางเคมี ของสาร
8. การเผ้าไหม้ เป็น สมบัติทางเคมี ของสาร
9. การละลายของน้าตาลในน้า เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร
10. น้า ณ อุณหภูมิห้องมีสถานะเป็น ของเหลว เมื่อได้รับความร้อนจะ
ระเหยกลายเป็นไออยู่ในสถานะ แก๊ส แต่หากน้ามีอุณหภูมิต่ากว่า 0๐
C
จากของเหลวจะกลายเป็น ของแข็ง .
เฉลยกิจกรรมกรอบที่ 2
สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
ไม่ยากเกินไปใช่ไหมครับ
ถ้าทาถูกหมดแล้วศึกษาต่อ
ในกรอบที่ 3 เลยครับ
ถ้ายังตอบผิดอยู่ลอง
กลับไปศึกษาในกรอบที่ 2
อีกรอบนะคะ
23
คาชี้แจง นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 5–6 คน โดยวิธีการนับ ทาการทดลอง
เรื่อง อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะของน้า ตามวิธีการทดลองต่อไปนี้
ออกแบบตารางบันทึกผลแล้วนาเสนอหน้าชั้นเรียน
อุปกรณ์ 1. บีกเกอร์ขนาด 100 cm³1 ใบ
2. เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน
3. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด 1 ชุด
4. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง 1 ชุด
5. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน
สารเคมี 1. น้าแข็งทุบละเอียด 10 cm3
2. น้ากลั่น 5 cm3
วิธีการทดลอง
1. ใส่น้าลงในบีกเกอร์ให้สูงจากก้นบีกเกอร์ประมาณ 1 เซนติเมตร
2. ใส่น้าแข็งบดลงในน้าจนกระทั่งน้าเพิ่มระดับสูงขึ้นจากก้นบีเกอร์ 3 เซนติเมตร
3. จุ่มเทอร์มอมิเตอร์ที่มีสเกลลงในบีกเกอร์ แล้วอ่านอุณหภูมิผิวน้าผสมน้าแข็ง
จากเทอร์มอมิเตอร์ บันทึกอุณหภูมิที่เวลา 0 วินาทีซึ่งเป็นเวลาเริ่มต้น
4. ให้ความร้อนแก่บีกเกอร์ด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมจับเวลาและบันทึก
อุณหภูมิทุกๆ 30 วินาที แล้วสังเกตผลการเปลี่ยนแปลงของน้าผสมน้าแข็ง
5. เมื่อน้าเดือดให้ต้มต่อไปอีก3นาที ดับตะเกียงแอลกอฮอล์แล้วตั้งอุปกรณ์ทิ้งไว้ให้เย็น
6. เขียนกราฟในกระดาษกราฟ แสดงผลข้อมูลในรูปของแผนภูมิเส้น
กรอบที่ 3
24
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
กิจกรรมกรอบที่ 3
เด็กๆ ออกแบบตารางบันทึกผล
แล้วอย่าลืมนาข้อมูลมาเขียน
กราฟด้วยนะคะ
25
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
เฉลยกิจกรรมกรอบที่ 3
อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน
เตรียมนาเสนอหน้าชั้นเรียนนะคะ
26
สรุปบทเรียน
สสาร (matter) คือ สิ่งที่มีตัวตน มีมวล มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่และสามารถสัมผัสได้
ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า สสารอาจจะมีสถานะเป็นของแข็ง (solid) ของเหลว (liquid) หรือ
แก๊ส (gas) อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิตก็ได้
สาร (substance) คือ ส่วนย่อยๆ หรือเป็นองค์ประกอบของสสาร ที่สามารถระบุ
สมบัติเฉพาะได้
สมบัติของสาร หมายถึงลักษณะเฉพาะตัวของสารที่สามารถบอกให้ทราบว่าสารนั้นเป็นอะไร
สมบัติของสารแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี
สมบัติทางกายภาพของสาร เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งจะเป็นการเปลี่ยนลักษณะ
หรือสถานะไป เนื่องจากการเรียงตัวใหม่ของสารเดิมเท่านั้น จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
องค์ประกอบทางเคมี (สัดส่วนของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ) ของสารแต่อย่างใด ดังนั้นจะไม่มี
สารใหม่เกิดขึ้น
สมบัติทางเคมีของสาร เป็นสมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสาร
ที่แสดงออกมาให้เห็นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยจะมีสารใหม่
เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร เป็นการทาให้ระยะห่างระหว่างโมเลกุลของสาร
เปลี่ยนแปลงไป แต่องค์ประกอบของสารยังคงเป็ นสารชนิดเดิม สูตรโมเลกุลคงเดิม
การเปลี่ยนแปลงสถานะของสารเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
กรอบที่ 4
ดีใจจังพวกเราเรียนจบเล่มที่ 1
แล้วไปทาแบบทดสอบหลังเรียน
กันดีกว่า
27
แบบทดสอบหลังเรียน
บทเรียนสาเร็จรูป กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
คาสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมดจานวน 10 ข้อ แต่ละข้อมี 4 ตัวเลือกคือ ก ข ค และ ง
ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย  เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. สาร หมายถึงอะไร
ก. อนุภาคที่เรียกว่าอะตอม
ข. ธาตุต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ
ค. อนุภาคที่มีขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้
ง. เนื้อของสารซึ่งมีมวลและสัมผัสได้
2. สาเหตุที่ต้องจัดจาพวกสารออกเป็นหมวดหมู่ คือข้อใด
ก. สารแต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน
ข. สารแต่ละชนิดมีสถานะต่างกัน
ค. สารบางชนิดมีปฏิกิริยาคล้ายคลึงกัน
ง. สะดวกในการศึกษาสมบัติของสารนั้นๆ
3. สสารและสารแตกต่างกันอย่างไร
ก. น้าหนัก
ข. อัตราส่วนผสม
ค. สมบัติของสาร
ง. การต้องการที่อยู่
4. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ
ก. ความหนาแน่นของสาร
ข. ประเภทของสถานะของสารนั้นๆ
ค. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสาร
ง. สมบัติเกี่ยวกับจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสาร
5. สารในข้อใดมีปริมาณไม่คงที่
ก. ขี้เถ้า
ข. อากาศ
ค. สบู่เหลว
ง. นมข้นหวาน
28
6. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี
ก. ไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
ข. พลังงานเคมีของสารคงเดิม
ค. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ง่าย
ง. สมบัติของสารใหม่แตกต่างจากสารเดิม
7. ข้อใดเป็นสมบัติทางเคมี
ก. การเกิดสนิมเหล็ก
ข. ความหนาแน่นของสาร
ค. การละลายน้าของเกลือ
ง. การหลอมเหลวของน้าแข็ง
8. เทียนไขละลายเมื่อได้รับความร้อนเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด
ก. เปลี่ยนสถานะ
ข. เปลี่ยนรูปร่าง
ค. เกิดสารละลาย
ง. เกิดปฏิกิริยาเคมี
9. ยีสต์ + น้าตาล + น้าอุ่น = สารใหม่ที่ได้คือข้อใด
ก. ขี้เถ้า
ข. ตะกอน
ค. ผงแป้ ง
ง. ฟองแก๊ส
10. ข้อใดถูกต้อง
ก. น้าไม่สามารถเปลี่ยนสถานะได้
ข. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อน
ค. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการคายความร้อน
ง. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อนและคายความร้อน
29
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
บทเรียนสาเร็จรูป กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนค่ะ
ข้อ 1. ง
ข้อ 2. ง
ข้อ 3. ค
ข้อ 4. ก
ข้อ 5. ข
ข้อ 6. ง
ข้อ 7. ก
ข้อ 8. ก
ข้อ 9. ง
ข้อ 10. ง
30
บรรณานุกรม
การดูด-การคายความร้อน. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก
http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=29884
โจเอล เลดี้. (2557). ผัก ผลไม้ เป็นยารักษาโรคได้. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2557,
จาก http://joellady.com/category/ผัก-ผลไม้-เป็นยารักษาโรค/
นายพิษณุ เกตุงาม. (2555). การดูแลเฟอร์นิเจอร์ให้อยู่กับเราไปนานๆและ
การเลือกซื้อ. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก
http://webtumwai.com/detail.php?id_detail=25&txt=การดูแล
เฟอร์นิเจอร์ให้อยู่กับเราไปนานๆและ การเลือกซื้อ
บัญชา แสนทวี. (2553). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์
เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.
บัญญัติ ลายพยัคฆ์ และชนินทร์ทิพย์ ลายพยัคฆ์. (2549). กรอบมาตรฐานการเรียนรู้
และสาระการเรียนรู้ หมวดวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น.
กรุงเทพฯ: บรรณกิจ 1991.
พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. (2553).หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ม.1.
กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ(พ.ว.).
ภาควิชาฟิสิกส์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. (ม.ป.ป.). หิน และ แร่ธาตุ.
สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก
http://www.atom.rmutphysics.com/ charud/scibook/earth-
space/index26question.htm
มาย ออเรนจ์. (ม.ป.ป.). My Orange เราคือผู้ผลิตและจาหน่ายน้าส้มแท้ 100%
จาก สวนส้มธนาธร. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก
http://my-orangeshop.blogspot.com/
ยุพา วรยศ. (2551). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
ลุงดา และทีมงานนิตยสาร ต่วย'ตูน. (2555). ถ่าน ของดาๆ ที่ไม่ธรรมดา.
สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก http://www.neutron.
rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task=
view&id=2379&Itemid=4&limit=1&limitstart=19
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2551). สัตว์. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก
http://th.wikipedia.org/wiki/สัตว์
31
บรรณานุกรม (ต่อ)
วิชาการ, กรม. (2553). การจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
วิชาญ เลิศลพ และคณะ. (2553). กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: ประสานมิตร.
วีรวรรณ มหาวีโร และคณะ. (2532). วิทยาศาสตร์บรรยาย ม.ต้น. กรุงเทพฯ: แม็ค.
32
33
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
บทเรียนสาเร็จรูปเล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ชื่อ.............................................................................ชั้น...............เลขที่..........................
ข้อที่ ทดสอบ
ก่อนเรียน
ตรวจคาตอบ ข้อที่ ทดสอบ
หลังเรียน
ตรวจคาตอบ
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(นางเกษรินทร์ กาญจณะดี)
วันที่ ..........เดือน............................................พ.ศ..........
34
กระดาษคาตอบกรอบที่ 1
บทเรียนสาเร็จรูปเล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ชื่อ.................................................................ชั้น...............เลขที่...............
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. ความหมายของสสารและสาร
สสาร คือ ………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
สาร คือ…………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
2. สสารและสาร เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
สิ่งที่เหมือนกัน……………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………….
สิ่งที่แตกต่างกัน…………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………….
35
กระดาษคาตอบกรอบที่ 2
บทเรียนสาเร็จรูปเล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ชื่อ.................................................................ชั้น...............เลขที่...............
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตอบที่ถูกต้องในกรอบที่กาหนด แล้วเติมคาตอบลงใน
ช่องว่างในแต่ละข้อ
1. สมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด สามารถสังเกตได้ง่ายจากภาพนอก คือ
……………………………………………………ของสาร
2. สมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ทาให้เกิดสารใหม่ คือ ………………………………………..ของสาร
3. การนาความร้อน เป็น………………………………..……………..ของสาร
4. การเกิดสนิมเหล็ก เป็น……………………………………………….ของสาร
5. ลักษณะผลึก เป็น……………………………………………ของสาร
6. ความหนาแน่น เป็น…………………………………………ของสาร
7. การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็น…………………………………………..ของสาร
8. การเผาไหม้ เป็น…………………………………………ของสาร
9. การละลายของน้าตาลในน้า เป็น……………………………………………..ของสาร
10. น้า ณ อุณหภูมิห้องมีสถานะเป็น……………………….เมื่อได้รับความร้อนจะ
ระเหยกลายเป็นไออยู่ในสถานะ………………………….แต่หากน้ามีอุณหภูมิต่ากว่า
0๐
C จากของเหลวจะกลายเป็น………………………….
สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
36
กระดาษคาตอบกรอบที่ 3
บทเรียนสาเร็จรูปเล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
กลุ่มที่...............ชื่อกลุ่ม...................................................................
1. ....................................................................... เลขที่ ........... ประธานกลุ่ม
2. ....................................................................... เลขที่ ........... กรรมการกลุ่ม
3. ....................................................................... เลขที่ ........... กรรมการกลุ่ม
4. ....................................................................... เลขที่ ........... กรรมการกลุ่ม
5. ....................................................................... เลขที่ ........... กรรมการกลุ่ม
6. ....................................................................... เลขที่ ........... กรรมการและเลขานุการกลุ่ม
..............................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 

Similar to บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร

ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง OccupationsChamchuree88
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระบทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระjintanasuti
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนTar Bt
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..jiraporn1
 

Similar to บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร (20)

ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
00000618 0 20130711-103701 (1)
00000618 0 20130711-103701 (1)00000618 0 20130711-103701 (1)
00000618 0 20130711-103701 (1)
 
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระบทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 

บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร

  • 1. บทเรียนสาเร็จรูป กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร นางเกษรินทร์ กาญจณะดี ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ โรงเรียนวัดเขาขุนพนม ตาบลบ้านเกาะ อาเภอพรหมคีรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. ก คำนำ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งเน้นให้ ผู้เรียนได้รู้จักการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง มีความคิดสร้างสรรค์ รักการอ่าน คิดเป็ น ทาเป็ น แก้ปัญหาเป็ น ด้วยทักษะกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 บทเรียนสาเร็จรูปชุดนี้เป็นสื่อการเรียนการสอนที่ผู้สอนได้สร้างขึ้นเพื่อใช้ เป็ นนวัตกรรมในการศึกษาสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นสื่อที่ช่วยพัฒนากระบวนการเรียนรู้การศึกษาด้วยตนเอง จากการอ่านตามความสามารถของนักเรียนแต่ละคน และมีประโยชน์ ต่อ ครู และ นักเรียน ได้ใช้ประกอบการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ในสาระที่ 3สารและสมบัติของสาร เล่มที่1เรื่องสสารและสาร ขอขอบคุณผู้อานวยการโรงเรียนวัดเขาขุนพนม คณะครู และ นักเรียน และสถานศึกษาที่เป็นแหล่งทดลองใช้ ผู้จัดทาบทเรียนสาเร็จรูปหวังเป็นอย่างยิ่งว่า บทเรียนสาเร็จรูปชุดนี้ จะเป็ นนวัตกรรมหนึ่งที่ช่วยให้ การจัดการเรียนการสอน เป็นไปตามความมุ่งหมายตลอดจนสามารถ ส่งผลทาให้ผลการเรียนรู้ทางการเรียน ของผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น เกษรินทร์ กาญจณะดี
  • 3. ข สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คานา ก สารบัญ ข สารบัญภาพ ค ลาดับขั้นตอนการเรียนโดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป 1 คาแนะนาการใช้บทเรียนสาเร็จรูป 2 มาตรฐานการเรียนรู้ 3 ตัวชี้วัด 3 ผลการเรียนรู้ 3 สาระการเรียนรู้ 4 จุดประสงค์การเรียนรู้ 4 แบบทดสอบก่อนเรียน 5 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 7 กรอบที่ 1 8 กิจกรรมกรอบที่ 1 11 เฉลยกิจกรรมกรอบที่ 1 12 กรอบที่ 2 13 กิจกรรมกรอบที่ 2 21 เฉลยกิจกรรมกรอบที่ 2 22 กรอบที่ 3 23 กิจกรรมกรอบที่ 3 24 เฉลยกิจกรรมกรอบที่ 3 25 กรอบที่ 4 26 แบบทดสอบหลังเรียน 27 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 29 บรรณานุกรม 30 ภาคผนวก 32
  • 4. ค สำรบัญภำพ ภำพที่ หน้ำ 1.1 คน อากาศ น้า ดิน ก้อนหิน เป็นสาร 8 1.2 ผัก ผลไม้ เป็นสาร 8 1.3 สัตว์ต่างๆ เป็นสาร 8 1.4 ต้นข้าวในท้องนา เป็นสาร 8 1.5 น้าส้มและส้ม เป็นสาร 9 1.6 แร่ธาตุ เป็นสาร 9 1.7 เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ เป็นสาร 9 2.1 แผนผังการเปลี่ยนสถานะของสาร 14 2.2 การเปลี่ยนสถานะของน้า 14 2.3 ถ่านก่อนการเปลี่ยนแปลง 15 2.4 ถ่านหลังการเปลี่ยนแปลงกลายเป็นเถ้าถ่านและควัน 15 2.5 การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง 18 2.6 การจัดเรียงอนุภาคของของเหลว 18 2.7 การจัดเรียงอนุภาคของแก๊ส 18 2.8 กระบวนการดูดกลืนความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะ จากน้าแข็งกลายเป็นแก๊ส 19 2.9 กระบวนการคายความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะ จากแก๊สกลายเป็นน้าแข็ง 20
  • 5. 1 1. อ่านคาแนะนา 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ศึกษาบทเรียน 4. ทดสอบหลังเรียน 5. ไม่ผ่านการทดสอบ 5. ผ่านการทดสอบ 6. ศึกษาเรื่องใหม่ ลาดับขั้นตอนการเรียนโดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป มาถึงต้นทางแล้วต้องปฏิบัติตามขั้นตอนการเรียนก่อน ไม่งั้นจะเรียนไม่เข้าใจนะคะ
  • 6. 2 บทเรียนนี้เป็นบทเรียนสาเร็จรูปจัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนศึกษาด้วยตนเอง โปรดอ่าน คาแนะนาก่อนศึกษาบทเรียนดังต่อไปนี้ 1. บทเรียนนี้คือบทเรียนสาเร็จรูปแบบเส้นตรง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร 2. ให้นักเรียนศึกษาลาดับขั้นการเรียนไปทีละขั้นตอน 3. ให้นักเรียนศึกษาผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อนเริ่มเรียน 4. ก่อนจะศึกษาให้ผู้เรียนเริ่มบทเรียนด้วยการทาแบบทดสอบก่อนเรียนลงในชุดกระดาษคาตอบ ที่ครูแจกให้ เพื่อตรวจสอบความรู้ที่จะเรียนมากน้อยเพียงใด และตรวจคาตอบจากเฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน 5. บทเรียนในแต่ละหน้าเรียกว่ากรอบหรือเฟรมคือข้อความย่อยๆที่ให้ความรู้และมีคาถามซึ่ง จะมีคาตอบอยู่ในหน้าถัดไปให้ศึกษาไปที่ละกรอบ แล้วตอบคาถามลงในกระดาษคาตอบที่ครูแจกให้ 6. นักเรียนตรวจหาคาตอบในหน้าถัดไป ถ้าคาตอบถูกก็เรียนกรอบต่อไป ถ้าคาตอบผิด ย้อนกลับไปทาความเข้าใจบทเรียนอีกครั้งหนึ่งจนกว่าจะตอบคาถามได้ถูกต้อง 7. ในขณะที่ศึกษาบทเรียนและปฏิบัติกิจกรรม ข้อสาคัญควรมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง มุ่งมั่นที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองไม่เปิดดูเฉลยคาตอบก่อน 8. เมื่อศึกษาจบบทเรียนแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียนลงในกระดาษคาตอบที่ครูแจกให้ และตรวจคาตอบจากเฉลย เพื่อทราบความก้าวหน้าของนักเรียน 9. ถ้าสงสัยหรือต้องการคาแนะนาความช่วยเหลือให้ปรึกษาครูผู้สอน การเรียนรู้ด้วย บทเรียนสาเร็จรูปจะประสบผลสาเร็จได้สูงสุด ต้องมีความตั้งใจ ขยันหมั่นเพียร รักการอ่าน มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง คาแนะนาในการใช้บทเรียนสาเร็จรูป ทดสอบตัวเอง ต้องมั่นใจ และ ซื่อสัตย์ต่อตัวเองนะครับ
  • 7. 3 มาตรฐาน ว3.1: เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว3.2: เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 1. ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์ และอธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม 2. อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสารโดยใช้แบบจาลองการจัดเรียง อนุภาคของสาร 1. บอกความหมายของสสารและสารได้ 2. อธิบายสมบัติของสารทางกายภาพและทางเคมีเบื้องต้นได้ 3. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของสารทางกายภาพและทางเคมีเบื้องต้นได้ 4. สามารถยกตัวอย่างสารในชีวิตประจาวันได้ ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
  • 8. 4 1. ความหมายของสสารและสาร 2. สมบัติของสาร 3. การเปลี่ยนแปลงของสาร 4. ตัวอย่างสารในชีวิตประจาวัน 1. นักเรียนสามารถบอกความหมายของสสารและสารได้ถูกต้อง 2. นักเรียนสามารถอธิบายสมบัติของสารทางกายภาพและทางเคมีเบื้องต้น ได้ถูกต้อง 3. นักเรียนสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของสารทางกายภาพและทางเคมีเบื้องต้น ได้ถูกต้อง 4. นักเรียนสามารถยกตัวอย่างสารในชีวิตประจาวันได้ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมแล้ว...เริ่มทา แบบทดสอบก่อนเรียน กันเลยจ๊ะ
  • 9. 5 แบบทดสอบก่อนเรียน บทเรียนสาเร็จรูป กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร คาสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมดจานวน 10 ข้อ แต่ละข้อมี 4 ตัวเลือกคือ ก ข ค และ ง ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย  เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. สาร หมายถึงอะไร ก. อนุภาคที่เรียกว่าอะตอม ข. ธาตุต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ ค. เนื้อของสารซึ่งมีมวลและสัมผัสได้ ง. อนุภาคที่มีขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้ 2. สสารและสารแตกต่างกันอย่างไร ก. น้าหนัก ข. สมบัติของสาร ค. อัตราส่วนผสม ง. การต้องการที่อยู่ 3. สารในข้อใดมีปริมาณไม่คงที ก. ขี้เถ้า ข. อากาศ ค. สบู่เหลว ง. นมข้นหวาน 4. สาเหตุที่ต้องจัดจาพวกสารออกเป็นหมวดหมู่ คือข้อใด ก. สารแต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน ข. สารแต่ละชนิดมีสถานะต่างกัน ค. สารบางชนิดมีปฏิกิริยาคล้ายคลึงกัน ง. สะดวกในการศึกษาสมบัติของสารนั้นๆ 5. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี ก. ไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น ข. พลังงานเคมีของสารคงเดิม ค. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ง่าย ง. สมบัติของสารใหม่แตกต่างจากสารเดิม
  • 10. 6 6. ข้อใดถูกต้อง ก. น้าไม่สามารถเปลี่ยนสถานะได้ ข. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อน ค. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการคายความร้อน ง. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อนและคายความร้อน 7. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ ก. ความหนาแน่นของสาร ข. ประเภทของสถานะของสารนั้นๆ ค. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสาร ง. สมบัติเกี่ยวกับจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสาร 8. เทียนไขละลายเมื่อได้รับความร้อนเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด ก. เปลี่ยนสถานะ ข. เปลี่ยนรูปร่าง ค. เกิดสารละลาย ง. เกิดปฏิกิริยาเคมี 9. ยีสต์ + น้าตาล + น้าอุ่น = สารใหม่ที่ได้คือข้อใด ก. ขี้เถ้า ข. ตะกอน ค. ผงแป้ ง ง. ฟองแก๊ส 10. ข้อใดเป็นสมบัติทางเคมี ก. การเกิดสนิมเหล็ก ข. การละลายน้าของเกลือ ค. ความหนาแน่นของสาร ง. การหลอมเหลวของน้าแข็ง
  • 11. 7 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน บทเรียนสาเร็จรูป กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนคะ ข้อ 1. ค ข้อ 2. ข ข้อ 3. ข ข้อ 4. ง ข้อ 5. ง ข้อ 6. ง ข้อ 7. ก ข้อ 8. ก ข้อ 9. ง ข้อ 10. ก
  • 12. 8 ความหมายของสสารและสาร สสาร (matter) คือ สิ่งที่มีตัวตน มีมวล มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่และ สามารถสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า สสารอาจจะมีสถานะเป็ นของแข็ง (solid) ของเหลว (liquid) หรือแก๊ส (gas) อาจเป็ นสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิตก็ได้ เช่น อากาศ น้า ดิน อาหาร พืช สัตว์ เก้าอี้ หนังสือ เครื่องจักรกล ฯลฯ ดังนั้น สิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ ในโลกล้วนเป็นสสารทั้งสิ้น กรอบที่ 1 ภาพที่ 1.1 คน อากาศ น้า ดิน ก้อนหิน เป็นสาร บันทึกจาก: โครงการพระราชดาริ น้าพุร้อนสันกาแพง (2551) ภาพที่ 1.2 ผัก ผลไม้ เป็นสาร ที่มา: โจเอล เลดี้. (2557) ภาพที่ 1.3 สัตว์ต่างๆ เป็นสาร ที่มา: วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2551) ภาพที่ 1.4 ต้นข้าวในท้องนา เป็นสาร บันทึกจาก: ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง จ. เชียงใหม่ (2551)
  • 13. 9 ภาพที่ 1.7 เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ เป็นสาร ที่มา: พิษณุ เกตุงาม (2555) สาร (substance) คือ ส่วนย่อยๆ หรือเป็ นองค์ประกอบของสสารนั่นเอง ชนิดของสสารที่มีอยู่และที่เราพบเห็นนั้นมีอยู่มากมาย และหลายชนิดมองเห็นว่ามี ลักษณะเป็นเนื้อเดียวกันตลอด แต่เมื่อนามาวิเคราะห์ดูให้ละเอียดแล้ว มักจะพบว่า ประกอบด้วยสารชนิดต่างๆ จานวนหนึ่งเสมอ สารในโลกนี้มีอยู่มากมายเช่นกัน และถ้านามาวิเคราะห์หรือแยกสลายดูต่อไปอีกจะพบว่าประกอบด้วยธาตุ (element) ต่างๆ ที่มีอยู่ทั้งสิ้นเพียงร้อยกว่าชนิดเท่านั้น สารมีตัวตน มีน้าหนัก และ ต้องการที่อยู่เช่นเดียวกับสสาร http://happypa.wikispaces.com www.rmutphysics.com ภาพที่ 1.5 น้าส้มและส้ม เป็นสาร ที่มา: มาย ออเรนจ์ (2555) ภาพที่ 1.6 แร่ธาตุ เป็นสาร ที่มา: ภาควิชาฟิสิกส์ ม.เทคโนโลยีราชมงคล (2555)
  • 14. 10 อ๋อ อธิบายได้อย่างนี้จ๊ะ ตกลง “สสาร” กับ “สาร” แตกต่างกันอย่างไร สสารและสาร ต่างเป็ นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา มีน้าหนัก มีตัวตน ต้องการที่อยู่ และสามารถสัมผัสได้ แต่สสารไม่สามารถระบุสมบัติเฉพาะตัวได้ จึงกล่าวได้ว่า สิ่งที่สามารถระบุสมบัติเฉพาะตัวได้คือสารนั่นเองสารแต่ละชนิด จะมีสมบัติเฉพาะตัวแตกต่างกัน และมีจานวนมากในโลกนี้ จึงมีการศึกษาสมบัติของสารแต่ละชนิดและจัดแบ่งสาร ออกเป็นหมวดหมู่ไงละจ๊ะ รู้จักความหมายของสสารและสารแล้วไปทา กิจกรรมกันเลยจ๊ะ
  • 15. 11 คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ความหมายของสสารและสาร สสาร คือ ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… สาร คือ………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. สสารและสาร เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร สิ่งที่เหมือนกัน……………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………. สิ่งที่แตกต่างกัน………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………. กิจกรรมกรอบที่ 1 2 ข้อไม่มากเกินไปนะคะ เฉลยอยู่หน้าถัดไปค่ะ
  • 16. 12 คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ความหมายของสสารและสาร สสาร คือ สิ่งที่มีตัวตนมีน้าหนักต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้งห้า สาร คือ องค์ประกอบย่อยของสสาร เป็นสิ่งที่มีตัวตน มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้งห้าสามารถระบุสมบัติเฉพาะตัวของสารชนิดนั้นๆ ได้ 2. สสารและสาร เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร สิ่งที่เหมือนกัน เป็นสิ่งที่มีตัวตน มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้งห้า สิ่งที่แตกต่างกัน สสารเป็นสิ่งที่ไม่สามารถระบุสมบัติเฉพาะได้ แต่สารสามารถระบุ สมบัติเฉพาะตัวของสารนั้นๆ ได้ เฉลยกิจกรรมกรอบที่ 1 ตอบถูกหมดใช่ไหมคะ ถ้าตอบถูกไปต่อกรอบที่ 2 เลยค่ะ แต่ถ้าตอบผิด ควร กลับไปทบทวนเนื้อหาใน กรอบที่ 1 อีกครั้งนะครับ
  • 17. 13 สมบัติของสาร สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสารที่สามารถบอกให้ทราบว่า สารนั้นเป็นอะไร เพราะสารแต่ละชนิดมีสมบัติไม่เหมือนกัน ดังนั้นจึงมีการใช้เกณฑ์ การพิจารณาและอธิบายสมบัติของสารมาจัดจาแนกสารเพื่อสะดวกในการศึกษาสารนั้นๆ สมบัติของสารแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี สมบัติทางกายภาพ (physical properties) เป็ นสมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด ซึ่งสามารถสังเกตได้ง่ายจากภายนอก โดยไม่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมี สมบัติทางกายภาพบางอย่างของสารเป็นสิ่งที่เรารู้สึกได้ และบอกลักษณะได้ เช่น สี กลิ่น รส สถานะ เนื้อสาร รูปผลึก การยอมให้แสงผ่าน ความเป็นมันวาว เป็ นต้น แต่บางอย่างก็เป็นสิ่งที่สังเกตได้โดยวัดจากการทดลอง เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น ความถ่วงจาเพาะ การนาความร้อน การนาไฟฟ้ า เป็นต้น สมบัติทางกายภาพของสารเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ซึ่งจะเป็ นการเปลี่ยนลักษณะ หรือสถานะไป เนื่องจากการเรียงตัวใหม่ของสารเดิมเท่านั้น จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบทางเคมี (สัดส่วนของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ) ของสารแต่อย่างใด ดังนั้น จะไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น การละลายน้าตาลทรายในน้า โมเลกุลของน้าตาล ทรายจะแทรกไปน้าโมเลกุลของน้าโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีของ โมเลกุลของน้าตาลทรายและน้าแต่อย่างใด กรอบที่ 2 สมบัติของสาร สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี
  • 18. 14 ภาพที่ 2.2 การเปลี่ยนสถานะของน้า ที่มา: การดูด-การคายความร้อน (2555) ตัวอย่างการเปลี่ยนสถานะของน้า การเปลี่ยนสถานะของสารอาจเป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน ตัวอย่างการเปลี่ยนสถานะของสารที่พบในชีวิตประจาวัน ได้แก่ น้าแข็งหลอมเหลว กลายเป็นน้าและน้าได้รับความร้อนกลายเป็นไอน้าเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน ในทางตรงกันข้าม เมื่อไอน้าเปลี่ยนสถานะกลับมาเป็ นน้าและน้าแข็งเป็ นการเปลี่ยนแปลง ประเภทคายความร้อน ทราบหรือไม่คะ การเปลี่ยนสถานะ ของสารหมายถึงอะไร... อธิบายได้ ดังแผนภาพค่ะ ภาพที่ 2.1 แผนผังการเปลี่ยนสถานะของสาร ของแข็ง ของเหลว แก๊ส การหลอมเหลว การระเหย/การกลายเป็นไอ การควบแน่นการแข็งตัว การระเหิด
  • 19. 15 สมบัติทางเคมี (chemical properties) เป็นสมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารที่แสดงออกมาให้เห็น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยจะมีสารใหม่เกิดขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบภายในและมีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ ของสารด้วยซึ่งสารใหม่ที่เกิดขึ้นจะมีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิมเช่นการเกิดสนิมเหล็ก การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงการสังเคราะห์ด้วยแสงการเกิดฟองแก๊สจากการทาปฏิกิริยาเคมี ของยีสต์ น้าตาล และน้าอุ่น เป็นต้น การเผาถ่านก็เป็น การ เปลี่ยนแปลงสมบัติทาง เคมีเช่นกันใช่หรือไม่คะ ใช่ครับ เพราะการเผาถ่านเป็น การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมี ทา ให้เกิดสารใหม่ ได้แก่ ขี้เถ้า และ ควัน สังเกต ไหมว่ามีการเปลี่ยนแปลง ทาง กายภาพเกิดขึ้นด้วย เพราะรูปร่างลักษณะ ของก้อนถ่านเปลี่ยนแปลงไป ภาพที่ 2.3 ถ่านก่อนการเปลี่ยนแปลง ที่มา: ลุงดำ และทีมงำนนิตยสำร ต่วย'ตูน (2555) ภาพที่ 2.4 ถ่านหลังการเปลี่ยนแปลงกลายเป็น เถ้าถ่านและควัน ที่มา: ลุงดำ และทีมงำนนิตยสำร ต่วย'ตูน (2555)
  • 20. 16 เป็นไงบ้างคะศึกษา การ เปลี่ยนแปลงสมบัติของสาร ทาความเข้าใจได้ไม่ยากใช่ไหมคะ ลองเปรียบเทียบความแตกต่างของการเปลี่ยนแปลงทาง กายภาพ และการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารดูนะครับ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ 1. ไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น 2. องค์ประกอบทางเคมีของสารคงเดิม และไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น 3. พลังงานเคมีของสารคงเดิม 4. สารยังมีสมบัติต่างๆ คงเดิม 5. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ง่าย เพราะเป็นการจัดโมเลกุลของสาร ใหม่เท่านั้น การเปลี่ยนแปลงทางเคมี 1. เกิดปฏิกิริยาเคมี 2. องค์ประกอบทางเคมีของสาร เปลี่ยนแปลงไป และมีสารใหม่ เกิดขึ้น 3. พลังงานเคมีของสารเปลี่ยนแปลงไป 4. สมบัติของสารใหม่แตกต่างจาก สารเดิม 5. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ยาก เพราะการจัดโมเลกุลของสาร เปลี่ยนแปลงไป
  • 21. 17 การเปลี่ยนแปลงสถานะกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร (change of state) เป็ นการทาให้ระยะห่าง ระหว่างโมเลกุลของสารเปลี่ยนแปลงไป แต่องค์ประกอบของสารยังคงเป็นสารชนิดเดิม สูตรโมเลกุลคงเดิม ในธรรมชาติสารแต่ละชนิดจะปรากฏอยู่ในสถานะใดสถานะหนึ่ง ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส เราสามารถทาให้สารเปลี่ยนจากสถานะหนึ่งไปเป็ น สถานะหนึ่งได้ และสามารถทาให้กลับมาอยู่ในสถานะเดิมได้อีก การเปลี่ยนแปลง สถานะของสารเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน โมเลกุล (molecule) หมายถึง อนุภาคที่เล็ก ที่สุดของสารที่ยังแสดงสมบัติของสารนั้น และ สามารถดารงตนอยู่เป็นอิสระได้ สูตรโมเลกุล (molecular formula) หมายถึง สัญลักษณ์ หรือกลุ่มของสัญลักษณ์ที่เขียนแทน 1 โมเลกุลของสาร ทาให้ทราบว่า สารนั้นมีธาตุใดเป็นองค์ประกอบบ้าง เช่น P4 : ฟอสฟอรัส 1 โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุฟอสฟอรัส 4 อะตอม C6H12O6 : น้าตาลกลูโคส1โมเลกุลประกอบด้วยธาตุคาร์บอนไฮโดรเจน และออกซิเจน จานวน 6,12 และ 6 อะตอมตามลาดับ
  • 22. 18 สถานะของสารสามารถแบ่งออกเป็ น 3 สถานะ คือ 1. ของแข็ง (solid) คือ สารที่มีรูปร่างและปริมาตรที่แน่นอน ไม่เปลี่ยนแปลง ตามภาชนะ อนุภาคชิดกันเป็ นระเบียบ มีความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง โมเลกุลสูงกว่าของเหลวและแก๊ส ภาพที่ 2.5 การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง 2. ของเหลว (liquid) คือ สารที่มีปริมาตรแน่นอน แต่มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ อนุภาคอยู่ใกล้เคียงกันแต่ไม่เป็นระเบียบ มีการชน กันตลอดเวลา จึงมีความหนาแน่นสูงกว่าแก๊ส ภาพที่ 2.6 การจัดเรียงอนุภาคของของเหลว 3. แก๊ส (gas) คือ สารที่มีรูปร่างและปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงตาม ภาชนะที่บรรจุเพราะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จึงฟุ้ งกระจายได้เต็มภาชนะ และมีความหนาแน่นต่า ภาพที่ 2.7 การจัดเรียงอนุภาคของแก๊ส
  • 23. 19 การเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็ นของเหลว เรียกว่า การละลาย การหลอมเหลว หรือ การหลอมละลาย และจากของเหลวเป็ นแก๊ส เรียกว่า การระเหย หรือ การกลายเป็นไอ จะต้องทาให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคลดลง หรืออนุภาคเกิดการจับตัวกันน้อยลง ซึ่งทาได้โดยใช้พลังงานเข้าช่วย เมื่อให้ความร้อนแก่สารในสถานะของแข็ง จะทาให้ของแข็งหลอมเหลวกลายเป็ นของเหลว และเมื่อให้ความร้อนแก่ของเหลวจะทาให้ของเหลวกลายเป็นแก๊สสารอาจมีการเปลี่ยนสถานะ จากของแข็งเป็นแก๊ส เกิดจากอนุภาคได้รับความร้อนสูง จนแรงยึดเหนี่ยวหลุดจากกัน เรียกว่า การระเหิด ภาพที่ 2.8 กระบวนการดูดกลืนความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะจากน้าแข็งกลายเป็นแก๊ส ถ้าทาของแข็งให้กลายเป็นของเหลว หรือจากของเหลวให้กลายเป็นแก๊ส ต้องให้ความร้อนกับสารใช่ไหมค่ะ ใช่ครับ พลังงานความร้อนจะช่วย ลดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค เรียกการเปลี่ยนแปลงพลังงาน แบบนี้ว่า ดูดความร้อน ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ดูดความร้อน การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ การระเหิด
  • 24. 20 ในทางกลับกันการเปลี่ยนสถานะของสารจากแก๊สกลับมาเป็ นของเหลว เรียกว่า การควบแน่น และจากของเหลวกลายเป็นของแข็ง เรียกว่า การเยือกแข็ง นั้นจะต้องทาให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค เพิ่มขึ้นหรืออนุภาคจัดตัวกันมากขึ้น ซึ่งทาได้โดยให้สารคายความร้อนออกมา เมื่อลดอุณหภูมิของสารในสถานะแก๊ส ลงจะทาให้แก๊สควบแน่นกลายเป็นของเหลว และเมื่อลดอุณหภูมิของเหลวลงอีกจะ ทาให้ของเหลวกลายเป็นของแข็งได้ ภาพที่ 2.9 กระบวนการคายความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะจากแก๊สกลายเป็นน้าแข็ง พลังงานความร้อนที่ใช้ไปเพื่อเปลี่ยนสถานะของสารเรียกว่า ความร้อนแฝง ถ้าเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็ นไอเรียกว่า ความร้อนแฝงของ การกลายเป็ นไอ ถ้าเปลี่ยนสถานะของแข็งเป็ นของเหลวเรียกว่า ความร้อนแฝง ของการหลอมเหลว สารสามารถเปลี่ยนสถานะกลับไป กลับมาได้ ครับ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ การเปลี่ยนแปลงพลังงานที่เกิดขึ้นขณะ เปลี่ยนสถานะว่าเป็นประเภทใด แก๊ส ของเหลว ของแข็ง คายความร้อน การควบแน่น การเยือกแข็ง ความร้อนแฝงใช้ในกระบวนเปลี่ยนสถานะ ของสารนี้เอง เข้าใจแล้วค่ะ เด็กๆ ละคะ เป็นอย่างไรบ้าง ถ้าเข้าใจแล้วไปทา กิจกรรมในกรอบที่ 2 กันเลยค่ะ
  • 25. 21 คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตอบที่ถูกต้องในกรอบที่กาหนด แล้วเติมคาตอบลงใน ช่องว่างในแต่ละข้อ 1. สมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด สามารถสังเกตได้ง่ายจากภาพนอก คือ ……………………………………………………ของสาร 2. สมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทาให้เกิดสารใหม่ คือ ………………………………………..ของสาร 3. การนาความร้อน เป็น………………………………..……………..ของสาร 4. การเกิดสนิมเหล็ก เป็น……………………………………………….ของสาร 5. ลักษณะผลึก เป็น……………………………………………ของสาร 6. ความหนาแน่น เป็น…………………………………………ของสาร 7. การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็น…………………………………………..ของสาร 8. การเผาไหม้ เป็น…………………………………………ของสาร 9. การละลายของน้าตาลในน้า เป็น……………………………………………..ของสาร 10. น้า ณ อุณหภูมิห้องมีสถานะเป็น……………………….เมื่อได้รับความร้อนจะ ระเหยกลายเป็นไออยู่ในสถานะ………………………….แต่หากน้ามีอุณหภูมิต่ากว่า 0๐ C จากของเหลวจะกลายเป็น………………………….. กิจกรรมกรอบที่ 2 สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี ของแข็ง ของเหลว แก๊ส มั่นใจในคาตอบแล้ว ตรวจคาตอบในหน้าถัดไป ได้เลยครับ
  • 26. 22 คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตอบที่ถูกต้องในกรอบที่กาหนด แล้วเติมคาตอบลงใน ช่องว่างในแต่ละข้อ 1. สมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด สามารถสังเกตได้ง่ายจากภาพนอก คือ สมบัติทางกายภาพ ของสาร 2. สมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารเมื่อมี การเปลี่ยนแปลงทางเคมีทาให้เกิดสารใหม่ คือ สมบัติทางเคมี ของสาร 3. การนาความร้อน เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร 4. การเกิดสนิมเหล็ก เป็น สมบัติทางเคมี ของสาร 5. ลักษณะผลึก เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร 6. ความหนาแน่น เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร 7. การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็น สมบัติทางเคมี ของสาร 8. การเผ้าไหม้ เป็น สมบัติทางเคมี ของสาร 9. การละลายของน้าตาลในน้า เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร 10. น้า ณ อุณหภูมิห้องมีสถานะเป็น ของเหลว เมื่อได้รับความร้อนจะ ระเหยกลายเป็นไออยู่ในสถานะ แก๊ส แต่หากน้ามีอุณหภูมิต่ากว่า 0๐ C จากของเหลวจะกลายเป็น ของแข็ง . เฉลยกิจกรรมกรอบที่ 2 สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ไม่ยากเกินไปใช่ไหมครับ ถ้าทาถูกหมดแล้วศึกษาต่อ ในกรอบที่ 3 เลยครับ ถ้ายังตอบผิดอยู่ลอง กลับไปศึกษาในกรอบที่ 2 อีกรอบนะคะ
  • 27. 23 คาชี้แจง นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 5–6 คน โดยวิธีการนับ ทาการทดลอง เรื่อง อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะของน้า ตามวิธีการทดลองต่อไปนี้ ออกแบบตารางบันทึกผลแล้วนาเสนอหน้าชั้นเรียน อุปกรณ์ 1. บีกเกอร์ขนาด 100 cm³1 ใบ 2. เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน 3. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด 1 ชุด 4. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง 1 ชุด 5. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน สารเคมี 1. น้าแข็งทุบละเอียด 10 cm3 2. น้ากลั่น 5 cm3 วิธีการทดลอง 1. ใส่น้าลงในบีกเกอร์ให้สูงจากก้นบีกเกอร์ประมาณ 1 เซนติเมตร 2. ใส่น้าแข็งบดลงในน้าจนกระทั่งน้าเพิ่มระดับสูงขึ้นจากก้นบีเกอร์ 3 เซนติเมตร 3. จุ่มเทอร์มอมิเตอร์ที่มีสเกลลงในบีกเกอร์ แล้วอ่านอุณหภูมิผิวน้าผสมน้าแข็ง จากเทอร์มอมิเตอร์ บันทึกอุณหภูมิที่เวลา 0 วินาทีซึ่งเป็นเวลาเริ่มต้น 4. ให้ความร้อนแก่บีกเกอร์ด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมจับเวลาและบันทึก อุณหภูมิทุกๆ 30 วินาที แล้วสังเกตผลการเปลี่ยนแปลงของน้าผสมน้าแข็ง 5. เมื่อน้าเดือดให้ต้มต่อไปอีก3นาที ดับตะเกียงแอลกอฮอล์แล้วตั้งอุปกรณ์ทิ้งไว้ให้เย็น 6. เขียนกราฟในกระดาษกราฟ แสดงผลข้อมูลในรูปของแผนภูมิเส้น กรอบที่ 3
  • 28. 24 ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. กิจกรรมกรอบที่ 3 เด็กๆ ออกแบบตารางบันทึกผล แล้วอย่าลืมนาข้อมูลมาเขียน กราฟด้วยนะคะ
  • 29. 25 ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. เฉลยกิจกรรมกรอบที่ 3 อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน เตรียมนาเสนอหน้าชั้นเรียนนะคะ
  • 30. 26 สรุปบทเรียน สสาร (matter) คือ สิ่งที่มีตัวตน มีมวล มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่และสามารถสัมผัสได้ ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า สสารอาจจะมีสถานะเป็นของแข็ง (solid) ของเหลว (liquid) หรือ แก๊ส (gas) อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิตก็ได้ สาร (substance) คือ ส่วนย่อยๆ หรือเป็นองค์ประกอบของสสาร ที่สามารถระบุ สมบัติเฉพาะได้ สมบัติของสาร หมายถึงลักษณะเฉพาะตัวของสารที่สามารถบอกให้ทราบว่าสารนั้นเป็นอะไร สมบัติของสารแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี สมบัติทางกายภาพของสาร เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งจะเป็นการเปลี่ยนลักษณะ หรือสถานะไป เนื่องจากการเรียงตัวใหม่ของสารเดิมเท่านั้น จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบทางเคมี (สัดส่วนของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ) ของสารแต่อย่างใด ดังนั้นจะไม่มี สารใหม่เกิดขึ้น สมบัติทางเคมีของสาร เป็นสมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสาร ที่แสดงออกมาให้เห็นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยจะมีสารใหม่ เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร เป็นการทาให้ระยะห่างระหว่างโมเลกุลของสาร เปลี่ยนแปลงไป แต่องค์ประกอบของสารยังคงเป็ นสารชนิดเดิม สูตรโมเลกุลคงเดิม การเปลี่ยนแปลงสถานะของสารเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน กรอบที่ 4 ดีใจจังพวกเราเรียนจบเล่มที่ 1 แล้วไปทาแบบทดสอบหลังเรียน กันดีกว่า
  • 31. 27 แบบทดสอบหลังเรียน บทเรียนสาเร็จรูป กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร คาสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมดจานวน 10 ข้อ แต่ละข้อมี 4 ตัวเลือกคือ ก ข ค และ ง ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย  เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. สาร หมายถึงอะไร ก. อนุภาคที่เรียกว่าอะตอม ข. ธาตุต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ ค. อนุภาคที่มีขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้ ง. เนื้อของสารซึ่งมีมวลและสัมผัสได้ 2. สาเหตุที่ต้องจัดจาพวกสารออกเป็นหมวดหมู่ คือข้อใด ก. สารแต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน ข. สารแต่ละชนิดมีสถานะต่างกัน ค. สารบางชนิดมีปฏิกิริยาคล้ายคลึงกัน ง. สะดวกในการศึกษาสมบัติของสารนั้นๆ 3. สสารและสารแตกต่างกันอย่างไร ก. น้าหนัก ข. อัตราส่วนผสม ค. สมบัติของสาร ง. การต้องการที่อยู่ 4. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ ก. ความหนาแน่นของสาร ข. ประเภทของสถานะของสารนั้นๆ ค. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสาร ง. สมบัติเกี่ยวกับจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสาร 5. สารในข้อใดมีปริมาณไม่คงที่ ก. ขี้เถ้า ข. อากาศ ค. สบู่เหลว ง. นมข้นหวาน
  • 32. 28 6. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี ก. ไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น ข. พลังงานเคมีของสารคงเดิม ค. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ง่าย ง. สมบัติของสารใหม่แตกต่างจากสารเดิม 7. ข้อใดเป็นสมบัติทางเคมี ก. การเกิดสนิมเหล็ก ข. ความหนาแน่นของสาร ค. การละลายน้าของเกลือ ง. การหลอมเหลวของน้าแข็ง 8. เทียนไขละลายเมื่อได้รับความร้อนเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด ก. เปลี่ยนสถานะ ข. เปลี่ยนรูปร่าง ค. เกิดสารละลาย ง. เกิดปฏิกิริยาเคมี 9. ยีสต์ + น้าตาล + น้าอุ่น = สารใหม่ที่ได้คือข้อใด ก. ขี้เถ้า ข. ตะกอน ค. ผงแป้ ง ง. ฟองแก๊ส 10. ข้อใดถูกต้อง ก. น้าไม่สามารถเปลี่ยนสถานะได้ ข. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อน ค. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการคายความร้อน ง. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อนและคายความร้อน
  • 33. 29 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน บทเรียนสาเร็จรูป กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนค่ะ ข้อ 1. ง ข้อ 2. ง ข้อ 3. ค ข้อ 4. ก ข้อ 5. ข ข้อ 6. ง ข้อ 7. ก ข้อ 8. ก ข้อ 9. ง ข้อ 10. ง
  • 34. 30 บรรณานุกรม การดูด-การคายความร้อน. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=29884 โจเอล เลดี้. (2557). ผัก ผลไม้ เป็นยารักษาโรคได้. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2557, จาก http://joellady.com/category/ผัก-ผลไม้-เป็นยารักษาโรค/ นายพิษณุ เกตุงาม. (2555). การดูแลเฟอร์นิเจอร์ให้อยู่กับเราไปนานๆและ การเลือกซื้อ. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก http://webtumwai.com/detail.php?id_detail=25&txt=การดูแล เฟอร์นิเจอร์ให้อยู่กับเราไปนานๆและ การเลือกซื้อ บัญชา แสนทวี. (2553). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช. บัญญัติ ลายพยัคฆ์ และชนินทร์ทิพย์ ลายพยัคฆ์. (2549). กรอบมาตรฐานการเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ หมวดวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ 1991. พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. (2553).หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ(พ.ว.). ภาควิชาฟิสิกส์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. (ม.ป.ป.). หิน และ แร่ธาตุ. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก http://www.atom.rmutphysics.com/ charud/scibook/earth- space/index26question.htm มาย ออเรนจ์. (ม.ป.ป.). My Orange เราคือผู้ผลิตและจาหน่ายน้าส้มแท้ 100% จาก สวนส้มธนาธร. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก http://my-orangeshop.blogspot.com/ ยุพา วรยศ. (2551). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. ลุงดา และทีมงานนิตยสาร ต่วย'ตูน. (2555). ถ่าน ของดาๆ ที่ไม่ธรรมดา. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก http://www.neutron. rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task= view&id=2379&Itemid=4&limit=1&limitstart=19 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2551). สัตว์. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/สัตว์
  • 35. 31 บรรณานุกรม (ต่อ) วิชาการ, กรม. (2553). การจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว. วิชาญ เลิศลพ และคณะ. (2553). กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: ประสานมิตร. วีรวรรณ มหาวีโร และคณะ. (2532). วิทยาศาสตร์บรรยาย ม.ต้น. กรุงเทพฯ: แม็ค.
  • 36. 32
  • 37. 33 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน บทเรียนสาเร็จรูปเล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ชื่อ.............................................................................ชั้น...............เลขที่.......................... ข้อที่ ทดสอบ ก่อนเรียน ตรวจคาตอบ ข้อที่ ทดสอบ หลังเรียน ตรวจคาตอบ 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 ลงชื่อ ผู้ประเมิน (นางเกษรินทร์ กาญจณะดี) วันที่ ..........เดือน............................................พ.ศ..........
  • 38. 34 กระดาษคาตอบกรอบที่ 1 บทเรียนสาเร็จรูปเล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ชื่อ.................................................................ชั้น...............เลขที่............... คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ความหมายของสสารและสาร สสาร คือ ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… สาร คือ………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. สสารและสาร เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร สิ่งที่เหมือนกัน……………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………. สิ่งที่แตกต่างกัน………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………….
  • 39. 35 กระดาษคาตอบกรอบที่ 2 บทเรียนสาเร็จรูปเล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ชื่อ.................................................................ชั้น...............เลขที่............... คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตอบที่ถูกต้องในกรอบที่กาหนด แล้วเติมคาตอบลงใน ช่องว่างในแต่ละข้อ 1. สมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด สามารถสังเกตได้ง่ายจากภาพนอก คือ ……………………………………………………ของสาร 2. สมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทาให้เกิดสารใหม่ คือ ………………………………………..ของสาร 3. การนาความร้อน เป็น………………………………..……………..ของสาร 4. การเกิดสนิมเหล็ก เป็น……………………………………………….ของสาร 5. ลักษณะผลึก เป็น……………………………………………ของสาร 6. ความหนาแน่น เป็น…………………………………………ของสาร 7. การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็น…………………………………………..ของสาร 8. การเผาไหม้ เป็น…………………………………………ของสาร 9. การละลายของน้าตาลในน้า เป็น……………………………………………..ของสาร 10. น้า ณ อุณหภูมิห้องมีสถานะเป็น……………………….เมื่อได้รับความร้อนจะ ระเหยกลายเป็นไออยู่ในสถานะ………………………….แต่หากน้ามีอุณหภูมิต่ากว่า 0๐ C จากของเหลวจะกลายเป็น…………………………. สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
  • 40. 36 กระดาษคาตอบกรอบที่ 3 บทเรียนสาเร็จรูปเล่มที่ 1 เรื่อง สสารและสาร กลุ่มที่...............ชื่อกลุ่ม................................................................... 1. ....................................................................... เลขที่ ........... ประธานกลุ่ม 2. ....................................................................... เลขที่ ........... กรรมการกลุ่ม 3. ....................................................................... เลขที่ ........... กรรมการกลุ่ม 4. ....................................................................... เลขที่ ........... กรรมการกลุ่ม 5. ....................................................................... เลขที่ ........... กรรมการกลุ่ม 6. ....................................................................... เลขที่ ........... กรรมการและเลขานุการกลุ่ม .............................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................