SlideShare a Scribd company logo
1




อสมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของจานวน โดยมีสัญลักษณ์ น้อยกว่า( < ) มากกว่า
( > ) น้อยกว่าหรือเท่ากับ (≤) มากกว่าหรือเท่ากับ (≥) และ ไม่เท่ากับ (≠)

เช่น   1<2<3      ความหมายคือ 1 < 2 และ 2 < 3
ℝ+ เป็นส่วนหนึ่งของ ℝ ดังนั้นจึงมีสมบัติที่เกี่ยวข้องคือ สมบัติจานวนจริงข้อที่ 11 , 12 ,13

         นิยาม     a < b คือ b − a ∈ ℝ+

                   a > b คือ a − b ∈ ℝ+

สมบัติไตรวิภาค
ถ้า a และ b เป็นจานวนจริง ลักษณะของ a และ b จะเป็นจริงเพียงข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
1. a = b   ก็ต่อเมื่อ a – b   =0

2. a < b   ก็ต่อเมื่อ b – a   ∈ ℝ+

3. a > b   ก็ต่อเมื่อ a – b ∈ ℝ+
สมบัติการไม่เท่ากัน
1.   สมบัติการถ่ายทอด ถ้า     a > b และ b > c   แล้ว a > c
2.   สมบัติการบวกด้วยจานวนที่เท่ากัน ถ้า a > b แล้ว a+c > b+c
3.   สมบัติการคูณด้วยจานวนที่เท่ากัน ถ้า a > b และ c > 0 แล้ว ac > bc
                                       ถ้า a > b และ c < 0 แล้ว ac < bc
4. สมบัติการตัดออกสาหรับการบวก         ถ้า a+c > b+c แล้ว a > b
5. สมบัติการตัดออกสาหรับการคูณ         ถ้า ac > bc และ c > 0 แล้ว a > b
                                       ถ้า ac > bc และ c < 0 แล้ว a < b
2



ตัวอย่างที่ 1. ให้ −5 ≤ x ≤ −2 และ −4 ≤ y ≤ 3 จงหา x + y2 ,                      x−y

วิธีทา จาก −5 ≤ x ≤ −2
จะได้             x ≥ −5     และ    x ≤ −2                             ... (1)

จาก −4 ≤ y ≤ 3               จะได้ 9 ≤ y2 ≤ 16
นั่นคือ           y2 ≥ 9     และ   y 2 ≤ 16                            ... (2)

จาก −4 ≤ y ≤ 3               จะได้ −3 ≤ −y ≤ 4
นั่นคือ          −y ≥ −3     และ −y ≤ 4                                ... (3)

(1) + (2) ; 4 ≤ x + y 2 ≤ 14

(1) + (3) ; −8 ≤ x − y ≤ 2
                                                            (a+b)2
ตัวอย่างที่ 2. ถ้า a > 0 และ b > 0 แล้วจงแสดงว่า               2
                                                                       > ab
                                   (a+b)2                                         (a+b)2
วิธีทา [ในการตรวจสอบว่า              2
                                            > ab หรือไม่ เราต้องตรวจสอบว่า
                                                                                      2
                                                                                              − ab > 0 ซึ่งเป็น
จานวนจริงบวก]
            (a+b)2                 a 2 +2ab +b 2 −2ab       a 2 +b 2
เนื่องจาก         2
                        − ab =
                                            2
                                                        =
                                                               2

                                                                                  a 2 +b 2
เนื่องจาก a > 0 และ b > 0 นั่นคือ a และ b เป็นจานวนจริงบวก ดังนั้น                   2
                                                                                             >0ซึ่งเป็นจานวนจริงบวก

          a 2 +b 2
นั่นคือ      2
                      − ab>0 ซึ่งเป็นจานวนจริงบวก
          (a+b)2
ดังนั้น       2
                      > ab
3




ช่วงและเส้นจานวน (Interval and Number Line)
 เนื่องจากจานวนจริงเป็นเซตอนันต์ (เซตที่หาค่าสิ้นสุดไม่ได้) ดังนั้นอาจจะมีบางสับเซตของจานวน
จริงเป็นเซตอนันต์ด้วย ซึ่งในบางครั้งเราไม่สามารถที่จะเขียนในรูปแจกแจงสมาชิกได้ นักคณิตศาสตร์จึงได้
กาหนดสัญลักษณ์ แทนสับเซตเหล่านั้น ซึ่งเรียกสัญลักษณ์นี้ว่า ช่วงของจานวนจริง
 ช่วงของจานวนจริง แบ่งออกเป็น           2 แบบ คือ ช่วงจากัด (finite interval) และ ช่วงอนันต์
(infinite interval) ดังนี้

1. ช่วงจากัด
1.1) a, b = x a < x < b
                                                      a                    b


1.2) a, b = x a ≤ x ≤ b
                                                      a                    b


1.3) a, b = x a < x ≤ b
                                                      a                    b

1.4) a, b = x a ≤ x < b

                                                       a                   b



2. ช่วงอนันต์

2.1) a, ∞ = x x > a                               a



2.2) a, ∞ = x x ≥ a
                                                   a


2.3) −∞, a = x x < a
                                                                               a

2.4) −∞, a = x x ≤ a

                                                                               a

2.5) −∞, ∞ = x x ∈ R
4



ตัวอย่างที่ 3. ให้ A =   x −1 < x ≤ 5   และ B =      xx>2   จงหาเซตคาตอบของ
A ∪ B , A ∩ B′ , A − B

วิธีทา หา A ∪ B
                                            -1              2           5
ดังนั้น   A ∪ B = x x ≥ −1 = [−1, ∞)




หา   A ∩ B′




                                -1               2              5



ดังนั้น   A ∩ B ′ = x −1 ≤ x ≤ 2 = [−1,2]

หา A − B



                                -1               2              5



ดังนั้น   A − B= x −1 ≤ x ≤ 2 = [−1,2]




 การแก้อสมการ(Solving Inequality)


1.            การแก้อสมการเชิงเส้น(กาลังหนึ่ง)
ตัวอย่างที่ 4. จงหาเซตคาตอบอสมการของ 3x − 2 ≥ 1 − 2x
วิธีทา จาก          3x − 2 ≥ 1 − 2x

                   3x + 2x ≥ 1 + 2
5


                         5x ≥ 3
                                  3
                             x≥5

                                               3        3
ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการคือ          x x ≥ 5 = [5 , ∞)




2.          การแก้อสมการกาลังสอง
      หลักเกณฑ์ในการแก้อสมการกาลังสองโดยทั่วไป มีดังนี้
 ทาอสมการให้อยู่ในรูปขวามือ เท่ากับ 0
 ซ้ายมือของอสมการต้องอยู่ในรูปตัวประกอบกาลังหนึ่ง โดยสัมประสิทธิ์หน้าตัวแปรต้องเป็นบวกเสมอ
 จานวนที่เกี่ยวข้องกับคาตอบของอสมการ(ค่าวิกฤต) คือ ค่า x ที่ทาให้แต่ละตัวประกอบเป็น 0 นาค่า x
มากาหนดจุดบนเส้นจานวน และใส่เครื่องหมายช่องขวามือสุดเป็น + ถัดมาเป็น – และใส่สลับกันเรื่อยๆ
                  +           -            +            -         +

                        x1            x2           x3       x4


 ถ้า อสมการ เป็นเครื่องหมาย                        ≥, > ให้ตอบที่ช่อง    บวก (+)
 ถ้า อสมการ เป็นเครื่องหมาย                        ≤, < ให้ตอบที่ช่อง    ลบ ( - )

 สาหรับอสมการตรรกยะ คืออสมการที่อยู่ในรูปเศษส่วนโดยมีพจน์หรือตัวแปรว่ามีค่า + , - , 0 เมื่อใด
ดังนั้น เราจะไม่ใช้วิธีการคูณทแยง แต่เราจะแก้อสมการโดยใช้ 2 วิธีนี้(เลือกว่าจะใช้วิธีไหน)คือ
        1. การใช้วิธีของช่วง คือต้องให้ความสาคัญของตัวส่วนที่ไม่ทราบค่า ต้องไม่เป็น 0
        2. กรณีตัวส่วนเป็นตัวแปรกาลังหนึ่งจะนาตัวส่วนมายกกาลังสอง แล้วคูณทั้งอสมการ (จะทาให้เรา
ตัดพจน์ที่เป็นตัวส่วนไปได้) แต่ถ้าตัวส่วนเป็นตัวแปรที่มีดีกรีมากกว่า 1 ให้นักเรียนพิจารณาว่าพจน์ของตัว
ส่วนนั้นมีค่าเป็นบวกหรือไม่ ถ้ามีค่าเป็นบวกให้นักเรียนตัดพจน์นั้นได้เลย

 สาหรับอสมการอตรรกยะ คือ อสมการที่อยู่ในรูปกรณ์(                       ) โดยที่มีพจน์ที่ไม่ทราบค่า เราสามารถ
แก้อสมการอตรรกยะได้โดยขั้นแรก ต้องพิจารณาเงื่อนไขที่อยู่ภายในรูปกรณ์(                    ) ให้มากกว่าหรือ
เท่ากับศูนย์ หลังจากนั้น ยกกาลังด้วย n เพื่อให้อสมการไม่อยู่ในรูปกรณ์(              ) เมื่อ n ∈ I +
6



ตัวอย่างที่ 5. จงหาเซตคาตอบของอสมการ x2 − 2x − 3 ≤ 0
วิธีทา จาก               x 2 − 2x − 3 ≤ 0

                     x − 3 (x + 1) ≤ 0                                   +            -       +

      ค่าวิกฤตคือ -1 , 3                                                     -1           3

ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการ คือ              x −1 ≤ x ≤ 3 = [−1,3]

                                                      1   1
ตัวอย่างที่ 6. จงหาเซตคาตอบของอสมการของ <
                                                      x   2
                     1       1
วิธีทา จาก               <
                     x       2
             1       1
                 − <0
             x       2
                 2−x
                         <0
                 2x
      2−x (2x)2                                                   +               -               +
                         < 0 ∙ (2x)2
           2x
                                                                         0                2
      (2 – x)(2x) < 0

      (x – 2)(2x) > 0

ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการ คือ x x < 0 หรือ x > 2 = −∞, 0 ∪ (2, ∞)
                                                  1
ตัวอย่างที่ 7. จงหาเซตคาตอบของอสมการ                      > x+1
                                                  x−1

วิธีทา พิจารณา            x−1         ;         x−1≥ 0        ∴x≥1

          และ            x+1          ;         x+1 ≥0        ∴ x ≥ −1

                 1
จาก              x−1
                         > x+1
                                            1
กาลังสองทั้งสองข้าง จะได้                  x−1
                                                 >x+1
                                 1
                                     −x−1>0
                             x−1

                             1−x 2 −x+x+1
                                                 >0
                                     x−1

                                      −x 2 +2
                                                 >0
                                           x−1
7


                                         x 2 −2
                                                    <0                -         +               -               +
                                         x−1

                                   x 2 −( 2)2                             − 2           1                   2
                                                  <0
                                     x−1

                           x− 2 (x+ 2)
                                                  <0
                                   x−1
          เนื่องจากเงื่อนไข x ≥ 1 และ x ≥ −1 แต่ − 2 ไม่อยู่ในเงื่อนไข นั่นคือ −                    2   ไม่ใช่คาตอบ
ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการคือ x 1 < x < 2 = (1, 2)



3.            การแก้อสมการที่มีดีกรีมากกว่าสอง
                                                         2−3x                                           x−1
ตัวอย่างที่ 8. ถ้า A เป็นเซตคาตอบของอสมการ               x+1
                                                                ≥ 0 , B เป็นเซตคาตอบของ
                                                                                                x 3 −5x 2 +x−5
                                                                                                                 ≤0

จงหา A ∩ B
วิธีทา        หา A
                2−3x
จากอสมการ        x+1
                        ≥0
                3x−2
                       ≤0                                 -1
                                                                          2
                x+1                                                       3

                               2                2
ดังนั้น A =    x −1 < x ≤ 3 = (−1, 3]

หา B
                           x−1
จากอสมการ              x 3 −5x 2 +x−5
                                         ≤0
                            x−1
                                         ≤0
                        x−5 (x 2 +1)

[ พยายามกาจัด (x2 + 1) โดยการพิจารณาว่า (x2 + 1) เป็นจานวนบวก เพื่อที่เราจะสามารถตัด (x2 + 1) ได้ ]
เนื่องจาก   (x 2 + 1) ไม่สามารถแยกตัวประกอบได้ แต่ 1 > 0 และ x 2 ≥ 0

ดังนั้น   x 2 + 1 > 0 ซึ่งเป็นจานวนบวก

                                         x−1
นา (x2 + 1) คูณทั้งอสมการ           x−5 (x 2 +1)
                                                     (x2 + 1) ≤ 0 ∙ (x2 + 1)

                                                           x−1
                                                                 ≤0                 +                   -             +
                                                           x−5

                                                                                            1                   5
8




ดังนั้น   𝐵 = 𝑥 1 ≤ 𝑥 < 5 = [1,5)




                                 2
                     -1          3
                                                   1                 5


นั่นคือ   𝐴∩ 𝐵       =       2
                          −1, 3 ∩ 1,5 = ∅

                                                           2𝑥−3 (𝑥 2 +1)
ตัวอย่างที่ 9. จงหาเซตคาตอบของอสมการ                             (𝑥 6 +8)
                                                                               >0

วิธีทา เนื่องจาก      𝑥 2 + 1 > 0 และ 𝑥 6 + 8 > 0                    ดังนั้น
     𝑥 6 +8
นา   𝑥 2 +1
              คูณตลอด จะได้ (2x – 3) > 0
                                                       3
                      ∴                     𝑥>                                               3
                                                       2
                                                                                             2
                                                            3             3
ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการ คือ 𝑥 𝑥 > 2 = (2 , ∞)

ตัวอย่างที่ 10. จงหาเซตคาตอบของอสมการ (4x – 3)7(3x2 + 6                                 ≤0

วิธีทา เนื่องจาก              (4x – 3)7(3x2 + 6 ≤ 0

                     (4x – 3) (4x – 3)6(3x2 + 6 ≤ 0

เนื่องจาก     (4x – 3)6 > 0      และ   3x2 + 6 > 0 ดังนั้น

                 1
นา                               คูณตลอด จะได้             4x – 3 ≤ 0
      4𝑥−3 6 (3𝑥 2 +6)                                                                           3
                                                                          3                      4
                                               ∴                     𝑥≤
                                                                          4
                                                            3                   3
ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการ คือ 𝑥 𝑥 ≤ 4 = (−∞, 4]
                                                           𝑥−5   5    𝑥 2 −1 (𝑥 2 −4)
ตัวอย่างที่ 11. จงหาคาตอบของอสมการ                                   (𝑥+2)7
                                                                                        ≥0

                                     𝑥−5   5    𝑥 2 −1 (𝑥 2 −4)
วิธีทา จาก                                     (𝑥+2)7
                                                                         ≥0

              (𝑥−5)4 𝑥−5         𝑥−1       𝑥+1     𝑥−2 (𝑥+2)
                                                                         ≥0
                            (𝑥+2)6 (𝑥+2)
9


                                                                                                         จะเห็นว่าเราจะไม่ตัดทอน พจน์
เนื่องจาก    (𝑥 − 5)4 > 0 และ (𝑥 + 2)6 > 0 ดังนั้น
                                                                                                         ของ(𝑥 + 2) ที่มีทั้งเศษและ
     (𝑥+2)6                                            𝑥−5       𝑥−1    𝑥+1    𝑥−2 (𝑥+2)                 ส่วน เนื่องจาก การที่มีพจน์เป็น
นา           4   คูณตลอดอสมการ จะได้                                   (𝑥+2)
                                                                                            ≥0
     (𝑥−5)                                                                                               ตัวแปรกาลังหนึ่ง เราต้องนาค่าที่
                                                                                                         เป็นกาลังหนึ่งมาพิจารณา
                          -           +                -           +           -        +                ทั้งหมด ห้ามตัดทอนกัน 
                              -2              -1             1           2         5

ดังนั้น เซตคาตองของอสมการ คือ 𝑥 −2 < 𝑥 ≤ −1 หรือ 1 ≤ 𝑥 ≤ 2 หรือ 𝑥 ≥ 5 =
 −2, −1 ∪ 1,2 ∪ [5, ∞)
                                                                  (𝑥−3)2
ตัวอย่างที่ 12. จงหาเซตคาตอบของอสมการ                            𝑥 2 +4𝑥+5
                                                                              >0

วิธีทา พิจารณา           𝑥 2 + 4𝑥 + 5 = (x + 2)2 - 4 + 5 = (x + 2)2 + 1 > 0 ดังนั้น

นา   𝑥 2 + 4𝑥 + 5 คูณตลอดอสมการ จะได้ (𝑥 − 3)2 > 0 ยกเว้นที่ x = 3                               [ เพราะที่ x = 3 จะทาให้
(𝑥 − 3)2 = 0         ]
ดังนั้นคาตอบของอสมการคือ ℝ −                       3

                                                                 (3𝑥−5)2
ตัวอย่างที่ 13. จงหาเซตคาตอบของอสมการ                                         ≤0
                                                                  𝑥 2 +3

วิธีทา พิจารณา       𝑥 2 + 3 > 0 ดังนั้น

นา    𝑥 2 + 3 คูณตลอดอสมการ จะได้                            (3𝑥 − 5)2 ≤ 0                  ... (1)

แต่เมื่อพิจารณา     (3𝑥 − 5)2 ≥ 0                  ... (2) เสมอๆ ดังนั้นจากเงื่อนไขที่ (1) และ (2)

จะได้              (3𝑥 − 5)2 = 0

         (3x – 5) (3x – 5) = 0
                                          5
                                    x=
                                          3
                                              5
ดังนั้นคาตอบของอสมการคือ
                                              3
                                                                              4x 2 +7
ตัวอย่างที่ 14. จงหาเซตคาตอบของอสมการ (2x 2 +3x+5)(2x 2 +3x+5)12 < 0
                                      4x 2 +7
วิธีทา       จาก                   (2x 2 +3x+5)13
                                                           <0
10


                      4x 2 +7
                                               <0
          (2x 2 +3x+5)(2x 2 +3x+5)12

เนื่องจาก 4x2 + 7 > 0 และ       (2x 2 + 3x + 5)12 > 0 ดังนั้น

                                                             1
นา (2x2 + 3x + 5)12 คูณตลอดอสมการ จะได้                 (2x 2 +3x+5)
                                                                       <0
                         1
[เนื่องจาก อสมการ                       < 0 แสดงว่ามีค่าเป็นลบ แต่ 1 > 0 ดังนั้นเราต้องพิจารณา พจน์ของ
                    (2x 2 +3x+5)
 2x 2 + 3x + 5   ว่าต้องเป็น ลบ เท่านั้น อสมการจึงจะเป็นจริง]
                                1
        จาก                                   <0
                       (2x 2 +3x+5)
                                1
                                    3     5   <0
                        2(x 2 + x+ )
                                    2     2

                                1
                           3     31           <0
                      2[(x+4 )2 +16 ]

                                3 2           31
จะเห็นว่า พจน์ของ 2 x + 4                 +
                                              16
                                                   > 0 เสมอแต่จากเงื่อนไขต้องเป็นเครื่องหมาย <

ดังนั้นคาตอบของอสมการคือ ∅



     สรุปหลักสาคัญๆ
 การที่เราจะสามารถแก้อสมการได้ ต้องเป็นเฉพาะอสมการที่มีพจน์ตัวแปรมีดีกรีหนึ่งเท่านั้น
ถ้าเป็นตัวแปรมีดีกรีสองเราต้องพิจารณาต่อไปว่าสามารถแยกตัวประกอบได้หรือไม่ เพราะถ้าแยกได้ จะ
ได้ตัวแปรมีดีกรีหนึ่งที่เราสามารถหาค่าได้ แต่ถ้าไม่สามารถแยกได้ให้นักเรียนพิจารณาว่าตัวแปรดีกรีสอง
นั้นเป็นบวกหรือไม่ เพราะถ้าเป็นบวก เราจะตัดพจน์นั้นทิ้งไปได้ไม่ต้องคิดค่า
กรณีเป็นอสมการที่มีดีกรีมากกว่าสอง เราต้องพิจารณาก่อนว่าตัวแปรมีดีกรีเป็นจานวนคี่หรือว่าจานวนคู่
เพราะถ้าตัวแปรมีดีกรีเป็นจานวนคู่เราจะตัดออกไปได้ไม่ต้องนาพจน์ที่เป็นเลขคู่นั้นมาคิด(เพราะตัวแปรที่มี
ดีกรีเป็นจานวนคู่จะมีค่าเป็นบวกเสมอ )แต่ถ้าดีกรีของตัวแปรเป็นจานวนคี่ เราต้องแยกให้ได้เป็นรูปของตัว
แปรดีกรีหนึ่งคูณกับตัวแปรที่มีดีกรีเป็นจานวนคู่ แล้วตัดตัวแปรพจน์ที่มีดีกรีเป็นจานวนคู่นั้นไป แล้ว
พิจารณาพจน์ตัวแปรที่เป็นกาลังหนึ่ง

More Related Content

What's hot

เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
วรรณิภา ไกรสุข
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
Aon Narinchoti
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พัน พัน
 
การบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนามการบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนาม
kroojaja
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
Tum Anucha
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
Mike Polsit
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลังแบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
K'Keng Hale's
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
KruGift Girlz
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวsontayath
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
ทับทิม เจริญตา
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
Somporn Amornwech
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 

What's hot (20)

เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนามการบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนาม
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลังแบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
Math5
Math5Math5
Math5
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 

Viewers also liked

อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
Aon Narinchoti
 
32201mid522
32201mid52232201mid522
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนทับทิม เจริญตา
 
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2ทับทิม เจริญตา
 

Viewers also liked (6)

อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
32201mid522
32201mid52232201mid522
32201mid522
 
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
 
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
 

Similar to อสมการ

สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
wisita42
 
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตบทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
PumPui Oranuch
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
aass012
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2krookay2012
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Thanuphong Ngoapm
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02witthawat silad
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
Matrix problem p
Matrix problem pMatrix problem p
Matrix problem p
Thanuphong Ngoapm
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริงChwin Robkob
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
kruaunpwk
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Somporn Amornwech
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 

Similar to อสมการ (20)

สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
Math3
Math3Math3
Math3
 
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตบทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
 
Real
RealReal
Real
 
Onet math
Onet mathOnet math
Onet math
 
Number
NumberNumber
Number
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
Matrix problem p
Matrix problem pMatrix problem p
Matrix problem p
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
Satit tue134008
Satit tue134008Satit tue134008
Satit tue134008
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 

อสมการ

  • 1. 1 อสมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของจานวน โดยมีสัญลักษณ์ น้อยกว่า( < ) มากกว่า ( > ) น้อยกว่าหรือเท่ากับ (≤) มากกว่าหรือเท่ากับ (≥) และ ไม่เท่ากับ (≠) เช่น 1<2<3 ความหมายคือ 1 < 2 และ 2 < 3 ℝ+ เป็นส่วนหนึ่งของ ℝ ดังนั้นจึงมีสมบัติที่เกี่ยวข้องคือ สมบัติจานวนจริงข้อที่ 11 , 12 ,13 นิยาม a < b คือ b − a ∈ ℝ+ a > b คือ a − b ∈ ℝ+ สมบัติไตรวิภาค ถ้า a และ b เป็นจานวนจริง ลักษณะของ a และ b จะเป็นจริงเพียงข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 1. a = b ก็ต่อเมื่อ a – b =0 2. a < b ก็ต่อเมื่อ b – a ∈ ℝ+ 3. a > b ก็ต่อเมื่อ a – b ∈ ℝ+ สมบัติการไม่เท่ากัน 1. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a > b และ b > c แล้ว a > c 2. สมบัติการบวกด้วยจานวนที่เท่ากัน ถ้า a > b แล้ว a+c > b+c 3. สมบัติการคูณด้วยจานวนที่เท่ากัน ถ้า a > b และ c > 0 แล้ว ac > bc ถ้า a > b และ c < 0 แล้ว ac < bc 4. สมบัติการตัดออกสาหรับการบวก ถ้า a+c > b+c แล้ว a > b 5. สมบัติการตัดออกสาหรับการคูณ ถ้า ac > bc และ c > 0 แล้ว a > b ถ้า ac > bc และ c < 0 แล้ว a < b
  • 2. 2 ตัวอย่างที่ 1. ให้ −5 ≤ x ≤ −2 และ −4 ≤ y ≤ 3 จงหา x + y2 , x−y วิธีทา จาก −5 ≤ x ≤ −2 จะได้ x ≥ −5 และ x ≤ −2 ... (1) จาก −4 ≤ y ≤ 3 จะได้ 9 ≤ y2 ≤ 16 นั่นคือ y2 ≥ 9 และ y 2 ≤ 16 ... (2) จาก −4 ≤ y ≤ 3 จะได้ −3 ≤ −y ≤ 4 นั่นคือ −y ≥ −3 และ −y ≤ 4 ... (3) (1) + (2) ; 4 ≤ x + y 2 ≤ 14 (1) + (3) ; −8 ≤ x − y ≤ 2 (a+b)2 ตัวอย่างที่ 2. ถ้า a > 0 และ b > 0 แล้วจงแสดงว่า 2 > ab (a+b)2 (a+b)2 วิธีทา [ในการตรวจสอบว่า 2 > ab หรือไม่ เราต้องตรวจสอบว่า 2 − ab > 0 ซึ่งเป็น จานวนจริงบวก] (a+b)2 a 2 +2ab +b 2 −2ab a 2 +b 2 เนื่องจาก 2 − ab = 2 = 2 a 2 +b 2 เนื่องจาก a > 0 และ b > 0 นั่นคือ a และ b เป็นจานวนจริงบวก ดังนั้น 2 >0ซึ่งเป็นจานวนจริงบวก a 2 +b 2 นั่นคือ 2 − ab>0 ซึ่งเป็นจานวนจริงบวก (a+b)2 ดังนั้น 2 > ab
  • 3. 3 ช่วงและเส้นจานวน (Interval and Number Line) เนื่องจากจานวนจริงเป็นเซตอนันต์ (เซตที่หาค่าสิ้นสุดไม่ได้) ดังนั้นอาจจะมีบางสับเซตของจานวน จริงเป็นเซตอนันต์ด้วย ซึ่งในบางครั้งเราไม่สามารถที่จะเขียนในรูปแจกแจงสมาชิกได้ นักคณิตศาสตร์จึงได้ กาหนดสัญลักษณ์ แทนสับเซตเหล่านั้น ซึ่งเรียกสัญลักษณ์นี้ว่า ช่วงของจานวนจริง ช่วงของจานวนจริง แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ ช่วงจากัด (finite interval) และ ช่วงอนันต์ (infinite interval) ดังนี้ 1. ช่วงจากัด 1.1) a, b = x a < x < b a b 1.2) a, b = x a ≤ x ≤ b a b 1.3) a, b = x a < x ≤ b a b 1.4) a, b = x a ≤ x < b a b 2. ช่วงอนันต์ 2.1) a, ∞ = x x > a a 2.2) a, ∞ = x x ≥ a a 2.3) −∞, a = x x < a a 2.4) −∞, a = x x ≤ a a 2.5) −∞, ∞ = x x ∈ R
  • 4. 4 ตัวอย่างที่ 3. ให้ A = x −1 < x ≤ 5 และ B = xx>2 จงหาเซตคาตอบของ A ∪ B , A ∩ B′ , A − B วิธีทา หา A ∪ B -1 2 5 ดังนั้น A ∪ B = x x ≥ −1 = [−1, ∞) หา A ∩ B′ -1 2 5 ดังนั้น A ∩ B ′ = x −1 ≤ x ≤ 2 = [−1,2] หา A − B -1 2 5 ดังนั้น A − B= x −1 ≤ x ≤ 2 = [−1,2] การแก้อสมการ(Solving Inequality) 1. การแก้อสมการเชิงเส้น(กาลังหนึ่ง) ตัวอย่างที่ 4. จงหาเซตคาตอบอสมการของ 3x − 2 ≥ 1 − 2x วิธีทา จาก 3x − 2 ≥ 1 − 2x 3x + 2x ≥ 1 + 2
  • 5. 5 5x ≥ 3 3 x≥5 3 3 ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการคือ x x ≥ 5 = [5 , ∞) 2. การแก้อสมการกาลังสอง หลักเกณฑ์ในการแก้อสมการกาลังสองโดยทั่วไป มีดังนี้  ทาอสมการให้อยู่ในรูปขวามือ เท่ากับ 0  ซ้ายมือของอสมการต้องอยู่ในรูปตัวประกอบกาลังหนึ่ง โดยสัมประสิทธิ์หน้าตัวแปรต้องเป็นบวกเสมอ  จานวนที่เกี่ยวข้องกับคาตอบของอสมการ(ค่าวิกฤต) คือ ค่า x ที่ทาให้แต่ละตัวประกอบเป็น 0 นาค่า x มากาหนดจุดบนเส้นจานวน และใส่เครื่องหมายช่องขวามือสุดเป็น + ถัดมาเป็น – และใส่สลับกันเรื่อยๆ + - + - + x1 x2 x3 x4 ถ้า อสมการ เป็นเครื่องหมาย ≥, > ให้ตอบที่ช่อง บวก (+) ถ้า อสมการ เป็นเครื่องหมาย ≤, < ให้ตอบที่ช่อง ลบ ( - )  สาหรับอสมการตรรกยะ คืออสมการที่อยู่ในรูปเศษส่วนโดยมีพจน์หรือตัวแปรว่ามีค่า + , - , 0 เมื่อใด ดังนั้น เราจะไม่ใช้วิธีการคูณทแยง แต่เราจะแก้อสมการโดยใช้ 2 วิธีนี้(เลือกว่าจะใช้วิธีไหน)คือ 1. การใช้วิธีของช่วง คือต้องให้ความสาคัญของตัวส่วนที่ไม่ทราบค่า ต้องไม่เป็น 0 2. กรณีตัวส่วนเป็นตัวแปรกาลังหนึ่งจะนาตัวส่วนมายกกาลังสอง แล้วคูณทั้งอสมการ (จะทาให้เรา ตัดพจน์ที่เป็นตัวส่วนไปได้) แต่ถ้าตัวส่วนเป็นตัวแปรที่มีดีกรีมากกว่า 1 ให้นักเรียนพิจารณาว่าพจน์ของตัว ส่วนนั้นมีค่าเป็นบวกหรือไม่ ถ้ามีค่าเป็นบวกให้นักเรียนตัดพจน์นั้นได้เลย  สาหรับอสมการอตรรกยะ คือ อสมการที่อยู่ในรูปกรณ์( ) โดยที่มีพจน์ที่ไม่ทราบค่า เราสามารถ แก้อสมการอตรรกยะได้โดยขั้นแรก ต้องพิจารณาเงื่อนไขที่อยู่ภายในรูปกรณ์( ) ให้มากกว่าหรือ เท่ากับศูนย์ หลังจากนั้น ยกกาลังด้วย n เพื่อให้อสมการไม่อยู่ในรูปกรณ์( ) เมื่อ n ∈ I +
  • 6. 6 ตัวอย่างที่ 5. จงหาเซตคาตอบของอสมการ x2 − 2x − 3 ≤ 0 วิธีทา จาก x 2 − 2x − 3 ≤ 0 x − 3 (x + 1) ≤ 0 + - + ค่าวิกฤตคือ -1 , 3 -1 3 ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการ คือ x −1 ≤ x ≤ 3 = [−1,3] 1 1 ตัวอย่างที่ 6. จงหาเซตคาตอบของอสมการของ < x 2 1 1 วิธีทา จาก < x 2 1 1 − <0 x 2 2−x <0 2x 2−x (2x)2 + - + < 0 ∙ (2x)2 2x 0 2 (2 – x)(2x) < 0 (x – 2)(2x) > 0 ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการ คือ x x < 0 หรือ x > 2 = −∞, 0 ∪ (2, ∞) 1 ตัวอย่างที่ 7. จงหาเซตคาตอบของอสมการ > x+1 x−1 วิธีทา พิจารณา x−1 ; x−1≥ 0 ∴x≥1 และ x+1 ; x+1 ≥0 ∴ x ≥ −1 1 จาก x−1 > x+1 1 กาลังสองทั้งสองข้าง จะได้ x−1 >x+1 1 −x−1>0 x−1 1−x 2 −x+x+1 >0 x−1 −x 2 +2 >0 x−1
  • 7. 7 x 2 −2 <0 - + - + x−1 x 2 −( 2)2 − 2 1 2 <0 x−1 x− 2 (x+ 2) <0 x−1 เนื่องจากเงื่อนไข x ≥ 1 และ x ≥ −1 แต่ − 2 ไม่อยู่ในเงื่อนไข นั่นคือ − 2 ไม่ใช่คาตอบ ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการคือ x 1 < x < 2 = (1, 2) 3. การแก้อสมการที่มีดีกรีมากกว่าสอง 2−3x x−1 ตัวอย่างที่ 8. ถ้า A เป็นเซตคาตอบของอสมการ x+1 ≥ 0 , B เป็นเซตคาตอบของ x 3 −5x 2 +x−5 ≤0 จงหา A ∩ B วิธีทา หา A 2−3x จากอสมการ x+1 ≥0 3x−2 ≤0 -1 2 x+1 3 2 2 ดังนั้น A = x −1 < x ≤ 3 = (−1, 3] หา B x−1 จากอสมการ x 3 −5x 2 +x−5 ≤0 x−1 ≤0 x−5 (x 2 +1) [ พยายามกาจัด (x2 + 1) โดยการพิจารณาว่า (x2 + 1) เป็นจานวนบวก เพื่อที่เราจะสามารถตัด (x2 + 1) ได้ ] เนื่องจาก (x 2 + 1) ไม่สามารถแยกตัวประกอบได้ แต่ 1 > 0 และ x 2 ≥ 0 ดังนั้น x 2 + 1 > 0 ซึ่งเป็นจานวนบวก x−1 นา (x2 + 1) คูณทั้งอสมการ x−5 (x 2 +1) (x2 + 1) ≤ 0 ∙ (x2 + 1) x−1 ≤0 + - + x−5 1 5
  • 8. 8 ดังนั้น 𝐵 = 𝑥 1 ≤ 𝑥 < 5 = [1,5) 2 -1 3 1 5 นั่นคือ 𝐴∩ 𝐵 = 2 −1, 3 ∩ 1,5 = ∅ 2𝑥−3 (𝑥 2 +1) ตัวอย่างที่ 9. จงหาเซตคาตอบของอสมการ (𝑥 6 +8) >0 วิธีทา เนื่องจาก 𝑥 2 + 1 > 0 และ 𝑥 6 + 8 > 0 ดังนั้น 𝑥 6 +8 นา 𝑥 2 +1 คูณตลอด จะได้ (2x – 3) > 0 3 ∴ 𝑥> 3 2 2 3 3 ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการ คือ 𝑥 𝑥 > 2 = (2 , ∞) ตัวอย่างที่ 10. จงหาเซตคาตอบของอสมการ (4x – 3)7(3x2 + 6 ≤0 วิธีทา เนื่องจาก (4x – 3)7(3x2 + 6 ≤ 0 (4x – 3) (4x – 3)6(3x2 + 6 ≤ 0 เนื่องจาก (4x – 3)6 > 0 และ 3x2 + 6 > 0 ดังนั้น 1 นา คูณตลอด จะได้ 4x – 3 ≤ 0 4𝑥−3 6 (3𝑥 2 +6) 3 3 4 ∴ 𝑥≤ 4 3 3 ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการ คือ 𝑥 𝑥 ≤ 4 = (−∞, 4] 𝑥−5 5 𝑥 2 −1 (𝑥 2 −4) ตัวอย่างที่ 11. จงหาคาตอบของอสมการ (𝑥+2)7 ≥0 𝑥−5 5 𝑥 2 −1 (𝑥 2 −4) วิธีทา จาก (𝑥+2)7 ≥0 (𝑥−5)4 𝑥−5 𝑥−1 𝑥+1 𝑥−2 (𝑥+2) ≥0 (𝑥+2)6 (𝑥+2)
  • 9. 9 จะเห็นว่าเราจะไม่ตัดทอน พจน์ เนื่องจาก (𝑥 − 5)4 > 0 และ (𝑥 + 2)6 > 0 ดังนั้น ของ(𝑥 + 2) ที่มีทั้งเศษและ (𝑥+2)6 𝑥−5 𝑥−1 𝑥+1 𝑥−2 (𝑥+2) ส่วน เนื่องจาก การที่มีพจน์เป็น นา 4 คูณตลอดอสมการ จะได้ (𝑥+2) ≥0 (𝑥−5) ตัวแปรกาลังหนึ่ง เราต้องนาค่าที่ เป็นกาลังหนึ่งมาพิจารณา - + - + - + ทั้งหมด ห้ามตัดทอนกัน  -2 -1 1 2 5 ดังนั้น เซตคาตองของอสมการ คือ 𝑥 −2 < 𝑥 ≤ −1 หรือ 1 ≤ 𝑥 ≤ 2 หรือ 𝑥 ≥ 5 = −2, −1 ∪ 1,2 ∪ [5, ∞) (𝑥−3)2 ตัวอย่างที่ 12. จงหาเซตคาตอบของอสมการ 𝑥 2 +4𝑥+5 >0 วิธีทา พิจารณา 𝑥 2 + 4𝑥 + 5 = (x + 2)2 - 4 + 5 = (x + 2)2 + 1 > 0 ดังนั้น นา 𝑥 2 + 4𝑥 + 5 คูณตลอดอสมการ จะได้ (𝑥 − 3)2 > 0 ยกเว้นที่ x = 3 [ เพราะที่ x = 3 จะทาให้ (𝑥 − 3)2 = 0 ] ดังนั้นคาตอบของอสมการคือ ℝ − 3 (3𝑥−5)2 ตัวอย่างที่ 13. จงหาเซตคาตอบของอสมการ ≤0 𝑥 2 +3 วิธีทา พิจารณา 𝑥 2 + 3 > 0 ดังนั้น นา 𝑥 2 + 3 คูณตลอดอสมการ จะได้ (3𝑥 − 5)2 ≤ 0 ... (1) แต่เมื่อพิจารณา (3𝑥 − 5)2 ≥ 0 ... (2) เสมอๆ ดังนั้นจากเงื่อนไขที่ (1) และ (2) จะได้ (3𝑥 − 5)2 = 0 (3x – 5) (3x – 5) = 0 5 x= 3 5 ดังนั้นคาตอบของอสมการคือ 3 4x 2 +7 ตัวอย่างที่ 14. จงหาเซตคาตอบของอสมการ (2x 2 +3x+5)(2x 2 +3x+5)12 < 0 4x 2 +7 วิธีทา จาก (2x 2 +3x+5)13 <0
  • 10. 10 4x 2 +7 <0 (2x 2 +3x+5)(2x 2 +3x+5)12 เนื่องจาก 4x2 + 7 > 0 และ (2x 2 + 3x + 5)12 > 0 ดังนั้น 1 นา (2x2 + 3x + 5)12 คูณตลอดอสมการ จะได้ (2x 2 +3x+5) <0 1 [เนื่องจาก อสมการ < 0 แสดงว่ามีค่าเป็นลบ แต่ 1 > 0 ดังนั้นเราต้องพิจารณา พจน์ของ (2x 2 +3x+5) 2x 2 + 3x + 5 ว่าต้องเป็น ลบ เท่านั้น อสมการจึงจะเป็นจริง] 1 จาก <0 (2x 2 +3x+5) 1 3 5 <0 2(x 2 + x+ ) 2 2 1 3 31 <0 2[(x+4 )2 +16 ] 3 2 31 จะเห็นว่า พจน์ของ 2 x + 4 + 16 > 0 เสมอแต่จากเงื่อนไขต้องเป็นเครื่องหมาย < ดังนั้นคาตอบของอสมการคือ ∅ สรุปหลักสาคัญๆ  การที่เราจะสามารถแก้อสมการได้ ต้องเป็นเฉพาะอสมการที่มีพจน์ตัวแปรมีดีกรีหนึ่งเท่านั้น ถ้าเป็นตัวแปรมีดีกรีสองเราต้องพิจารณาต่อไปว่าสามารถแยกตัวประกอบได้หรือไม่ เพราะถ้าแยกได้ จะ ได้ตัวแปรมีดีกรีหนึ่งที่เราสามารถหาค่าได้ แต่ถ้าไม่สามารถแยกได้ให้นักเรียนพิจารณาว่าตัวแปรดีกรีสอง นั้นเป็นบวกหรือไม่ เพราะถ้าเป็นบวก เราจะตัดพจน์นั้นทิ้งไปได้ไม่ต้องคิดค่า กรณีเป็นอสมการที่มีดีกรีมากกว่าสอง เราต้องพิจารณาก่อนว่าตัวแปรมีดีกรีเป็นจานวนคี่หรือว่าจานวนคู่ เพราะถ้าตัวแปรมีดีกรีเป็นจานวนคู่เราจะตัดออกไปได้ไม่ต้องนาพจน์ที่เป็นเลขคู่นั้นมาคิด(เพราะตัวแปรที่มี ดีกรีเป็นจานวนคู่จะมีค่าเป็นบวกเสมอ )แต่ถ้าดีกรีของตัวแปรเป็นจานวนคี่ เราต้องแยกให้ได้เป็นรูปของตัว แปรดีกรีหนึ่งคูณกับตัวแปรที่มีดีกรีเป็นจานวนคู่ แล้วตัดตัวแปรพจน์ที่มีดีกรีเป็นจานวนคู่นั้นไป แล้ว พิจารณาพจน์ตัวแปรที่เป็นกาลังหนึ่ง