SlideShare a Scribd company logo
จำนวนจริง
(Real Numbers)
แผนจำนวนจริงแสดงควำมสัมพันธ์ของจำนวนชนิดต่ำงๆ
จำนวนจริง
จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ
จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่
จำนวนเต็ม
จำนวนเต็ม
จำนวนเต็มลบ
จำนวนเต็มบวก
จำนวนเต็มศูนย์
• ระบบจำนวนจริง
จำกแผนผังแสดงควำมสัมพันธ์ของจำนวนข้ำงต้น จะพบว่ำ ระบบ
จำนวนจริง จะประกอบไปด้วย
1. จำนวนอตรรกยะ หมำยถึง จำนวนที่ไม่สำมำรถเขียนให้อยู่ในรูป
เศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซำได้ ตัวอย่ำงเช่น √2 , √3,
√5, -√2,-√3, -√5 หรือ ¶ ซึ่งมีค่ำ 3.14159265...
2. จำนวนตรรกยะ หมำยถึง จำนวนที่สำมำรถเขียนให้อยู่ในรูป
เศษส่วนของจำนวนเต็มหรือทศนิยมซำได้
• ระบบจำนวนตรรกยะ
จำนวนตรรกยะยังสำมำรถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม หมำยถึง จำนวนที่สำมำรถ
เขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนหรือทศนิยมซำได้ แต่ไม่เป็นจำนวนเต็ม
ตัวอย่ำงเช่น
2. จำนวนเต็ม หมำยถึง จำนวนที่เป็นสมำชิกของเซต
I = {..., -4, -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, 4, ...} เมื่อกำหนดให้ I เป็นเซต
ของจำนวนเต็ม
• ระบบจำนวนเต็ม
จำนวนเต็มยังสำมำรถแบ่งได้อีกเป็น 3 ประเภทด้วยกัน
1. จำนวนเต็มลบ หมำยถึง จำนวนที่เป็นสมำชิกของเซต I-
โดยที่
I-
= {..., -4, -3, -2, -1} เมื่อ I-
เป็นเซตของจำนวนเต็มลบ
2. จำนวนเต็มศูนย์ (0)
3. จำนวนเต็มบวก หมำยถึง จำนวนที่เป็นสมำชิกของเซต I+
โดยที่
I+
= {1, 2, 3, 4, ...} เมื่อ I+
เป็นเซตของจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็ม
บวก เรียกได้อีกอย่ำงว่ำ "จำนวนนับ" ซึ่งเขียนแทนเซตของจำนวน
นับได้ด้วยสัญลักษณ์ N โดยที่ N = I+
= {1, 2, 3, 4, ...}
จำนวนเต็มบวก เรียกได้อีกอย่ำงว่ำ "จำนวนนับ" ซึ่งเขียน
แทนเซตของจำนวนนับได้ด้วยสัญลักษณ์ N โดยที่
N = I+ = {1, 2, 3, 4, ...}
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับกำรบวกและกำรคูณ
• สมบัติกำรเท่ำกันของจำนวนจริง
กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ
1. สมบัติกำรสะท้อน a = a
2. สมบัติกำรสมมำตร ถ้ำ a = b แล้ว b = a
3. สมบัติกำรถ่ำยทอด ถ้ำ a = b และ b = c แล้ว a = c
4. สมบัติกำรบวกด้วยจำนวนที่เท่ำกัน ถ้ำ a = b แล้ว a + c = b + c
5. สมบัติกำรคูณด้วยจำนวนที่เท่ำกัน ถ้ำ a = b แล้ว ac = bc
• สมบัติกำรบวกในระบบจำนวนจริง
กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ
1. สมบัติปิดกำรบวก a + b เป็นจำนวนจริง
2. สมบัติกำรสลับที่ของกำรบวก a + b = b + c
3. สมบัติกำรเปลี่ยนกลุ่มกำรบวก a + ( b + c) = ( a + b ) + c
4. เอกลักษณ์กำรบวก 0 + a = a = a + 0 นั่นคือ ในระบบจำนวน
จริงจะมี 0 เป็นเอกลักษณ์กำรบวก
5. อินเวอร์สกำรบวก a + ( -a ) = 0 = ( -a ) + a
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง จำนวน a จะมี -aเป็นอินเวอร์สของกำรบวก
• สมบัติกำรคูณในระบบจำนวนจริง
กำหนดให้ a, b, c, เป็นจำนวนจริงใดๆ
1. สมบัติปิดกำรคูณ ab เป็นจำนวนจริง
2. สมบัติกำรสลับที่ของกำรคูณ ab = ba
3. สมบัติกำรเปลี่ยนกลุ่มของกำรคูณ a(bc) = (ab)c
4. เอกลักษณ์กำรคูณ 1 · a = a = a · 1 นั่นคือในระบบจำนวน
จริง มี 1 เป็นเอกลักษณ์กำรคูณ
5. อินเวอร์สกำรคูณ a · a-1 = 1 = a · a-1, a ≠ 0
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง จำนวนจริง a จะมี a-1 เป็นอินเวอร์ส
กำรคูณ ยกเว้น 0
นอกจำกนีในระบบจำนวนจริงยังมีสมบัติที่เกี่ยวข้องทังกำรบวกและ
กำรคูณ สมบัติดังกล่ำว ได้แก่ สมบัติกำรแจกแจง กล่ำวคือ
เมื่อ a, b และ c เป็นจำนวนจริงใดๆ
a(b+c) = ab + ac
และ (b+c)a = ba + ca
เช่น 2· (5+8) = 2·5 + 2·8 หรือ (5+8) ·2 = 5·2 + 8·2
กำรนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้แก้สมกำรกำลังสอง
• กำรแยกตัวประกอบของพหุนำม
พหุนำมดีกรีสองตัวแปรเดียว คือ พหุนำมที่เขียนในรูป ax2 + bx + c
เมื่อ a , b , c เป็นค่ำคงตัวที่ a ≠ 0 และ x เป็นตัวแปร
กำรแยกตัวประกอบของพหุนำมดีกรีสองตัวแปรเดียว
ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a , b เป็นจำนวนเต็ม และ c = 0
ในกรณีที่ c = 0 พหุนำมดีกรีสองตัวแปรเดียวจะอยู่ในรูป ax2+ bx
สำมำรถใช้สมบัติกำรแจกแจงแยกตัวประกอบได้
ตัวอย่ำงที่ 1 จงแยกตัวประกอบของ x2 + 2x
วิธีทำ x2
+ 2x = (x)(x) + (2)(x)
= x(x + 2)
ตัวอย่ำงที่ 2 จงแยกตัวประกอบของ 4x2 - 20x
วิธีทำ 4x2
- 20x = (4x)(x) - (4x)(5)
= 4x(x - 5)
ตัวอย่ำงที่ 3 จงแยกตัวประกอบของ -4x2 - 6x
วิธีทำ -4x2
- 6x = -2x(2x + 3)
หรือ -4x2
- 6x = 2x(-2x - 3)
ตัวอย่ำงที่ 4 จงแยกตัวประกอบของ -15x2 + 12x
วิธีทำ -15x2
+ 12x = (3x)(-5x) + (3x)(4)
= 3x(-5x + 4)
ในรูป ax2
+bx+c เมื่อ a = 1 , b และ c เป็นจำนวนเต็มและ c ≠ 0
ในกรณีที่ a = 1 และ c ≠ 0 พหุนำมดีกรีสองตัวแปรเดียว จะอยู่ใน
รูป x2
+ bx + c
สำมำรถแยกตัวประกอบของพหุนำมในรูปนีได้ โดยอำศัยแนวคิดจำกกำร
หำผลคูณของพหุนำม ดังตัวอย่ำงต่อไปนี
จำกกำรหำผลคูณ ( x +2 )( x + 3 ) ดังกล่ำว จะได้ขันตอนกำรแยกตัว
ประกอบของ x2
+ 5x + 6 โดยทำขันตอนย้อนกลับ ดังนี
x2
+ 5x + 6 = x2
+ (2 + 3)x + (2)(3)
= x2
+ (2x + 3x) + (2)(3)
= (x2
+2x) + [3x + (2)(3)]
= (x + 2)x + (x + 2)(3)
= (x + 2)(x + 3)
นั่นคือ x2 + 5x + 6 = (x + 2)(x + 3)
พิจำรณำผลคูณของพหุนำมต่อไปนี
1. (x + 2)(x + 3) = (x + 2)(x) + (x + 2)(3)
= (x2
+ 2x)+ [3x +(2)(3)]
= x2
+ (2x+ 3x) + (2)(3)
= x2
+ (2+ 3)x + (2)(3)
= x2
+ 5x + 6
ดังนัน แยกตัวประกอบของ x2
+ 5x + 6 = (x + 2)(x + 3)
• กำรแก้สมกำรกำลังสองตัวแปรเดียว
กำรแก้สมกำร หรือกำรหำคำตอบของสมกำรกำลังสอง
ตัวแปรเดียว หมำยถึงกำรหำคำตอบของสมกำรที่เขียนอยู่ในรูป
ax2+bx+c=0 เมื่อ a, b, c เป็นค่ำคงตัว และ a ≠ 0 ทำได้โดยอำศัย
ควำมรู้เกี่ยวกับจำนวนจริงดังนี
ถ้ำ a และ b เป็นจำนวนจริง และ ab = 0 แล้ว a หรือ b
อย่ำงน้อยหนึ่งตัวต้องเป็นศูนย์
ตัวอย่ำงที่ 1 จงหำคำตอบของสมกำร x(x-2) = 0
วิธีทำ ถ้ำ x(x-2) = 0
จะได้ว่ำ x = 0
หรือ x-2 = 0 , x = 2
ดังนัน 0 และ 2 เป็นคำตอบของสมกำร x(x-2) = 0
ตัวอย่ำงที่ 2 จงหำคำตอบของสมกำร x2
+6x+4 = 0
วิธีทำ x2
+6x+4 = (x2
+(2)(3)x+32
)+4-32
= (x+3)2
-5
= (x+3+√2)(x+3-√5)
หำคำตอบของสมกำร (x+3+√2)(x+3-√5) = 0
โดยกำรหำค่ำ x ที่ทำให้ (x+3+√5) = 0 หรือ (x+3-√5) = 0
จะได้ x = -(3+√5) หรือ x = -(3-√5)
• สมบัติกำรไม่เท่ำกัน
ให้ a, b, c เป็นจำนวนใดๆ
1) สมบัติกำรถ่ำยทอด
ถ้ำ a > b และ b > c แล้ว a > c
เช่น 10 > 5 และ 5 > 1 ดังนัน 10 > 1
2) สมบัติกำรบวกด้วยจำนวนเท่ำกัน
ถ้ำ a > b แล้ว a + c > b + c
เช่น 2 > 0 จะได้ 2 + 1 > 0 + 1 หรือ 3 > 1
3) สมบัติกำรคูณด้วยจำนวนเท่ำกันที่มำกกว่ำศูนย์
ถ้ำ a > b และ c > 0 แล้ว ac > bc
เช่น 5 > 3 จะได้ 5 x 2 > 3 x 2 หรือ 10 > 6
• ตัวอย่ำงกำรเขียนสัญลักษณ์กำรไม่เท่ำกันเท่ำกันแทนข้อควำม
1) a น้อยกว่ำ b หมำยถึง a < b
2) a มำกกว่ำ b หมำยถึง a > b
3) a น้อยกว่ำหรือเท่ำกับ b หมำยถึง a ≤ b
4) a มำกกว่ำหรือเท่ำกับ b หมำยถึง a ≥ b
5) a ไม่เท่ำกับ b หมำยถึง a ≠ b
แสดงช่วงต่ำงๆ บนเส้นจำนวนได้ดังนี้
B = [3, 4]A = (3, 4)
C = (3, 4] D = [3, 4)
F = [4, ∞)E = (4,∞)
G = (-∞,4) H = (-∞,3]
• ค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
เมื่อกำหนดให้ a เป็นจำนวนจริง ระยะจำกจุด 0 ถึงจุดที่
แทนจำนวนจริง a เรียกว่ำ ค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนจริง a เขียน
แทนด้วยสัญลักษณ์ I a I
เช่น I 2 I หมำยถึง ระยะจำกจุด 0 ถึงจุดที่แทนจำนวน 2
ซึ่งเท่ำกับ 2 หน่วย
สรุปเป็นกรณีทั่วไป เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ ได้ดังนี
ถ้ำ a เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว I a I = a
ถ้ำ a เป็นจำนวนจริงลบ แล้ว I a I = -a
ถ้ำ a เป็นศูนย์ แล้ว I a I = 0
a ถ้ำ a เป็นจำนวนบวกหรือศูนย์
หรือ | a | = a ถ้ำ a เป็นจำนวนลบ
โดยทั่วไปถ้ำ a เป็นจำนวนจริงบวกใดๆ
1. | x | < a มีควำมหมำยเช่นเดียวกับ –a < x < a
และ | x | ≤ a มีควำมหมำยเช่นเดียวกับ –a ≤ x ≤ a
เช่น | x | < 2 หมำยควำมว่ำระยะจำกจุดที่แทน x ไปยังจุด 0
บนเส้นจำนวนน้อยกว่ำ 2 หน่วย เขียนแสดงบนเส้นจำนวนได้ดังนี
จำกรูปจะเห็นว่ำ | x | < 2 มีควำมหมำยเช่นเดียวกันกับ -2 < x < 2
| x | ≤ 2 เขียนแสดงค่ำ x บนเส้นจำนวนได้ดังนี
-2 0-1-3 1 2 3
-3 -2 -1
0
1 2
3

More Related Content

What's hot

สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
กุ้ง ณัฐรดา
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
Mike Polsit
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
Aon Narinchoti
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
พิทักษ์ ทวี
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
sawed kodnara
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Ritthinarongron School
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มJiraprapa Suwannajak
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
sawed kodnara
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
Chokchai Taveecharoenpun
 

What's hot (20)

สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็ม
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 

Viewers also liked

ปลุกจิตคณิต ม.4 - จำนวนจริง
ปลุกจิตคณิต ม.4 - จำนวนจริงปลุกจิตคณิต ม.4 - จำนวนจริง
ปลุกจิตคณิต ม.4 - จำนวนจริง
photmathawee
 
Real Numbers
Real NumbersReal Numbers
Real Numbers
deathful
 
REAL NUMBERS
REAL NUMBERSREAL NUMBERS
REAL NUMBERS
Sariga Vinod
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 
Real numbers system
Real numbers systemReal numbers system
Real numbers system
Pradeep Agrawal
 
Real Numbers
Real NumbersReal Numbers
Real Numbers
Kavya Singhal
 
Real numbers
Real numbersReal numbers
Real numbers
appycoolme
 
Number System
Number SystemNumber System
Number System
samarthagrawal
 
Properties of Real Numbers
Properties of Real NumbersProperties of Real Numbers
Properties of Real Numbers
rfant
 

Viewers also liked (11)

ปลุกจิตคณิต ม.4 - จำนวนจริง
ปลุกจิตคณิต ม.4 - จำนวนจริงปลุกจิตคณิต ม.4 - จำนวนจริง
ปลุกจิตคณิต ม.4 - จำนวนจริง
 
ทศนิยมม.1
ทศนิยมม.1ทศนิยมม.1
ทศนิยมม.1
 
Real numbers
Real numbersReal numbers
Real numbers
 
Real Numbers
Real NumbersReal Numbers
Real Numbers
 
REAL NUMBERS
REAL NUMBERSREAL NUMBERS
REAL NUMBERS
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
Real numbers system
Real numbers systemReal numbers system
Real numbers system
 
Real Numbers
Real NumbersReal Numbers
Real Numbers
 
Real numbers
Real numbersReal numbers
Real numbers
 
Number System
Number SystemNumber System
Number System
 
Properties of Real Numbers
Properties of Real NumbersProperties of Real Numbers
Properties of Real Numbers
 

Similar to จำนวนจริง

สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
wisita42
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Thanuphong Ngoapm
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
พัน พัน
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
PumPui Oranuch
 
60 real
60 real60 real
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริงChwin Robkob
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม
17112528
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
Thidarat Termphon
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
rattapoomKruawang2
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
KruGift Girlz
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
อนุชิต ไชยชมพู
 

Similar to จำนวนจริง (20)

Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
60 real
60 real60 real
60 real
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
Real content
Real contentReal content
Real content
 
Real content
Real contentReal content
Real content
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 

จำนวนจริง

  • 3. • ระบบจำนวนจริง จำกแผนผังแสดงควำมสัมพันธ์ของจำนวนข้ำงต้น จะพบว่ำ ระบบ จำนวนจริง จะประกอบไปด้วย 1. จำนวนอตรรกยะ หมำยถึง จำนวนที่ไม่สำมำรถเขียนให้อยู่ในรูป เศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซำได้ ตัวอย่ำงเช่น √2 , √3, √5, -√2,-√3, -√5 หรือ ¶ ซึ่งมีค่ำ 3.14159265... 2. จำนวนตรรกยะ หมำยถึง จำนวนที่สำมำรถเขียนให้อยู่ในรูป เศษส่วนของจำนวนเต็มหรือทศนิยมซำได้
  • 4. • ระบบจำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะยังสำมำรถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม หมำยถึง จำนวนที่สำมำรถ เขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนหรือทศนิยมซำได้ แต่ไม่เป็นจำนวนเต็ม ตัวอย่ำงเช่น 2. จำนวนเต็ม หมำยถึง จำนวนที่เป็นสมำชิกของเซต I = {..., -4, -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, 4, ...} เมื่อกำหนดให้ I เป็นเซต ของจำนวนเต็ม
  • 5. • ระบบจำนวนเต็ม จำนวนเต็มยังสำมำรถแบ่งได้อีกเป็น 3 ประเภทด้วยกัน 1. จำนวนเต็มลบ หมำยถึง จำนวนที่เป็นสมำชิกของเซต I- โดยที่ I- = {..., -4, -3, -2, -1} เมื่อ I- เป็นเซตของจำนวนเต็มลบ 2. จำนวนเต็มศูนย์ (0) 3. จำนวนเต็มบวก หมำยถึง จำนวนที่เป็นสมำชิกของเซต I+ โดยที่ I+ = {1, 2, 3, 4, ...} เมื่อ I+ เป็นเซตของจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็ม บวก เรียกได้อีกอย่ำงว่ำ "จำนวนนับ" ซึ่งเขียนแทนเซตของจำนวน นับได้ด้วยสัญลักษณ์ N โดยที่ N = I+ = {1, 2, 3, 4, ...} จำนวนเต็มบวก เรียกได้อีกอย่ำงว่ำ "จำนวนนับ" ซึ่งเขียน แทนเซตของจำนวนนับได้ด้วยสัญลักษณ์ N โดยที่ N = I+ = {1, 2, 3, 4, ...}
  • 6. สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับกำรบวกและกำรคูณ • สมบัติกำรเท่ำกันของจำนวนจริง กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ 1. สมบัติกำรสะท้อน a = a 2. สมบัติกำรสมมำตร ถ้ำ a = b แล้ว b = a 3. สมบัติกำรถ่ำยทอด ถ้ำ a = b และ b = c แล้ว a = c 4. สมบัติกำรบวกด้วยจำนวนที่เท่ำกัน ถ้ำ a = b แล้ว a + c = b + c 5. สมบัติกำรคูณด้วยจำนวนที่เท่ำกัน ถ้ำ a = b แล้ว ac = bc
  • 7. • สมบัติกำรบวกในระบบจำนวนจริง กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ 1. สมบัติปิดกำรบวก a + b เป็นจำนวนจริง 2. สมบัติกำรสลับที่ของกำรบวก a + b = b + c 3. สมบัติกำรเปลี่ยนกลุ่มกำรบวก a + ( b + c) = ( a + b ) + c 4. เอกลักษณ์กำรบวก 0 + a = a = a + 0 นั่นคือ ในระบบจำนวน จริงจะมี 0 เป็นเอกลักษณ์กำรบวก 5. อินเวอร์สกำรบวก a + ( -a ) = 0 = ( -a ) + a นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง จำนวน a จะมี -aเป็นอินเวอร์สของกำรบวก
  • 8. • สมบัติกำรคูณในระบบจำนวนจริง กำหนดให้ a, b, c, เป็นจำนวนจริงใดๆ 1. สมบัติปิดกำรคูณ ab เป็นจำนวนจริง 2. สมบัติกำรสลับที่ของกำรคูณ ab = ba 3. สมบัติกำรเปลี่ยนกลุ่มของกำรคูณ a(bc) = (ab)c 4. เอกลักษณ์กำรคูณ 1 · a = a = a · 1 นั่นคือในระบบจำนวน จริง มี 1 เป็นเอกลักษณ์กำรคูณ 5. อินเวอร์สกำรคูณ a · a-1 = 1 = a · a-1, a ≠ 0 นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง จำนวนจริง a จะมี a-1 เป็นอินเวอร์ส กำรคูณ ยกเว้น 0
  • 9. นอกจำกนีในระบบจำนวนจริงยังมีสมบัติที่เกี่ยวข้องทังกำรบวกและ กำรคูณ สมบัติดังกล่ำว ได้แก่ สมบัติกำรแจกแจง กล่ำวคือ เมื่อ a, b และ c เป็นจำนวนจริงใดๆ a(b+c) = ab + ac และ (b+c)a = ba + ca เช่น 2· (5+8) = 2·5 + 2·8 หรือ (5+8) ·2 = 5·2 + 8·2
  • 10. กำรนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้แก้สมกำรกำลังสอง • กำรแยกตัวประกอบของพหุนำม พหุนำมดีกรีสองตัวแปรเดียว คือ พหุนำมที่เขียนในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a , b , c เป็นค่ำคงตัวที่ a ≠ 0 และ x เป็นตัวแปร กำรแยกตัวประกอบของพหุนำมดีกรีสองตัวแปรเดียว ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a , b เป็นจำนวนเต็ม และ c = 0 ในกรณีที่ c = 0 พหุนำมดีกรีสองตัวแปรเดียวจะอยู่ในรูป ax2+ bx สำมำรถใช้สมบัติกำรแจกแจงแยกตัวประกอบได้
  • 11. ตัวอย่ำงที่ 1 จงแยกตัวประกอบของ x2 + 2x วิธีทำ x2 + 2x = (x)(x) + (2)(x) = x(x + 2) ตัวอย่ำงที่ 2 จงแยกตัวประกอบของ 4x2 - 20x วิธีทำ 4x2 - 20x = (4x)(x) - (4x)(5) = 4x(x - 5) ตัวอย่ำงที่ 3 จงแยกตัวประกอบของ -4x2 - 6x วิธีทำ -4x2 - 6x = -2x(2x + 3) หรือ -4x2 - 6x = 2x(-2x - 3) ตัวอย่ำงที่ 4 จงแยกตัวประกอบของ -15x2 + 12x วิธีทำ -15x2 + 12x = (3x)(-5x) + (3x)(4) = 3x(-5x + 4)
  • 12. ในรูป ax2 +bx+c เมื่อ a = 1 , b และ c เป็นจำนวนเต็มและ c ≠ 0 ในกรณีที่ a = 1 และ c ≠ 0 พหุนำมดีกรีสองตัวแปรเดียว จะอยู่ใน รูป x2 + bx + c สำมำรถแยกตัวประกอบของพหุนำมในรูปนีได้ โดยอำศัยแนวคิดจำกกำร หำผลคูณของพหุนำม ดังตัวอย่ำงต่อไปนี จำกกำรหำผลคูณ ( x +2 )( x + 3 ) ดังกล่ำว จะได้ขันตอนกำรแยกตัว ประกอบของ x2 + 5x + 6 โดยทำขันตอนย้อนกลับ ดังนี x2 + 5x + 6 = x2 + (2 + 3)x + (2)(3) = x2 + (2x + 3x) + (2)(3) = (x2 +2x) + [3x + (2)(3)]
  • 13. = (x + 2)x + (x + 2)(3) = (x + 2)(x + 3) นั่นคือ x2 + 5x + 6 = (x + 2)(x + 3) พิจำรณำผลคูณของพหุนำมต่อไปนี 1. (x + 2)(x + 3) = (x + 2)(x) + (x + 2)(3) = (x2 + 2x)+ [3x +(2)(3)] = x2 + (2x+ 3x) + (2)(3) = x2 + (2+ 3)x + (2)(3) = x2 + 5x + 6 ดังนัน แยกตัวประกอบของ x2 + 5x + 6 = (x + 2)(x + 3)
  • 14. • กำรแก้สมกำรกำลังสองตัวแปรเดียว กำรแก้สมกำร หรือกำรหำคำตอบของสมกำรกำลังสอง ตัวแปรเดียว หมำยถึงกำรหำคำตอบของสมกำรที่เขียนอยู่ในรูป ax2+bx+c=0 เมื่อ a, b, c เป็นค่ำคงตัว และ a ≠ 0 ทำได้โดยอำศัย ควำมรู้เกี่ยวกับจำนวนจริงดังนี ถ้ำ a และ b เป็นจำนวนจริง และ ab = 0 แล้ว a หรือ b อย่ำงน้อยหนึ่งตัวต้องเป็นศูนย์ ตัวอย่ำงที่ 1 จงหำคำตอบของสมกำร x(x-2) = 0 วิธีทำ ถ้ำ x(x-2) = 0 จะได้ว่ำ x = 0 หรือ x-2 = 0 , x = 2 ดังนัน 0 และ 2 เป็นคำตอบของสมกำร x(x-2) = 0
  • 15. ตัวอย่ำงที่ 2 จงหำคำตอบของสมกำร x2 +6x+4 = 0 วิธีทำ x2 +6x+4 = (x2 +(2)(3)x+32 )+4-32 = (x+3)2 -5 = (x+3+√2)(x+3-√5) หำคำตอบของสมกำร (x+3+√2)(x+3-√5) = 0 โดยกำรหำค่ำ x ที่ทำให้ (x+3+√5) = 0 หรือ (x+3-√5) = 0 จะได้ x = -(3+√5) หรือ x = -(3-√5)
  • 16. • สมบัติกำรไม่เท่ำกัน ให้ a, b, c เป็นจำนวนใดๆ 1) สมบัติกำรถ่ำยทอด ถ้ำ a > b และ b > c แล้ว a > c เช่น 10 > 5 และ 5 > 1 ดังนัน 10 > 1 2) สมบัติกำรบวกด้วยจำนวนเท่ำกัน ถ้ำ a > b แล้ว a + c > b + c เช่น 2 > 0 จะได้ 2 + 1 > 0 + 1 หรือ 3 > 1 3) สมบัติกำรคูณด้วยจำนวนเท่ำกันที่มำกกว่ำศูนย์ ถ้ำ a > b และ c > 0 แล้ว ac > bc เช่น 5 > 3 จะได้ 5 x 2 > 3 x 2 หรือ 10 > 6
  • 17. • ตัวอย่ำงกำรเขียนสัญลักษณ์กำรไม่เท่ำกันเท่ำกันแทนข้อควำม 1) a น้อยกว่ำ b หมำยถึง a < b 2) a มำกกว่ำ b หมำยถึง a > b 3) a น้อยกว่ำหรือเท่ำกับ b หมำยถึง a ≤ b 4) a มำกกว่ำหรือเท่ำกับ b หมำยถึง a ≥ b 5) a ไม่เท่ำกับ b หมำยถึง a ≠ b
  • 18. แสดงช่วงต่ำงๆ บนเส้นจำนวนได้ดังนี้ B = [3, 4]A = (3, 4) C = (3, 4] D = [3, 4) F = [4, ∞)E = (4,∞) G = (-∞,4) H = (-∞,3]
  • 19. • ค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนจริง เมื่อกำหนดให้ a เป็นจำนวนจริง ระยะจำกจุด 0 ถึงจุดที่ แทนจำนวนจริง a เรียกว่ำ ค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนจริง a เขียน แทนด้วยสัญลักษณ์ I a I เช่น I 2 I หมำยถึง ระยะจำกจุด 0 ถึงจุดที่แทนจำนวน 2 ซึ่งเท่ำกับ 2 หน่วย สรุปเป็นกรณีทั่วไป เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ ได้ดังนี ถ้ำ a เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว I a I = a ถ้ำ a เป็นจำนวนจริงลบ แล้ว I a I = -a ถ้ำ a เป็นศูนย์ แล้ว I a I = 0
  • 20. a ถ้ำ a เป็นจำนวนบวกหรือศูนย์ หรือ | a | = a ถ้ำ a เป็นจำนวนลบ โดยทั่วไปถ้ำ a เป็นจำนวนจริงบวกใดๆ 1. | x | < a มีควำมหมำยเช่นเดียวกับ –a < x < a และ | x | ≤ a มีควำมหมำยเช่นเดียวกับ –a ≤ x ≤ a เช่น | x | < 2 หมำยควำมว่ำระยะจำกจุดที่แทน x ไปยังจุด 0 บนเส้นจำนวนน้อยกว่ำ 2 หน่วย เขียนแสดงบนเส้นจำนวนได้ดังนี จำกรูปจะเห็นว่ำ | x | < 2 มีควำมหมำยเช่นเดียวกันกับ -2 < x < 2 | x | ≤ 2 เขียนแสดงค่ำ x บนเส้นจำนวนได้ดังนี -2 0-1-3 1 2 3 -3 -2 -1 0 1 2 3