SlideShare a Scribd company logo
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal Reproduction)
จานวน 4 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 12 ชั่วโมง ประกอบด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15
เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
(Asexual reproduction)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16
เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
(Sexual reproduction)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
เรื่อง โครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
ของระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal Reproduction)
เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และ
การเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ เขียนสรุปเปรียบเทียบ
ความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้
จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์แต่ละ
ประเภทได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ต่อการปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตของสัตว์ได้
อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
@ การสืบพันธุ์ (Reproduction) หมายถึง การทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ ที่มีลักษณะเหมือนตนเอง
การสืบพันธุ์จึงเป็นสมบัติที่สาคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต ทาให้สิ่งมีชีวิตดารงเผ่าพันธุ์อยู่ในโลกต่อไปได้
@ ประเภทของการสืบพันธุ์ การสืบพันธุ์มี 2 แบบ คือ
1.การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) เป็นการทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตใหม่
จากสิ่งมีชีวิตเดิมด้วยวิธีการต่างๆโดยไม่ต้องใช้เซลล์สืบพันธุ์
* ข้อดีของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
1.1 เพิ่มจานวนได้รวดเร็ว
1.2 สืบพันธุ์ได้ด้วยตัวเอง
1.3 ไม่มีการกลายพันธุ์ (No variation)
* ข้อเสียของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นใหม่ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้น้อย เพราะยีนคงที่
มีโอกาสสูญพันธุ์ได้ง่าย
2.การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่มีการสร้างเซลล์
สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียแล้วมาผสมกัน เรียกว่า การปฏิสนธิ(Fertilization) หรือเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงของเซลล์สืบพันธุ์ไปเป็นเอ็มบริโอโดยตรง
* ข้อดีของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นใหม่มีความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic
Variation) สามารถดารงชีวิตได้ในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลาได้ดี
* ข้อเสียการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
1.1 เพิ่มจานวนได้ช้า 1.2 สูญเสียพลังงานมาก
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ
สืบพันธุ์ของสัตว์ดอกแต่ละประเภท
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ต่อการ
ปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตของสัตว์
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> ถ้าสิ่งมีชีวิตไม่มีการสืบพันธุ์จะเกิดผลอย่างไรต่อสิ่งมีชีวิต
> สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการสืบพันธุ์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
> มีสัตว์ชนิดใดบ้างที่สามารถสืบพันธุ์ด้วยวิธีการงอกใหม่
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ที่
เกิดจากการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศจึงมีลักษณะรูปร่างและสารพันธุกรรมเหมือนกับสิ่งมีชีวิตตัวเดิมทุก
ประการ
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว
เช่น สัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายในและภายนอก มีการดารงชีวิตที่เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์” ว่า
@ การสืบพันธุ์ (Reproduction) หมายถึง การทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ ที่มีลักษณะเหมือน
ตนเอง การสืบพันธุ์จึงเป็นสมบัติที่สาคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต ทาให้สิ่งมีชีวิตดารงเผ่าพันธุ์อยู่ในโลกต่อไปได้
@ ประเภทของการสืบพันธุ์ การสืบพันธุ์มี 2 แบบ คือ
1.การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) เป็นการทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตใหม่
จากสิ่งมีชีวิตเดิมด้วยวิธีการต่างๆโดยไม่ต้องใช้เซลล์สืบพันธุ์
* ข้อดีของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
1.1 เพิ่มจานวนได้รวดเร็ว
1.2 สืบพันธุ์ได้ด้วยตัวเอง
1.3 ไม่มีการกลายพันธุ์ (No variation)
* ข้อเสียของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นใหม่ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้น้อย เพราะยีนคงที่
มีโอกาสสูญพันธุ์ได้ง่าย
2.การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่มีการสร้างเซลล์
สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียแล้วมาผสมกัน เรียกว่า การปฏิสนธิ (Fertilization) หรือเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงของเซลล์สืบพันธุ์ไปเป็นเอ็มบริโอโดยตรง
* ข้อดีของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นใหม่มีความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic
variation) สามารถดารงชีวิตได้ในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลาได้ดี
* ข้อเสียการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
1.1 เพิ่มจานวนได้ช้า
1.2 สูญเสียพลังงานมาก
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ
กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์
ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ในการศึกษา
ชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ การสรุป
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการ
ประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์: www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal Reproduction)
เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และ
การเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual
reproduction) เขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) ของ
สัตว์แต่ละชนิด อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual
reproduction) ได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) ของ
สัตว์แต่ละชนิดได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) ต่อการ
ปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
@ การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ
@ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ส่วนใหญ่เป็นการแบ่งเซลล์เป็นสองส่วนเท่าๆกัน (binary fission)
เช่น อะมีบา พารามีเซียม และยูกลีนาหรือบางชนิดอาจสืบพันธุ์โดยการแตกหน่อ (budding) เช่น ยีสต์
@ บางชนิดมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ(Conjunction) พบในพารามีเซียมโดยพารามีเซียม 2 ตัวจะ
มาจับคู่กัน เพื่อแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรม ในไมโครนิวเคลียส จากนั้นจึงแยกกันแต่ละตัวก็จะแบ่งตัวต่อไป จาก
การ Conjunction 1 ครั้งจะได้ พารามีเซียมทั้งสิ้น 8 ตัว
@ การสืบพันธุ์ของสัตว์ แบ่งออกเป็น 2แบบ ได้แก่ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและแบบอาศัยเพศ
@ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) พบได้ในสัตว์ที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อนโดย
การผลิตสิ่งมีชีวิตตัวใหม่จากสิ่งมีชีวิตเดิม ได้แก่ การงอกใหม่ การแตกหน่อ เป็นต้น
1. การแตกหน่อ (Budding)
2. การแบ่งตัวออกเป็นสอง (Binary fission)
3. การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation)
4. การสร้างสปอร์ (Spore formation)
5. พาร์ธีโนเจนเนซิส (Parthenogenesis)
6. รีเจนเนอร์เรชั่น (Regeneration)
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์
(Asexual reproduction)
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual
reproduction) ของสัตว์แต่ละชนิด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์
(Asexual reproduction) ต่อการปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตของสัตว์
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> ถ้าสิ่งมีชีวิตไม่มีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) จะเกิดผลอย่างไรต่อ
สิ่งมีชีวิต
> สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) เหมือนหรือ
แตกต่างกันอย่างไร
> มีสัตว์ชนิดใดบ้างที่สามารถสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) ด้วยวิธีการ
แตกหน่อ
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ที่
เกิดจากการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศจึงมีลักษณะรูปร่างและสารพันธุกรรมเหมือนกับสิ่งมีชีวิตตัวเดิมทุก
ประการ
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว
เช่น สัตว์ที่มีการสืบพันธ์แบบไม่อาศัยเพศโดยวิธีการงอกใหม่กับแตกหน่อ มีการดารงชีวิตที่เหมือนหรือ
แตกต่างกันอย่างไร
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual
reproduction)” ว่า
@ การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัย
เพศ ส่วนใหญ่เป็นการแบ่งเซลล์เป็นสองส่วนเท่าๆกัน (binary fission) เช่น อะมีบา พารามีเซียม และยูกลีนา
หรือบางชนิดอาจสืบพันธุ์โดยการแตกหน่อ (budding) เช่น ยีสต์
@ บางชนิดมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Conjunction) พบในพารามีเซียมโดยพารามีเซียม 2 ตัวจะ
มาจับคู่กัน เพื่อแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรม ในไมโครนิวเคลียส จากนั้นจึงแยกกันแต่ละตัวก็จะแบ่งตัวต่อไป จาก
การ Conjunction 1 ครั้งจะได้ พารามีเซียมทั้งสิ้น 8 ตัว
@ การสืบพันธุ์ของสัตว์ แบ่งออกเป็น 2แบบ ได้แก่ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ และการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศ
@ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) พบได้ในสัตว์ที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อนโดย
การผลิตสิ่งมีชีวิตตัวใหม่จากสิ่งมีชีวิตเดิม ได้แก่ การงอกใหม่ การแตกหน่อ เป็นต้น
1. การแตกหน่อ (Budding) สิ่งมีชีวิตตัวใหม่งอกออกมาจากตัวเดิม แล้วหลุดออกมาเป็น
สิ่งมีชีวิตตัวใหม่ เช่น ไฮดรา ยีสต์ และยังพบในพืชอีกด้วยเช่น หน่อไม้ ไผ่
2. การแบ่งตัวออกเป็นสอง (Binary fission) สิ่งมีชีวิตตัวหนึ่งแบ่งเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่แบบ
เท่าๆกัน โดยเริ่มจากการแบ่งนิวเคลียส และตามด้วยไซโทพลาสซึม สิ่งมีชีวิตที่ใช้กระบวนการนี้ได้แก่
อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา และแบคทีเรีย
3. การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation) ส่วนที่หลุดไปจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งพัฒนาไปเป็น
สิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้ โดยเซลล์ในส่วนที่หลุดไปนั้นเกิดรีเจนเนอเรชั่น (regeneration) กลับเป็นเนื้อเยื่อ
เจริญได้อีก ตัวอย่างเช่น ดาวทะเล
4. การสร้างสปอร์ (Spore formation) คือการแบ่งนิวเคลียสออกเป็นหลายๆนิวเคลียส
สิ่งมีชีวิตที่ใช้กระบวนการนี้ได้แก่ เห็ด รา ยีสต์
5. พาร์ธีโนเจนเนซิส (Parthenogenesis) คือการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของแมลงบาง
ชนิด โดยสามารถวางไข่แบบไม่อาศัยการปฏิสนธิ เช่น ตั๊กแตนกิ่งไม้ เพลี้ย ไรน้า ผึ้ง มด ต่อ แตน
6. รีเจนเนอร์เรชั่น (Regeneration) คือการงอกไหม่ เกิดหลัง การขาดออกเป็นท่อน มี2แบบ
คือ ก่อให้เกิดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ เช่น พลานาเรีย ปลิง ดาวทะเล ไส้เดือนดิน ซีแอนนีโมนี เป็นต้น หรือ
ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ เช่น จิ้งจกงอกหาง
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) การสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์
แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) ของสัตว์แต่ละชนิด อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่อง
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual
reproduction) การสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) ของ
สัตว์แต่ละชนิด อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual
reproduction) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual
reproduction): www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction):
www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์
(Asexual reproduction)
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal Reproduction)
เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และ
การเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual
reproduction) เขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) ของสัตว์
แต่ละชนิด อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction)
ได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction)
ของสัตว์แต่ละชนิดได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) ต่อการ
ปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
@ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการปฏิสนธิของ
เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรืออสุจิกับเซลล์ไข่ซึ่งแบ่งออกเป็นการปฏิสนธิภายนอกตัว (External fertilization) และ
การปฏิสนธิภายในตัว (Internal fertilization)
@ เซลล์ไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว เรียกว่า ไซโกต ซึ่งไซโกตนี้จะเจริญไปเป็นเอ็มบริโอและตัวเต็มวัยต่อไป
ตัวอย่าง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศสัตว์ ได้แก่
1. การสืบพันธุ์ของพลานาเรีย
2. การสืบพันธุ์ของไส้เดือนดิน
3. การสืบพันธุ์ของไฮดรา
4. การสืบพันธุ์ของแมลง
5. การสืบพันธุ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
5.1 การสืบพันธุ์ของสัตว์น้า
5.2 การสืบพันธุ์ของสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
5.3 การสืบพันธุ์ของสัตว์ปีก
5.4 การสืบพันธุ์ของสัตว์เลื้อยคลาน
5.5 การสืบพันธุ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual
reproduction)
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual
reproduction) ของสัตว์แต่ละชนิด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์
(Sexual reproduction) ต่อการปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตของสัตว์
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> ถ้าสิ่งมีชีวิตไม่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) จะเกิดผลอย่างไรต่อ
สิ่งมีชีวิต
> สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เหมือนหรือ
แตกต่างกันอย่างไร
> มีสัตว์ชนิดใดบ้างที่สามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) ด้วยการปฏิสนธิ
ภายนอกแบบจับคู่ผสมพันธุ์
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ที่
เกิดจากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศจึงมีลักษณะรูปร่างและสารพันธุกรรมแตกต่างกันในแต่ละรุ่น ซึ่งลักษณะที่
แตกต่างกันในแต่ละรุ่นนี้ส่งผลดีต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว
เช่น สัตว์ที่มีการสืบพันธ์แบบอาศัยเพศโดยวิธีการปฏิสนธิภายนอกและปฏิสนธิภายใน มีการดารงชีวิตที่เหมือน
หรือแตกต่างกันอย่างไร
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction)”
ว่า
@ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการปฏิสนธิของ
เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรืออสุจิกับเซลล์ไข่ซึ่งแบ่งออกเป็นการปฏิสนธิภายนอกตัว (External fertilization) และ
การปฏิสนธิภายในตัว (Internal fertilization)
@ เซลล์ไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว เรียกว่า ไซโกต ซึ่งไซโกตนี้จะเจริญไปเป็นเอ็มบริโอและตัวเต็มวัยต่อไป
ตัวอย่าง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศสัตว์ ได้แก่
1. การสืบพันธุ์ของพลานาเรีย
พลานาเรียเป็นสัตว์ที่มีอวัยวะเพศทั้งสองเพศในตัวเดียวกัน การปฏิสนธิเป็นการผสมข้ามตัว โดย พลา
นาเรียจะจับคู่และแลกเปลี่ยนอสุจิกันอสุจิจะเคลื่อนไปตามท่อนาไข่แล้วเกิดการปฏิสนธิกับเซลล์ไข่ในท่อนาไข่
2. การสืบพันธุ์ของไส้เดือนดิน
ไส้เดือนดิน 2 ตัวจะมาจับคู่สลับหัวสลับหางกัน อสุจิจากตัวที่หนึ่งจะส่งไปยังช่องรับอสุจิขิงอีกฝ่าย
หนึ่ง ต่อมา 2-3 วัน ไส้เดือนดินจะสร้างถุงหุ้มเซลล์ไข่ขึ้นและปล่อยไข่ออกมาที่ถุงหุ้มเซลล์ไข่เซลล์ไข่ที่ผสมกับ
อสุจิจะพักอยู่ในถุงหุ้มเซลล์ไข่และเจริญเป็นตัวในระยะเวลาต่อมา
3. การสืบพันธุ์ของไฮดรา
ไฮดราเป็นสัตว์ที่มีอวัยวะเพศทั้งสองเพศในตัวเดียวกันการปฏิสนธิเป็นการผสมข้ามตัวเนื่องจากไข่
และอสุจิเจริญไม่พร้อมกัน
4. การสืบพันธุ์ของแมลง
แมลงเป็นสัตว์แยกเพศ มีการปฏิสนธิภายใน เมื่อมีการผสมกัน แมลงเพศผู้จะหลั่งอสุจิออกทาง
องคชาตเข้าสู่ระบบสืบพันธุ์ของเพศเมีย อสุจิจะผ่านช่องคลอดของเพศเมียไปผสมกับเซลล์ไข่ที่ผลิตจากรังไข่
ตรงบริเวณท่อนาไข่นอกจากนี้แมลงเพศเมียบางชนิดมีสเปอร์มเพื่อเก็บสะสมอสุจิไว้ผสมกับเซลล์ไข่ด้วยจัดเป็น
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เพราะมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เซลล์ไข่เจริญเป็นสิ่งมีชีวิตที่สมบูรณ์โดยไม่ต้องมีการ
ปฏิสนธิ เช่น ผึ้ง มด ต่อ แตน สาหรับผึ้งนั้น ไข่ที่มีการปฏิสนธิจะเจริญเป็นนางพญาและผึ้งงานที่เป็นตัวเมีย
ส่วนไข่ที่ไม่มีการปฏิสนธิจะเจริญเป็นผึ้งตัวผู้และมีโครโมโซมเป็นครึ่งหนึ่งของตัวเมีย
5. การสืบพันธุ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การสืบพันธุ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลังจะมีอวัยวะแยกกันอย่างชัดเจน โดยสัตว์ตัวผู้มักจะมีสีเข้มกว่าตัว
เมีย หรือมีเสียงไพเราะกว่า เพราะเป็นฝ่ายดึงดูดให้ตัวเมียเข้าไปหา สาหรับการปฏิสนธิมีทั้งภายในและ
ภายนอกตัวเมีย
5.1 การสืบพันธุ์ของสัตว์น้า
สัตว์ที่อยู่ในน้า เช่น ปลา ส่วนใหญ่เมื่อสร้างเซลล์ไข่และอสุจิแล้วจะส่งออกมาทางท่อสืบพันธุ์นอก
ลาตัว ออกลูกเป็นตัว เรียกว่า Oviparous animal
5.2 การสืบพันธุ์ของสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก เช่น กบ เขียด คางคก อึ่งอ่าง อาศัยบนบกแต่ผสมพันธุ์ในน้าโดยทั้งคู่ต่าง
ปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ลงในน้าออกลูกเป็นไข่เรียกว่า Oviparous animal
5.3 การสืบพันธุ์ของสัตว์ปีก
ตว์ปีก เช่น นก ไก่ เป็ด มีการปฏิสนธิภายในตัวเมีย วางไข่บนบก ไข่มีเปลือกหุ้มออกลูกเป็นไข่
เรียกว่าOviparous animal
5.4 การสืบพันธุ์ของสัตว์เลื้อยคลาน
สัตว์เลื้อยคลาน เช่น เต่า จระเข้ มีการปฏิสนธิภายนตัวเมีย วางไข่บนบกไข่มีเปลือกหุ้มออกลูกเป็นไข่
เรียกว่าOviparous animal
5.5 การสืบพันธุ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม เช่น สุนัข แมว ลิง มีการปฏิสนธิภายในลาตัว ตัวอ่อนเจริญภายในตัวแม่ และ
ออกลูกเป็นตัว เรียกว่าViviparous animal
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) การสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศ (Sexual reproduction) ของสัตว์แต่ละชนิด อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual
reproduction) การสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) ของสัตว์
แต่ละชนิด อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual
reproduction) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction):
www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction):
www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์
(Sexual reproduction)
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal Reproduction)
เรื่อง โครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์ เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และ
การเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่
ของระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์ เขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างอวัยวะและ
บทบาทหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์เพศหญิงและเพศชาย อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไป
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ของระบบ
สืบพันธุ์ในมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง
2.2 เขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ของ
ระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์เพศหญิงและเพศชายได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ต่อกระบวนการ
ดารงชีวิตของมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
@ การสืบพันธุ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลังจะมีอวัยวะเพศแยกกันอยู่คนละตัว มีการปฏิสนธิ 2 รูปแบบ
 การปฏิสนธิภายนอกลาตัว
 การปฏิสนธิภายในลาตัว
@ การสืบพันธุ์ของคนมีกระบวนการเหมือนกันสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆ
@ โครงสร้างระบบสืบพันธุ์เพศชายและเพศหญิงมีลักษณะที่แตกต่างกัน เพื่อทาหน้าที่ได้อย่าง
เหมาะสมการปฏิสนธิและการตั้งครรภ์
@ วิธีการรักษาภาวะมีบุตรยาก เช่น IVF ,ICSI ,GIFT
@ ภาวะการมีบุตรยากอาจมีสาเหตุมาจาก
 ความผิดปกติของชาย
 ความผิดปกติของหญิง
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างอวัยวะและบทบาท
หน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้าง
อวัยวะและบทบาทหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์เพศหญิงและเพศชาย
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญโครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ของระบบ
สืบพันธุ์ต่อกระบวนการดารงชีวิตของมนุษย์
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> องค์ประกอบและโครงสร้างของอวัยวะเพศเหมาะสมต่อการทาหน้าที่ในกระบวนการสืบพันธุ์
ของมนุษย์อย่างไร
> อวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิงและเพศชายมีโครงสร้างใดบ้างที่ทาหน้าที่คล้ายกัน และทาหน้าที่
อะไรบ้าง
> องค์ประกอบและโครงสร้างของอวัยวะสืบพันธ์ทั้งเพศหญิงและเพศชายมีความสัมพันธ์กับ
ระดับวิวัฒนาการของมนุษย์อย่างไรบ้าง
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการสืบพันธุ์ในมนุษย์มี
ความสัมพันธ์กับลักษณะโครงสร้างของอวัยวะสืบพันธ์ที่มีความแตกต่างกันในเพศหญิงปละเพศชายอย่างไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
กระบวนการสืบพันธุ์ในมนุษย์ที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันโดยเฉพาะด้านโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง
กับอวัยวะสืบพันธ์จะมีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ใน
มนุษย์” ว่า
> การสืบพันธุ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลังจะมีอวัยวะเพศแยกกันอยู่คนละตัว
- สัตว์มีกระดูกสันหลังที่อาศัยอยู่ในน้า เช่น ปลา สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก จะมีการผสมพันธุ์
นอกลาตัว ปฏิสนธิและวางไข่ในน้าหรือในที่ชื้นแฉะ
- สัตว์มีกระดูกสันหลังที่อาศัยบนบก การปฏิสนธิไม่จาเป็นต้องอาศัยน้า เพราะมีการพัฒนา
อวัยวะที่จะถ่ายอสุจิให้เพศเมีย จึงมีการปฏิสนธิภายในและวางไข่บนบก
> การสืบพันธุ์ของคนมีกระบวนการเหมือนกันสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆ ได้แก่
 การรวมตัวของเซลล์อสุจิและเซลล์ไข่เป็นไซโกต
 การแบ่งเซลล์และเจริญเติบโตของไซโกตเป็นเอ็มบริโอ
 การพัฒนาเอ็มบริโอเข้าสู่เดือนที่ 3 เป็นฟีตัส
 การคลอดของฟีตัสเมื่ออายุครบ 9 เดือนเป็นทารก
> โครงสร้างระบบสืบพันธุ์เพศชาย ได้แก่
 อัณฑะอยู่ในถุงหุ้มอัณฑะ
 หลอดสร้างอสุจิมีกระบวนการสร้างอสุจิ
 หลอดเก็บอสุจิที่พัฒนาต่อจนเจริญเต็มที่
 หลอดนาอสุจิสู่ท่อปัสสาวะ
 ต่อมสร้างน้าอสุจิ ต่อมลูกหมาก ต่อมคาวเปอร์
> โครงสร้างระบบสืบพันธุ์เพศหญิง ได้แก่
 รังไข่ภายในมีกระบวนการผลิตไข่
 ท่อนาไข่จากรังไข่สู่มดลูก
 มดลูกที่ฝังตัวอ่อนเอ็มบริโอ
 ปากมดลูกและช่องคลอด
> ภาวะการมีบุตรยากอาจมีสาเหตุมาจาก
 ความผิดปกติของชาย
 ลักษณะผิดปกติและจานวนน้อย
 ทางผ่านตีบตัน
 น้าอสุจิมีภาวะไม่เหมาะสม
 ความผิดปกติของหญิง
 พิการมาแต่กาเนิด
 ทางผ่านผิดปกติ
 การอักเสบติดเชื้อ
 เยื่อบุผิดปกติเกิดเนื้องอก
 ขาดฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน
> วีธีการรักษาภาวการณ์มีบุตรอยาก
 การสร้างทารกในหลอดแก้ว (IVF)
 การผสมเทียมในหลอดแก้ว (ICSI)
 การผสมตามธรรมชาติโดยการฉีดอสุจิ (GIFT)
Lessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduce

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
dnavaroj
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
Wichai Likitponrak
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
gchom
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
Ketsarin Prommajun
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 

Similar to Lessonplan 4animalreproduce

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantreproLesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Wichai Likitponrak
 
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowthLesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
Wichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
Oui Nuchanart
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1jamjuree_ben
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
Wichai Likitponrak
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4sonsukda
 
Lessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowthLessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowth
Wichai Likitponrak
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
Nattayaporn Dokbua
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Wichai Likitponrak
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
tassanee chaicharoen
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
Kay Pakham
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
juriporn chuchanakij
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
Prachoom Rangkasikorn
 

Similar to Lessonplan 4animalreproduce (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantreproLesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
 
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowthLesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
 
Lessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowthLessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowth
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8aแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

Lessonplan 4animalreproduce

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal Reproduction) จานวน 4 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 12 ชั่วโมง ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง (Asexual reproduction) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง (Sexual reproduction) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 เรื่อง โครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง ของระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal Reproduction) เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และ การเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ เขียนสรุปเปรียบเทียบ ความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้ จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์แต่ละ ประเภทได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ต่อการปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตของสัตว์ได้ อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ @ การสืบพันธุ์ (Reproduction) หมายถึง การทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ ที่มีลักษณะเหมือนตนเอง การสืบพันธุ์จึงเป็นสมบัติที่สาคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต ทาให้สิ่งมีชีวิตดารงเผ่าพันธุ์อยู่ในโลกต่อไปได้ @ ประเภทของการสืบพันธุ์ การสืบพันธุ์มี 2 แบบ คือ 1.การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) เป็นการทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตใหม่ จากสิ่งมีชีวิตเดิมด้วยวิธีการต่างๆโดยไม่ต้องใช้เซลล์สืบพันธุ์ * ข้อดีของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ 1.1 เพิ่มจานวนได้รวดเร็ว 1.2 สืบพันธุ์ได้ด้วยตัวเอง 1.3 ไม่มีการกลายพันธุ์ (No variation) * ข้อเสียของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นใหม่ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้น้อย เพราะยีนคงที่ มีโอกาสสูญพันธุ์ได้ง่าย 2.การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่มีการสร้างเซลล์
  • 3. สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียแล้วมาผสมกัน เรียกว่า การปฏิสนธิ(Fertilization) หรือเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของเซลล์สืบพันธุ์ไปเป็นเอ็มบริโอโดยตรง * ข้อดีของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นใหม่มีความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic Variation) สามารถดารงชีวิตได้ในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลาได้ดี * ข้อเสียการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ 1.1 เพิ่มจานวนได้ช้า 1.2 สูญเสียพลังงานมาก 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ สืบพันธุ์ของสัตว์ดอกแต่ละประเภท คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ต่อการ ปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตของสัตว์ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > ถ้าสิ่งมีชีวิตไม่มีการสืบพันธุ์จะเกิดผลอย่างไรต่อสิ่งมีชีวิต > สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการสืบพันธุ์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
  • 4. > มีสัตว์ชนิดใดบ้างที่สามารถสืบพันธุ์ด้วยวิธีการงอกใหม่ ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ที่ เกิดจากการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศจึงมีลักษณะรูปร่างและสารพันธุกรรมเหมือนกับสิ่งมีชีวิตตัวเดิมทุก ประการ นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น สัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายในและภายนอก มีการดารงชีวิตที่เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์” ว่า @ การสืบพันธุ์ (Reproduction) หมายถึง การทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ ที่มีลักษณะเหมือน ตนเอง การสืบพันธุ์จึงเป็นสมบัติที่สาคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต ทาให้สิ่งมีชีวิตดารงเผ่าพันธุ์อยู่ในโลกต่อไปได้ @ ประเภทของการสืบพันธุ์ การสืบพันธุ์มี 2 แบบ คือ 1.การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) เป็นการทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตใหม่ จากสิ่งมีชีวิตเดิมด้วยวิธีการต่างๆโดยไม่ต้องใช้เซลล์สืบพันธุ์ * ข้อดีของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ 1.1 เพิ่มจานวนได้รวดเร็ว 1.2 สืบพันธุ์ได้ด้วยตัวเอง 1.3 ไม่มีการกลายพันธุ์ (No variation) * ข้อเสียของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นใหม่ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้น้อย เพราะยีนคงที่ มีโอกาสสูญพันธุ์ได้ง่าย
  • 5. 2.การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่มีการสร้างเซลล์ สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียแล้วมาผสมกัน เรียกว่า การปฏิสนธิ (Fertilization) หรือเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของเซลล์สืบพันธุ์ไปเป็นเอ็มบริโอโดยตรง * ข้อดีของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นใหม่มีความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic variation) สามารถดารงชีวิตได้ในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลาได้ดี * ข้อเสียการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ 1.1 เพิ่มจานวนได้ช้า 1.2 สูญเสียพลังงานมาก นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ในการศึกษา ชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ การสรุป เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์แต่ละประเภท อีกทั้งการ ประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 6. 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของสัตว์ 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) ครูผู้สอน
  • 7. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal Reproduction) เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และ การเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) เขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) ของ สัตว์แต่ละชนิด อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) ได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) ของ สัตว์แต่ละชนิดได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) ต่อการ ปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ @ การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ @ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ส่วนใหญ่เป็นการแบ่งเซลล์เป็นสองส่วนเท่าๆกัน (binary fission) เช่น อะมีบา พารามีเซียม และยูกลีนาหรือบางชนิดอาจสืบพันธุ์โดยการแตกหน่อ (budding) เช่น ยีสต์ @ บางชนิดมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ(Conjunction) พบในพารามีเซียมโดยพารามีเซียม 2 ตัวจะ มาจับคู่กัน เพื่อแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรม ในไมโครนิวเคลียส จากนั้นจึงแยกกันแต่ละตัวก็จะแบ่งตัวต่อไป จาก การ Conjunction 1 ครั้งจะได้ พารามีเซียมทั้งสิ้น 8 ตัว @ การสืบพันธุ์ของสัตว์ แบ่งออกเป็น 2แบบ ได้แก่ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและแบบอาศัยเพศ @ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) พบได้ในสัตว์ที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อนโดย การผลิตสิ่งมีชีวิตตัวใหม่จากสิ่งมีชีวิตเดิม ได้แก่ การงอกใหม่ การแตกหน่อ เป็นต้น 1. การแตกหน่อ (Budding) 2. การแบ่งตัวออกเป็นสอง (Binary fission) 3. การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation)
  • 8. 4. การสร้างสปอร์ (Spore formation) 5. พาร์ธีโนเจนเนซิส (Parthenogenesis) 6. รีเจนเนอร์เรชั่น (Regeneration) 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) ของสัตว์แต่ละชนิด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) ต่อการปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตของสัตว์ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > ถ้าสิ่งมีชีวิตไม่มีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) จะเกิดผลอย่างไรต่อ สิ่งมีชีวิต > สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) เหมือนหรือ แตกต่างกันอย่างไร
  • 9. > มีสัตว์ชนิดใดบ้างที่สามารถสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) ด้วยวิธีการ แตกหน่อ ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ที่ เกิดจากการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศจึงมีลักษณะรูปร่างและสารพันธุกรรมเหมือนกับสิ่งมีชีวิตตัวเดิมทุก ประการ นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น สัตว์ที่มีการสืบพันธ์แบบไม่อาศัยเพศโดยวิธีการงอกใหม่กับแตกหน่อ มีการดารงชีวิตที่เหมือนหรือ แตกต่างกันอย่างไร ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction)” ว่า @ การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัย เพศ ส่วนใหญ่เป็นการแบ่งเซลล์เป็นสองส่วนเท่าๆกัน (binary fission) เช่น อะมีบา พารามีเซียม และยูกลีนา หรือบางชนิดอาจสืบพันธุ์โดยการแตกหน่อ (budding) เช่น ยีสต์ @ บางชนิดมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Conjunction) พบในพารามีเซียมโดยพารามีเซียม 2 ตัวจะ มาจับคู่กัน เพื่อแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรม ในไมโครนิวเคลียส จากนั้นจึงแยกกันแต่ละตัวก็จะแบ่งตัวต่อไป จาก การ Conjunction 1 ครั้งจะได้ พารามีเซียมทั้งสิ้น 8 ตัว @ การสืบพันธุ์ของสัตว์ แบ่งออกเป็น 2แบบ ได้แก่ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ และการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศ @ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) พบได้ในสัตว์ที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อนโดย การผลิตสิ่งมีชีวิตตัวใหม่จากสิ่งมีชีวิตเดิม ได้แก่ การงอกใหม่ การแตกหน่อ เป็นต้น 1. การแตกหน่อ (Budding) สิ่งมีชีวิตตัวใหม่งอกออกมาจากตัวเดิม แล้วหลุดออกมาเป็น สิ่งมีชีวิตตัวใหม่ เช่น ไฮดรา ยีสต์ และยังพบในพืชอีกด้วยเช่น หน่อไม้ ไผ่
  • 10. 2. การแบ่งตัวออกเป็นสอง (Binary fission) สิ่งมีชีวิตตัวหนึ่งแบ่งเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่แบบ เท่าๆกัน โดยเริ่มจากการแบ่งนิวเคลียส และตามด้วยไซโทพลาสซึม สิ่งมีชีวิตที่ใช้กระบวนการนี้ได้แก่ อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา และแบคทีเรีย 3. การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation) ส่วนที่หลุดไปจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งพัฒนาไปเป็น สิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้ โดยเซลล์ในส่วนที่หลุดไปนั้นเกิดรีเจนเนอเรชั่น (regeneration) กลับเป็นเนื้อเยื่อ เจริญได้อีก ตัวอย่างเช่น ดาวทะเล 4. การสร้างสปอร์ (Spore formation) คือการแบ่งนิวเคลียสออกเป็นหลายๆนิวเคลียส สิ่งมีชีวิตที่ใช้กระบวนการนี้ได้แก่ เห็ด รา ยีสต์ 5. พาร์ธีโนเจนเนซิส (Parthenogenesis) คือการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของแมลงบาง ชนิด โดยสามารถวางไข่แบบไม่อาศัยการปฏิสนธิ เช่น ตั๊กแตนกิ่งไม้ เพลี้ย ไรน้า ผึ้ง มด ต่อ แตน
  • 11. 6. รีเจนเนอร์เรชั่น (Regeneration) คือการงอกไหม่ เกิดหลัง การขาดออกเป็นท่อน มี2แบบ คือ ก่อให้เกิดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ เช่น พลานาเรีย ปลิง ดาวทะเล ไส้เดือนดิน ซีแอนนีโมนี เป็นต้น หรือ ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ เช่น จิ้งจกงอกหาง นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) การสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์ แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) ของสัตว์แต่ละชนิด อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) การสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) ของ สัตว์แต่ละชนิด อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction): www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction): www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์ (Asexual reproduction)
  • 12. 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) ครูผู้สอน
  • 13. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal Reproduction) เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และ การเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) เขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) ของสัตว์ แต่ละชนิด อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) ได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) ของสัตว์แต่ละชนิดได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) ต่อการ ปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ @ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการปฏิสนธิของ เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรืออสุจิกับเซลล์ไข่ซึ่งแบ่งออกเป็นการปฏิสนธิภายนอกตัว (External fertilization) และ การปฏิสนธิภายในตัว (Internal fertilization) @ เซลล์ไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว เรียกว่า ไซโกต ซึ่งไซโกตนี้จะเจริญไปเป็นเอ็มบริโอและตัวเต็มวัยต่อไป ตัวอย่าง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศสัตว์ ได้แก่ 1. การสืบพันธุ์ของพลานาเรีย 2. การสืบพันธุ์ของไส้เดือนดิน 3. การสืบพันธุ์ของไฮดรา 4. การสืบพันธุ์ของแมลง 5. การสืบพันธุ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง 5.1 การสืบพันธุ์ของสัตว์น้า 5.2 การสืบพันธุ์ของสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
  • 14. 5.3 การสืบพันธุ์ของสัตว์ปีก 5.4 การสืบพันธุ์ของสัตว์เลื้อยคลาน 5.5 การสืบพันธุ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) ของสัตว์แต่ละชนิด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) ต่อการปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตของสัตว์ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > ถ้าสิ่งมีชีวิตไม่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) จะเกิดผลอย่างไรต่อ สิ่งมีชีวิต > สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เหมือนหรือ แตกต่างกันอย่างไร
  • 15. > มีสัตว์ชนิดใดบ้างที่สามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) ด้วยการปฏิสนธิ ภายนอกแบบจับคู่ผสมพันธุ์ ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเพราะเหตุใดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ที่ เกิดจากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศจึงมีลักษณะรูปร่างและสารพันธุกรรมแตกต่างกันในแต่ละรุ่น ซึ่งลักษณะที่ แตกต่างกันในแต่ละรุ่นนี้ส่งผลดีต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไรบ้าง นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น สัตว์ที่มีการสืบพันธ์แบบอาศัยเพศโดยวิธีการปฏิสนธิภายนอกและปฏิสนธิภายใน มีการดารงชีวิตที่เหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction)” ว่า @ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการปฏิสนธิของ เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรืออสุจิกับเซลล์ไข่ซึ่งแบ่งออกเป็นการปฏิสนธิภายนอกตัว (External fertilization) และ การปฏิสนธิภายในตัว (Internal fertilization) @ เซลล์ไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว เรียกว่า ไซโกต ซึ่งไซโกตนี้จะเจริญไปเป็นเอ็มบริโอและตัวเต็มวัยต่อไป ตัวอย่าง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศสัตว์ ได้แก่ 1. การสืบพันธุ์ของพลานาเรีย พลานาเรียเป็นสัตว์ที่มีอวัยวะเพศทั้งสองเพศในตัวเดียวกัน การปฏิสนธิเป็นการผสมข้ามตัว โดย พลา นาเรียจะจับคู่และแลกเปลี่ยนอสุจิกันอสุจิจะเคลื่อนไปตามท่อนาไข่แล้วเกิดการปฏิสนธิกับเซลล์ไข่ในท่อนาไข่ 2. การสืบพันธุ์ของไส้เดือนดิน ไส้เดือนดิน 2 ตัวจะมาจับคู่สลับหัวสลับหางกัน อสุจิจากตัวที่หนึ่งจะส่งไปยังช่องรับอสุจิขิงอีกฝ่าย หนึ่ง ต่อมา 2-3 วัน ไส้เดือนดินจะสร้างถุงหุ้มเซลล์ไข่ขึ้นและปล่อยไข่ออกมาที่ถุงหุ้มเซลล์ไข่เซลล์ไข่ที่ผสมกับ อสุจิจะพักอยู่ในถุงหุ้มเซลล์ไข่และเจริญเป็นตัวในระยะเวลาต่อมา
  • 16. 3. การสืบพันธุ์ของไฮดรา ไฮดราเป็นสัตว์ที่มีอวัยวะเพศทั้งสองเพศในตัวเดียวกันการปฏิสนธิเป็นการผสมข้ามตัวเนื่องจากไข่ และอสุจิเจริญไม่พร้อมกัน 4. การสืบพันธุ์ของแมลง แมลงเป็นสัตว์แยกเพศ มีการปฏิสนธิภายใน เมื่อมีการผสมกัน แมลงเพศผู้จะหลั่งอสุจิออกทาง องคชาตเข้าสู่ระบบสืบพันธุ์ของเพศเมีย อสุจิจะผ่านช่องคลอดของเพศเมียไปผสมกับเซลล์ไข่ที่ผลิตจากรังไข่ ตรงบริเวณท่อนาไข่นอกจากนี้แมลงเพศเมียบางชนิดมีสเปอร์มเพื่อเก็บสะสมอสุจิไว้ผสมกับเซลล์ไข่ด้วยจัดเป็น การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เพราะมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เซลล์ไข่เจริญเป็นสิ่งมีชีวิตที่สมบูรณ์โดยไม่ต้องมีการ ปฏิสนธิ เช่น ผึ้ง มด ต่อ แตน สาหรับผึ้งนั้น ไข่ที่มีการปฏิสนธิจะเจริญเป็นนางพญาและผึ้งงานที่เป็นตัวเมีย ส่วนไข่ที่ไม่มีการปฏิสนธิจะเจริญเป็นผึ้งตัวผู้และมีโครโมโซมเป็นครึ่งหนึ่งของตัวเมีย 5. การสืบพันธุ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง การสืบพันธุ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลังจะมีอวัยวะแยกกันอย่างชัดเจน โดยสัตว์ตัวผู้มักจะมีสีเข้มกว่าตัว เมีย หรือมีเสียงไพเราะกว่า เพราะเป็นฝ่ายดึงดูดให้ตัวเมียเข้าไปหา สาหรับการปฏิสนธิมีทั้งภายในและ ภายนอกตัวเมีย 5.1 การสืบพันธุ์ของสัตว์น้า สัตว์ที่อยู่ในน้า เช่น ปลา ส่วนใหญ่เมื่อสร้างเซลล์ไข่และอสุจิแล้วจะส่งออกมาทางท่อสืบพันธุ์นอก ลาตัว ออกลูกเป็นตัว เรียกว่า Oviparous animal
  • 17. 5.2 การสืบพันธุ์ของสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก เช่น กบ เขียด คางคก อึ่งอ่าง อาศัยบนบกแต่ผสมพันธุ์ในน้าโดยทั้งคู่ต่าง ปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ลงในน้าออกลูกเป็นไข่เรียกว่า Oviparous animal 5.3 การสืบพันธุ์ของสัตว์ปีก ตว์ปีก เช่น นก ไก่ เป็ด มีการปฏิสนธิภายในตัวเมีย วางไข่บนบก ไข่มีเปลือกหุ้มออกลูกเป็นไข่ เรียกว่าOviparous animal 5.4 การสืบพันธุ์ของสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์เลื้อยคลาน เช่น เต่า จระเข้ มีการปฏิสนธิภายนตัวเมีย วางไข่บนบกไข่มีเปลือกหุ้มออกลูกเป็นไข่ เรียกว่าOviparous animal 5.5 การสืบพันธุ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม เช่น สุนัข แมว ลิง มีการปฏิสนธิภายในลาตัว ตัวอ่อนเจริญภายในตัวแม่ และ ออกลูกเป็นตัว เรียกว่าViviparous animal
  • 18. นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) การสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบ อาศัยเพศ (Sexual reproduction) ของสัตว์แต่ละชนิด อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) การสรุปเปรียบเทียบกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) ของสัตว์ แต่ละชนิด อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction): www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction): www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์ (Sexual reproduction) 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 19. ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) ครูผู้สอน
  • 20. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การสืบพันธุ์ของสัตว์ (Animal Reproduction) เรื่อง โครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์ เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.2 ม.4-6/1 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และ การเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ ของระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์ เขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างอวัยวะและ บทบาทหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์เพศหญิงและเพศชาย อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ของระบบ สืบพันธุ์ในมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง 2.2 เขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ของ ระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์เพศหญิงและเพศชายได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ต่อกระบวนการ ดารงชีวิตของมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ @ การสืบพันธุ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลังจะมีอวัยวะเพศแยกกันอยู่คนละตัว มีการปฏิสนธิ 2 รูปแบบ  การปฏิสนธิภายนอกลาตัว  การปฏิสนธิภายในลาตัว @ การสืบพันธุ์ของคนมีกระบวนการเหมือนกันสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆ @ โครงสร้างระบบสืบพันธุ์เพศชายและเพศหญิงมีลักษณะที่แตกต่างกัน เพื่อทาหน้าที่ได้อย่าง เหมาะสมการปฏิสนธิและการตั้งครรภ์ @ วิธีการรักษาภาวะมีบุตรยาก เช่น IVF ,ICSI ,GIFT @ ภาวะการมีบุตรยากอาจมีสาเหตุมาจาก  ความผิดปกติของชาย  ความผิดปกติของหญิง
  • 21. 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างอวัยวะและบทบาท หน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์ ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้าง อวัยวะและบทบาทหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ในมนุษย์เพศหญิงและเพศชาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญโครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ของระบบ สืบพันธุ์ต่อกระบวนการดารงชีวิตของมนุษย์ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > องค์ประกอบและโครงสร้างของอวัยวะเพศเหมาะสมต่อการทาหน้าที่ในกระบวนการสืบพันธุ์ ของมนุษย์อย่างไร > อวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิงและเพศชายมีโครงสร้างใดบ้างที่ทาหน้าที่คล้ายกัน และทาหน้าที่ อะไรบ้าง > องค์ประกอบและโครงสร้างของอวัยวะสืบพันธ์ทั้งเพศหญิงและเพศชายมีความสัมพันธ์กับ ระดับวิวัฒนาการของมนุษย์อย่างไรบ้าง ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการสืบพันธุ์ในมนุษย์มี ความสัมพันธ์กับลักษณะโครงสร้างของอวัยวะสืบพันธ์ที่มีความแตกต่างกันในเพศหญิงปละเพศชายอย่างไรบ้าง
  • 22. นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น กระบวนการสืบพันธุ์ในมนุษย์ที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันโดยเฉพาะด้านโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง กับอวัยวะสืบพันธ์จะมีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างอวัยวะและบทบาทหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ใน มนุษย์” ว่า > การสืบพันธุ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลังจะมีอวัยวะเพศแยกกันอยู่คนละตัว - สัตว์มีกระดูกสันหลังที่อาศัยอยู่ในน้า เช่น ปลา สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก จะมีการผสมพันธุ์ นอกลาตัว ปฏิสนธิและวางไข่ในน้าหรือในที่ชื้นแฉะ - สัตว์มีกระดูกสันหลังที่อาศัยบนบก การปฏิสนธิไม่จาเป็นต้องอาศัยน้า เพราะมีการพัฒนา อวัยวะที่จะถ่ายอสุจิให้เพศเมีย จึงมีการปฏิสนธิภายในและวางไข่บนบก > การสืบพันธุ์ของคนมีกระบวนการเหมือนกันสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆ ได้แก่  การรวมตัวของเซลล์อสุจิและเซลล์ไข่เป็นไซโกต  การแบ่งเซลล์และเจริญเติบโตของไซโกตเป็นเอ็มบริโอ  การพัฒนาเอ็มบริโอเข้าสู่เดือนที่ 3 เป็นฟีตัส  การคลอดของฟีตัสเมื่ออายุครบ 9 เดือนเป็นทารก > โครงสร้างระบบสืบพันธุ์เพศชาย ได้แก่  อัณฑะอยู่ในถุงหุ้มอัณฑะ  หลอดสร้างอสุจิมีกระบวนการสร้างอสุจิ  หลอดเก็บอสุจิที่พัฒนาต่อจนเจริญเต็มที่  หลอดนาอสุจิสู่ท่อปัสสาวะ  ต่อมสร้างน้าอสุจิ ต่อมลูกหมาก ต่อมคาวเปอร์ > โครงสร้างระบบสืบพันธุ์เพศหญิง ได้แก่  รังไข่ภายในมีกระบวนการผลิตไข่  ท่อนาไข่จากรังไข่สู่มดลูก  มดลูกที่ฝังตัวอ่อนเอ็มบริโอ  ปากมดลูกและช่องคลอด
  • 23. > ภาวะการมีบุตรยากอาจมีสาเหตุมาจาก  ความผิดปกติของชาย  ลักษณะผิดปกติและจานวนน้อย  ทางผ่านตีบตัน  น้าอสุจิมีภาวะไม่เหมาะสม  ความผิดปกติของหญิง  พิการมาแต่กาเนิด  ทางผ่านผิดปกติ  การอักเสบติดเชื้อ  เยื่อบุผิดปกติเกิดเนื้องอก  ขาดฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน > วีธีการรักษาภาวการณ์มีบุตรอยาก  การสร้างทารกในหลอดแก้ว (IVF)  การผสมเทียมในหลอดแก้ว (ICSI)  การผสมตามธรรมชาติโดยการฉีดอสุจิ (GIFT)