SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
Free Powerpoint Templates
Page 1
Free Powerpoint Templates
บทที่ 2
การศึกษาชีววิทยา
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชาชีววิทยา 1 (ว30241)
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
Free Powerpoint Templates
Page 2
ครูผู้สอน
• นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
– พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
– พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
– พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
– พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
– พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
Free Powerpoint Templates
Page 3
ชีววิทยา (Biology)
ชีววิทยา = การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต (the study of organism)
สามารถศึกษาได้หลายระดับ
- ศึกษาในระดับใหญ่ (macro level)
- ศึกษาในระดับย่อย (micrao level)
- ศึกษาในระดับโมเลกุล อะตอม (molecular level)
- ชีววิทยามีเกี่ยวข้องกับความรู้ต่างๆ หลายสาขา ทั้งเคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ และ
คอมพิวเตอร์ที่สามารถประยุกต์นามาใช้อธิบายหรือจาลองความเป็นไปของสิ่งมีชีวิต
เพื่อตอบปัญหาต่างๆ ที่มนุษย์สงสัย
- ชีววิทยาเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง ดังนั้นการศึกษาต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
ซึ่งเป็นเครื่องมือในการสืบเสาะแสวงหาความจริงหรือความรู้ต่างๆ
- องค์ประกอบของชีววิทยา ได้แก่ องค์ความรู้ด้านชีววิทยา (Biological knowledge)
และ กระบวนการศึกษาชีววิทยา (Biological study)
Free Powerpoint Templates
Page 4
อริสโตเติ้ล นักคิด และครูผู้ยิ่งใหญ่เป็นพี่เลี้ยงให้ อเล็กซานเดอร์มหาราช จน
พิชิตโลกได้ เป็นจักพรรดิที่ยิ่งใหญ่ : ถือเป็นบิดาแห่งวิชาชีววิทยา จาก
การศึกษาสัตว์จานวนมาก และแบ่งแยกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง และไม่มี
กระดูกสันหลัง
Free Powerpoint Templates
Page 5
Free Powerpoint Templates
Page 6
การศึกษาชีววิทยา (Biological study)
• การศึกษาวิทยาศาสตร์ (scientific study) คือ กระบวนการหรือขั้นตอนในการแสวงหา
ข้อเท็จจริงใหม่ๆ อันจะทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ (phenomenal)
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลก (earth) และเอกภพ (universe) ทั้งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต (living)
และไม่มีชีวิต (nonliving)
• คุณลักษณะของนักวิทยาศาสตร์ (scientist properties) 4 ประการ
1. เป็นคนช่างสังเกตและสงสัย (Observation and Questioning)
2. มีวิธีการศึกษาอย่างเป็นระบบ (Systematics study)
3. ขวนขวายหาข้อเท็จจริงที่ถูกต้องกว่าอยู่เสมอ (exploring of fact)
4. เป็นคนใจกว้าง ยอมรับฟังอย่างมีเหตุผล มีใจเป็นกลางและเป็นประชาธิปไตย
Free Powerpoint Templates
Page 7
1. การกาหนดปัญหาที่ได้จากการสังเกต (problems and observation)
• ปัญหาเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา แต่การตั้งปัญหาที่ดีนั้นทาได้ยาก “การตั้งปัญหานั้นสาคัญ
กว่าการแก้ปัญหา” อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ได้พูดไว้ การตั้งปัญหาที่ดีและชัดเจน จะนาไปสู่
การแก้ปัญหาได้ ปัญหาที่ดีจะต้องมีความเป็นไปได้ มีคุณค่าต่อการค้นคว้าหาคาตอบและ
สามารถวางแนวทางในการพิสูจน์เพื่อนหาคาตอบได้
• การสังเกต (observation) เป็นลักษณะพื้นฐานของนักวิทยาศาสตร์ นาไปสู่ความอยากรู้
อยากเห็น (cruriosity) เมื่อสังเกต ก็จะทาให้อยากรู้อยากเห็น แล้วเกิดปัญหาขึ้นนั่นเอง
• การสังเกต เป็นการใช้ประสาทสัมผัสของร่างกายได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้นและอวัยวะสัมผัส
และความคิดของสมอง ข้อสาคัญคือ อย่าเอาความคิดเห็นส่วนตัวไปอธิบายสิ่งที่ได้จาก
การสังเกต เพราะทาให้ข้อเท็จจริงที่ได้จากากรสังเกตไม่ตรงตามความเป็นจริง
Free Powerpoint Templates
Page 8
ตัวอย่าง : อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิ่ง สังเกตว่า เมื่อกลุ่มราสีเขียว
Penicillium notatum ขึ้นในจานเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย แบคทีเรียจะไม่
เจริญ จึงตั้งปัญหาว่า “รามีผลต่อการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
หรือไม่”
Free Powerpoint Templates
Page 9
2. การตั้งสมมติฐาน (creative hypothesis)
• เป็นการพยายามหาคาตอบหรือคาอธิบาย ซึ่งอาจเกิดจากการคาดคะเน หรือสมมติขึ้นมา
ซึ่งอาจะเป็นจริงหรือไม่ก็ได้ ดังนั้นสมมติฐานจึงเป็นคาตอบปัญหาชั่วคราว การ
ตั้งสมมติฐานนิยมใช้ “ถ้า..............ดังนั้น..............”
• แสงสว่างเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของหญ้าหรือไม่
สมมติฐาน
- ถ้า แสงสว่างเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของหญ้า ดังนั้น หญ้าที่ได้รับแสงสว่างจะเจริญ
งอกงาม
- ถ้า แสงสว่างไม่เกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของหญ้า ดังนั้น หญ้าที่ไม่ได้รับแสงสว่างจะ
เจริญงอกงาม
รวมได้ว่า ถ้า แสงสว่างเกี่ยวข้องการเจริญงอกงามของหญ้า ดังนั้น หญ้าที่ได้รับแสงสว่างจะ
เจริญงอกงาม และหญ้าที่ไม่ได้รับแสงสว่างจะไม่เจริญงอกงาม
Free Powerpoint Templates
Page 10
ตัวอย่าง : เฟลมมิ่ง ตั้งสมมติฐานว่า “ราสีเขียวปล่อยสารที่ขัดขวาง
การเจริญของแบคทีเรีย”
Free Powerpoint Templates
Page 11
3. การตรวจสอบสมมติฐาน (testing the hypothesis)
ตัวแปร
• 1. ตัวแปรอิสระ (independent variable) คือ ตัวแปรที่เราต้องการศึกษาโดยผู้ทา
การทดลองเป็นผู้กาหนด
• 2. ตัวแปรตาม (dependent variable) คือ ตัวแปรที่แปรเปลี่ยนไปตามตัวแปรอิสระ
• 3. ตัวแปรคงที่ หรือตัวแปรที่ต้องควบคุม (controlled variable) คือ ตัวแปรอื่นๆที่
เราไม่ต้องการให้มีผลต่อการทดลอง ต้องควบคุมตลอดการทดลอง
Free Powerpoint Templates
Page 12
ตัวอย่าง : เฟลมมิ่ง ทาการทดลองโดยนาเชื้อราชนิดนี้มาสกัดเป็นยาที่ชื่อว่า
“เพนนิซิลิน” และนาไปใช้กับสัตว์ทดลอง โดยตัวแปรต่าง อาจเป็นได้ดังนี้
- ตัวแปรต้น : ยาเพนนิซิลินที่ฉีดเข้าไปในสัตว์ทดลอง
- ตัวแปรตาม : การเป็นโรคของสัตว์ทดลอง
- ตัวแปรควบคุม: ความสมบูรณ์ของสุขภาพสัตว์ทดลองก่อนได้รับยา เช่น
ช่วงอายุ เพศ น้าหนัก อุณหภูมิสัตว์
Free Powerpoint Templates
Page 13
4. การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
(collecting data and analysis data)
จดบันทึกที่ได้อย่างละเอียดรอบคอบ และใช้ทักษะทางวิทยาศาสตร์ (scientific skills)
ในการแปลผล (interpret) และสรุปผลการทดลองก็คือการวิเคราะห์ (analysis) ผลการ
ทดลองนั้นว่ามีความเป็นไปได้ตามสมมติฐาน (hypothesis) ที่ตั้งไว้หรือไม่
Free Powerpoint Templates
Page 14
Free Powerpoint Templates
Page 15
ตัวอย่าง : เฟลมมิ่ง บันทึกข้อมูลการทดลอง คือ อาการไม่เป็นโรค
ของสัตว์ทดลองหลังจากได้รับยา
Free Powerpoint Templates
Page 16
5. สรุปผลการทดลอง (conclusion)
เมื่อเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ได้แล้ว จึงแปลผล และสรุปผลการทดลองเพื่อ
เป็นคาตอบของปัญหาซึ่งต้องมีความสอดคล้องกับปัญหาและสมมติฐาน
ที่ตั้งไว้
Free Powerpoint Templates
Page 17
ตัวอย่าง : เฟลมมิ่ง สรุปว่า เชื้อราในยาเพนนิซิลินสามารถยับยั้ง
และขัดขวางการเจริญของแบคทีเรียในสัตว์ทดลองได้จริง
Free Powerpoint Templates
Page 18
การศึกษาชีววิทยา (Biological study)
• สรุปกระบวนการวิทยาศาสตร์ (scientific method) เป็นวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์
ค้นคว้าหาความรู้ มีหลักเกณฑ์และวิธีการพื้นฐานดังนี้
1. การสังเกตและการตั้งปัญหา : การตั้งปัญหาสาคัญกว่าการแก้ปัญหา
2. การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับปัญหา : แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
3. การตั้งสมมติฐาน : ถ้า...(เหตุ)....แล้ว...(ผล)...
4. การออกแบบเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน : ตัวแปรต้น (อิสระ) ,ตัวแปรตาม .ตัวแปร
ควบคุม
5. การตรวจสอบสมมติฐาน หรือ ขั้นการทดลอง : กลุ่มทดลอง และ การควบคุม
6. การบันทึกและแปรผล หรือ การวิเคราะห์ข้อมูล : รูปแบบตาราง/กราฟ/แผนภูมิ
7. การสรุปผล : คาตอบของสมมติฐานว่าเป็นจริงหรือไม่พร้อมอธิบายเหตุผล
Free Powerpoint Templates
Page 19
ตัวอย่างการศึกษาทางชีววิทยา
Free Powerpoint Templates
Page 20
Free Powerpoint Templates
Page 21
Free Powerpoint Templates
Page 22
Light microscope
VS.
Electron
microscope
องค์ประกอบและการทางาน!
Free Powerpoint Templates
Page 23
Free Powerpoint Templates
Page 24
Free Powerpoint Templates
Page 25
Free Powerpoint Templates
Page 26
Free Powerpoint Templates
Page 27
ลองบอกชื่อ
องค์ประกอบและ
หน้าที่เพื่อทบทวน
ความเข้าใจ!!!
Free Powerpoint Templates
Page 28
ประเภทของกล้องจุลทรรศน์ (Type of Microscope)
1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Light Microscopes)
1.1) Light Microscopes หรือ Optical Microscopesหรือ Bright field Microscopes
1.2) Dark field Microscopes
1.3) Phase Contrast Microscopes
1.4) Polarized Microscopes
1.4) Fluorescencemicroscopes
1.5) Confocal Microscopes
1.6) Stereo Microscopes
2.กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน(Electron Microscopes)
2.1)Transmission ElectronMicroscopes(TEM)
2.2)Scanningelectronmicroscopes(SEM)
3. กล้อง Microscope ระดับอะตอม
3.1)Scanningtunneling microscopes(STM)
3.2)Atomic Force Microscopes(AFM)
Free Powerpoint Templates
Page 29
Scanning tunneling microscopes(STM) Atomic Force Microscopes (AFM)
Fluorescence microscopes Polarized Microscopes
Free Powerpoint Templates
Page 30
Different Types of Light Microscope: A Comparison
Human Cheek Epithelial Cells
Brightfield
(unstained
specimen)
Brightfield
(stained
specimen)
Fluorescene
Phase-contrast
Differential-
interference-
contrast
(Nomarski)
Confocal
Free Powerpoint Templates
Page 31
1. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง แบ่งเป็น
- แบบใช้แสงชนิดเลนส์เดี่ยว (single lens light microscope) สร้างโดย Leeuwenhoek คล้าย
แว่นขยายธรรมดา (เลนส์ตา = เลนส์วัตถุ)
- แบบใช้แสงธรรมดาหรือชนิดเลนส์ประกอบ (Compound light microscope) ใช้ศึกษาโครงสร้าง
ภายใน (แสงทะลุผ่าน : slide 2 มิติเสมือนหัวกลับ) สร้างโดย Robert Hook (cell)
- แบบใช้แสงสเตอริโอ (Stereoscopic/Dissection light microscope) ใช้ศึกษาโครงสร้าง
ภายนอก (แสงสะท้อน : ทึบ 3 มิติเสมือนหัวตั้ง)
Microscope
Free Powerpoint Templates
Page 32
Free Powerpoint Templates
Page 33
Objective Lens
Free Powerpoint Templates
Page 34
Free Powerpoint Templates
Page 35
Free Powerpoint Templates
Page 36
Free Powerpoint Templates
Page 37
การหาขนาดภาพและตัวอย่างใต้กล้องจุลทรรศน์
Free Powerpoint Templates
Page 38
Free Powerpoint Templates
Page 39
Free Powerpoint Templates
Page 40
Free Powerpoint Templates
Page 41
Free Powerpoint Templates
Page 42
Free Powerpoint Templates
Page 43
Free Powerpoint Templates
Page 44
Free Powerpoint Templates
Page 45
หลักการทางานของ Compound L.M.
Free Powerpoint Templates
Page 46
2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) มี 2 แบบ คือ
- แบบส่องผ่าน (Transmission Electron Microscope: TEM) ใช้ศึกษาโครงสร้างภายในของ
เซลล์โดยลาแสงอิเล็กตรอนจะส่องผ่านเซลล์ที่เตรียมให้บางเป็นพิเศษ สร้างโดย Ernst Ruska
- แบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope: SEM) ใช้ศึกษาโครงสร้างของผิวเซลล์หรือ
ผิวของวัตถุ โดยแสงของอิเล็กตรอนส่องกระทบผิวของวัตถุ สร้างโดย M.Von Endenne
Microscope
Free Powerpoint Templates
Page 47
Free Powerpoint Templates
Page 48
Electron micrographs
Transmission electron
micrographs (TEM)
Scanning electron
micrographs (SEM)
Free Powerpoint Templates
Page 49
ลักษณะเปรียบเทียบ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ชนิดของแสง แสงธรรมดา ( = 4x103 Ao) ลาอิเล็กตรอน ( = 0.05-10 Ao)
ชนิดของเลนส์ เลนส์นูน เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้า
กาลังขยาย ประมาณ 2,000 เท่า ประมาณ 500,000 เท่า
ขนาดวัตถุที่เล็กที่สุด 0.2 ไมโครเมตร 0.0005 ไมโครเมตร
ภายในลากล้อง มีอากาศ สุญญากาศ
ภาพสุดท้ายที่เกิดขึ้น ภาพเสมือนหัวกลับ ภาพปรากฏบนจอเรืองแสง
สภาพของวัตถุที่ใช้ดู มีหรือไม่มีชีวิต ไม่มีชีวิตและแห้งปราศจากน้า
สารในการย้อมตัวอย่าง สีย้อม โลหะหนัก
ราคา ถูก แพง
resolution 200 nm 1 mm
การใช้งาน ห้องปฏิบัติการทั่วไป ห้องปฏิบัติการเฉพาะทาง
ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
Free Powerpoint Templates
Page 50
Free Powerpoint Templates
Page 51
Free Powerpoint Templates
Page 52
Free Powerpoint Templates
Page 53
ข้อควรจา
- กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ = กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ x กาลังขยายเลนส์ใกล้ตา
- ขนาดภาพ = ขนาดวัตถุ x กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์
@ หน่วยที่ใช้บ่อย mm (10-3 ) / m (10-6 ) / nm (10-9 )
-ถ้ากาลังขยายของกล้องสูงจะเห็นภาพที่มีรายละเอียดมากกว่า แต่บริเวณขอบเขตที่มองเห็นภาพ
จะน้อยกว่ากล้องที่มีกาลังขยายต่า
- ภาพที่มองผ่านกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงธรรมดาเป็นภาพเสมือนหัวกลับ ภาพที่มองเห็นในกล้องจะ
กลับจากซ้ายเป็นขวาและบนเป็นล่างเสมอ
- การเลื่อน slide จะต้องเลื่อนในทิศทางตรงข้ามกับภาพเสมอ
ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีเลนส์ใกล้ตา 15X และเลนส์ใกล้วัตถุ 100X มองเห็นเซลล์ยาว 100 ไมครอน ขนาดจริงของเซลล์คือ ?
? ?
Free Powerpoint Templates
Page 54
ควรรู้เพิ่มเติม
Free Powerpoint Templates
Page 55
The End
Thank You For Your Attention!!!

More Related Content

What's hot

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดNapaphat Bassnowy
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

What's hot (20)

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 

Viewers also liked

ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3oraneehussem
 
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลยโจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลยPin Hatairut
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (10)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลยโจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 

Similar to บท2การศึกษาชีววิทยา

Similar to บท2การศึกษาชีววิทยา (9)

Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
3 photosyn 1
3 photosyn 13 photosyn 1
3 photosyn 1
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
13038713421595
1303871342159513038713421595
13038713421595
 
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียนแผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
 
2 plantstrruc 1
2 plantstrruc 12 plantstrruc 1
2 plantstrruc 1
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บท2การศึกษาชีววิทยา

  • 1. Free Powerpoint Templates Page 1 Free Powerpoint Templates บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาชีววิทยา 1 (ว30241) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
  • 2. Free Powerpoint Templates Page 2 ครูผู้สอน • นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา : – พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล – พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช – พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต – พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช – พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 3. Free Powerpoint Templates Page 3 ชีววิทยา (Biology) ชีววิทยา = การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต (the study of organism) สามารถศึกษาได้หลายระดับ - ศึกษาในระดับใหญ่ (macro level) - ศึกษาในระดับย่อย (micrao level) - ศึกษาในระดับโมเลกุล อะตอม (molecular level) - ชีววิทยามีเกี่ยวข้องกับความรู้ต่างๆ หลายสาขา ทั้งเคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ และ คอมพิวเตอร์ที่สามารถประยุกต์นามาใช้อธิบายหรือจาลองความเป็นไปของสิ่งมีชีวิต เพื่อตอบปัญหาต่างๆ ที่มนุษย์สงสัย - ชีววิทยาเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง ดังนั้นการศึกษาต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นเครื่องมือในการสืบเสาะแสวงหาความจริงหรือความรู้ต่างๆ - องค์ประกอบของชีววิทยา ได้แก่ องค์ความรู้ด้านชีววิทยา (Biological knowledge) และ กระบวนการศึกษาชีววิทยา (Biological study)
  • 4. Free Powerpoint Templates Page 4 อริสโตเติ้ล นักคิด และครูผู้ยิ่งใหญ่เป็นพี่เลี้ยงให้ อเล็กซานเดอร์มหาราช จน พิชิตโลกได้ เป็นจักพรรดิที่ยิ่งใหญ่ : ถือเป็นบิดาแห่งวิชาชีววิทยา จาก การศึกษาสัตว์จานวนมาก และแบ่งแยกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง และไม่มี กระดูกสันหลัง
  • 6. Free Powerpoint Templates Page 6 การศึกษาชีววิทยา (Biological study) • การศึกษาวิทยาศาสตร์ (scientific study) คือ กระบวนการหรือขั้นตอนในการแสวงหา ข้อเท็จจริงใหม่ๆ อันจะทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ (phenomenal) ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลก (earth) และเอกภพ (universe) ทั้งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต (living) และไม่มีชีวิต (nonliving) • คุณลักษณะของนักวิทยาศาสตร์ (scientist properties) 4 ประการ 1. เป็นคนช่างสังเกตและสงสัย (Observation and Questioning) 2. มีวิธีการศึกษาอย่างเป็นระบบ (Systematics study) 3. ขวนขวายหาข้อเท็จจริงที่ถูกต้องกว่าอยู่เสมอ (exploring of fact) 4. เป็นคนใจกว้าง ยอมรับฟังอย่างมีเหตุผล มีใจเป็นกลางและเป็นประชาธิปไตย
  • 7. Free Powerpoint Templates Page 7 1. การกาหนดปัญหาที่ได้จากการสังเกต (problems and observation) • ปัญหาเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา แต่การตั้งปัญหาที่ดีนั้นทาได้ยาก “การตั้งปัญหานั้นสาคัญ กว่าการแก้ปัญหา” อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ได้พูดไว้ การตั้งปัญหาที่ดีและชัดเจน จะนาไปสู่ การแก้ปัญหาได้ ปัญหาที่ดีจะต้องมีความเป็นไปได้ มีคุณค่าต่อการค้นคว้าหาคาตอบและ สามารถวางแนวทางในการพิสูจน์เพื่อนหาคาตอบได้ • การสังเกต (observation) เป็นลักษณะพื้นฐานของนักวิทยาศาสตร์ นาไปสู่ความอยากรู้ อยากเห็น (cruriosity) เมื่อสังเกต ก็จะทาให้อยากรู้อยากเห็น แล้วเกิดปัญหาขึ้นนั่นเอง • การสังเกต เป็นการใช้ประสาทสัมผัสของร่างกายได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้นและอวัยวะสัมผัส และความคิดของสมอง ข้อสาคัญคือ อย่าเอาความคิดเห็นส่วนตัวไปอธิบายสิ่งที่ได้จาก การสังเกต เพราะทาให้ข้อเท็จจริงที่ได้จากากรสังเกตไม่ตรงตามความเป็นจริง
  • 8. Free Powerpoint Templates Page 8 ตัวอย่าง : อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิ่ง สังเกตว่า เมื่อกลุ่มราสีเขียว Penicillium notatum ขึ้นในจานเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย แบคทีเรียจะไม่ เจริญ จึงตั้งปัญหาว่า “รามีผลต่อการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย หรือไม่”
  • 9. Free Powerpoint Templates Page 9 2. การตั้งสมมติฐาน (creative hypothesis) • เป็นการพยายามหาคาตอบหรือคาอธิบาย ซึ่งอาจเกิดจากการคาดคะเน หรือสมมติขึ้นมา ซึ่งอาจะเป็นจริงหรือไม่ก็ได้ ดังนั้นสมมติฐานจึงเป็นคาตอบปัญหาชั่วคราว การ ตั้งสมมติฐานนิยมใช้ “ถ้า..............ดังนั้น..............” • แสงสว่างเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของหญ้าหรือไม่ สมมติฐาน - ถ้า แสงสว่างเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของหญ้า ดังนั้น หญ้าที่ได้รับแสงสว่างจะเจริญ งอกงาม - ถ้า แสงสว่างไม่เกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของหญ้า ดังนั้น หญ้าที่ไม่ได้รับแสงสว่างจะ เจริญงอกงาม รวมได้ว่า ถ้า แสงสว่างเกี่ยวข้องการเจริญงอกงามของหญ้า ดังนั้น หญ้าที่ได้รับแสงสว่างจะ เจริญงอกงาม และหญ้าที่ไม่ได้รับแสงสว่างจะไม่เจริญงอกงาม
  • 10. Free Powerpoint Templates Page 10 ตัวอย่าง : เฟลมมิ่ง ตั้งสมมติฐานว่า “ราสีเขียวปล่อยสารที่ขัดขวาง การเจริญของแบคทีเรีย”
  • 11. Free Powerpoint Templates Page 11 3. การตรวจสอบสมมติฐาน (testing the hypothesis) ตัวแปร • 1. ตัวแปรอิสระ (independent variable) คือ ตัวแปรที่เราต้องการศึกษาโดยผู้ทา การทดลองเป็นผู้กาหนด • 2. ตัวแปรตาม (dependent variable) คือ ตัวแปรที่แปรเปลี่ยนไปตามตัวแปรอิสระ • 3. ตัวแปรคงที่ หรือตัวแปรที่ต้องควบคุม (controlled variable) คือ ตัวแปรอื่นๆที่ เราไม่ต้องการให้มีผลต่อการทดลอง ต้องควบคุมตลอดการทดลอง
  • 12. Free Powerpoint Templates Page 12 ตัวอย่าง : เฟลมมิ่ง ทาการทดลองโดยนาเชื้อราชนิดนี้มาสกัดเป็นยาที่ชื่อว่า “เพนนิซิลิน” และนาไปใช้กับสัตว์ทดลอง โดยตัวแปรต่าง อาจเป็นได้ดังนี้ - ตัวแปรต้น : ยาเพนนิซิลินที่ฉีดเข้าไปในสัตว์ทดลอง - ตัวแปรตาม : การเป็นโรคของสัตว์ทดลอง - ตัวแปรควบคุม: ความสมบูรณ์ของสุขภาพสัตว์ทดลองก่อนได้รับยา เช่น ช่วงอายุ เพศ น้าหนัก อุณหภูมิสัตว์
  • 13. Free Powerpoint Templates Page 13 4. การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล (collecting data and analysis data) จดบันทึกที่ได้อย่างละเอียดรอบคอบ และใช้ทักษะทางวิทยาศาสตร์ (scientific skills) ในการแปลผล (interpret) และสรุปผลการทดลองก็คือการวิเคราะห์ (analysis) ผลการ ทดลองนั้นว่ามีความเป็นไปได้ตามสมมติฐาน (hypothesis) ที่ตั้งไว้หรือไม่
  • 15. Free Powerpoint Templates Page 15 ตัวอย่าง : เฟลมมิ่ง บันทึกข้อมูลการทดลอง คือ อาการไม่เป็นโรค ของสัตว์ทดลองหลังจากได้รับยา
  • 16. Free Powerpoint Templates Page 16 5. สรุปผลการทดลอง (conclusion) เมื่อเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ได้แล้ว จึงแปลผล และสรุปผลการทดลองเพื่อ เป็นคาตอบของปัญหาซึ่งต้องมีความสอดคล้องกับปัญหาและสมมติฐาน ที่ตั้งไว้
  • 17. Free Powerpoint Templates Page 17 ตัวอย่าง : เฟลมมิ่ง สรุปว่า เชื้อราในยาเพนนิซิลินสามารถยับยั้ง และขัดขวางการเจริญของแบคทีเรียในสัตว์ทดลองได้จริง
  • 18. Free Powerpoint Templates Page 18 การศึกษาชีววิทยา (Biological study) • สรุปกระบวนการวิทยาศาสตร์ (scientific method) เป็นวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ ค้นคว้าหาความรู้ มีหลักเกณฑ์และวิธีการพื้นฐานดังนี้ 1. การสังเกตและการตั้งปัญหา : การตั้งปัญหาสาคัญกว่าการแก้ปัญหา 2. การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับปัญหา : แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 3. การตั้งสมมติฐาน : ถ้า...(เหตุ)....แล้ว...(ผล)... 4. การออกแบบเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน : ตัวแปรต้น (อิสระ) ,ตัวแปรตาม .ตัวแปร ควบคุม 5. การตรวจสอบสมมติฐาน หรือ ขั้นการทดลอง : กลุ่มทดลอง และ การควบคุม 6. การบันทึกและแปรผล หรือ การวิเคราะห์ข้อมูล : รูปแบบตาราง/กราฟ/แผนภูมิ 7. การสรุปผล : คาตอบของสมมติฐานว่าเป็นจริงหรือไม่พร้อมอธิบายเหตุผล
  • 19. Free Powerpoint Templates Page 19 ตัวอย่างการศึกษาทางชีววิทยา
  • 22. Free Powerpoint Templates Page 22 Light microscope VS. Electron microscope องค์ประกอบและการทางาน!
  • 27. Free Powerpoint Templates Page 27 ลองบอกชื่อ องค์ประกอบและ หน้าที่เพื่อทบทวน ความเข้าใจ!!!
  • 28. Free Powerpoint Templates Page 28 ประเภทของกล้องจุลทรรศน์ (Type of Microscope) 1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Light Microscopes) 1.1) Light Microscopes หรือ Optical Microscopesหรือ Bright field Microscopes 1.2) Dark field Microscopes 1.3) Phase Contrast Microscopes 1.4) Polarized Microscopes 1.4) Fluorescencemicroscopes 1.5) Confocal Microscopes 1.6) Stereo Microscopes 2.กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน(Electron Microscopes) 2.1)Transmission ElectronMicroscopes(TEM) 2.2)Scanningelectronmicroscopes(SEM) 3. กล้อง Microscope ระดับอะตอม 3.1)Scanningtunneling microscopes(STM) 3.2)Atomic Force Microscopes(AFM)
  • 29. Free Powerpoint Templates Page 29 Scanning tunneling microscopes(STM) Atomic Force Microscopes (AFM) Fluorescence microscopes Polarized Microscopes
  • 30. Free Powerpoint Templates Page 30 Different Types of Light Microscope: A Comparison Human Cheek Epithelial Cells Brightfield (unstained specimen) Brightfield (stained specimen) Fluorescene Phase-contrast Differential- interference- contrast (Nomarski) Confocal
  • 31. Free Powerpoint Templates Page 31 1. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง แบ่งเป็น - แบบใช้แสงชนิดเลนส์เดี่ยว (single lens light microscope) สร้างโดย Leeuwenhoek คล้าย แว่นขยายธรรมดา (เลนส์ตา = เลนส์วัตถุ) - แบบใช้แสงธรรมดาหรือชนิดเลนส์ประกอบ (Compound light microscope) ใช้ศึกษาโครงสร้าง ภายใน (แสงทะลุผ่าน : slide 2 มิติเสมือนหัวกลับ) สร้างโดย Robert Hook (cell) - แบบใช้แสงสเตอริโอ (Stereoscopic/Dissection light microscope) ใช้ศึกษาโครงสร้าง ภายนอก (แสงสะท้อน : ทึบ 3 มิติเสมือนหัวตั้ง) Microscope
  • 33. Free Powerpoint Templates Page 33 Objective Lens
  • 37. Free Powerpoint Templates Page 37 การหาขนาดภาพและตัวอย่างใต้กล้องจุลทรรศน์
  • 45. Free Powerpoint Templates Page 45 หลักการทางานของ Compound L.M.
  • 46. Free Powerpoint Templates Page 46 2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) มี 2 แบบ คือ - แบบส่องผ่าน (Transmission Electron Microscope: TEM) ใช้ศึกษาโครงสร้างภายในของ เซลล์โดยลาแสงอิเล็กตรอนจะส่องผ่านเซลล์ที่เตรียมให้บางเป็นพิเศษ สร้างโดย Ernst Ruska - แบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope: SEM) ใช้ศึกษาโครงสร้างของผิวเซลล์หรือ ผิวของวัตถุ โดยแสงของอิเล็กตรอนส่องกระทบผิวของวัตถุ สร้างโดย M.Von Endenne Microscope
  • 48. Free Powerpoint Templates Page 48 Electron micrographs Transmission electron micrographs (TEM) Scanning electron micrographs (SEM)
  • 49. Free Powerpoint Templates Page 49 ลักษณะเปรียบเทียบ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ชนิดของแสง แสงธรรมดา ( = 4x103 Ao) ลาอิเล็กตรอน ( = 0.05-10 Ao) ชนิดของเลนส์ เลนส์นูน เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้า กาลังขยาย ประมาณ 2,000 เท่า ประมาณ 500,000 เท่า ขนาดวัตถุที่เล็กที่สุด 0.2 ไมโครเมตร 0.0005 ไมโครเมตร ภายในลากล้อง มีอากาศ สุญญากาศ ภาพสุดท้ายที่เกิดขึ้น ภาพเสมือนหัวกลับ ภาพปรากฏบนจอเรืองแสง สภาพของวัตถุที่ใช้ดู มีหรือไม่มีชีวิต ไม่มีชีวิตและแห้งปราศจากน้า สารในการย้อมตัวอย่าง สีย้อม โลหะหนัก ราคา ถูก แพง resolution 200 nm 1 mm การใช้งาน ห้องปฏิบัติการทั่วไป ห้องปฏิบัติการเฉพาะทาง ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
  • 53. Free Powerpoint Templates Page 53 ข้อควรจา - กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ = กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ x กาลังขยายเลนส์ใกล้ตา - ขนาดภาพ = ขนาดวัตถุ x กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ @ หน่วยที่ใช้บ่อย mm (10-3 ) / m (10-6 ) / nm (10-9 ) -ถ้ากาลังขยายของกล้องสูงจะเห็นภาพที่มีรายละเอียดมากกว่า แต่บริเวณขอบเขตที่มองเห็นภาพ จะน้อยกว่ากล้องที่มีกาลังขยายต่า - ภาพที่มองผ่านกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงธรรมดาเป็นภาพเสมือนหัวกลับ ภาพที่มองเห็นในกล้องจะ กลับจากซ้ายเป็นขวาและบนเป็นล่างเสมอ - การเลื่อน slide จะต้องเลื่อนในทิศทางตรงข้ามกับภาพเสมอ ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีเลนส์ใกล้ตา 15X และเลนส์ใกล้วัตถุ 100X มองเห็นเซลล์ยาว 100 ไมครอน ขนาดจริงของเซลล์คือ ? ? ?
  • 54. Free Powerpoint Templates Page 54 ควรรู้เพิ่มเติม
  • 55. Free Powerpoint Templates Page 55 The End Thank You For Your Attention!!!