SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอก
(Flowering Plant Reproduction)
จานวน 5 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 15 ชั่วโมง ประกอบด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอก ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก (1) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก (2) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชดอก ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสืบพันธุ์ของพืชดอก (Flowering Plant Reproduction)
เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอก เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอก เขียนสรุป
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งสามารถ
นาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกแต่
ละประเภทได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้อย่าง
ถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
>>> พืชมีดอก หมายถึง พืชที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะออก ดอก เพื่อใช้ในการสืบพันธุ์ เช่น เงาะ ทุเรียน
กุหลาบ มะลิ บัว กล้วยไม้
>>> พืชดอกบางชนิดมีดอกขนาดใหญ่สามารถมองเห็นชัดเจนเช่น ดอกผลไม้ต่าง ๆพืชบางชนิดมีดอก
ขนาดเล็กมาก จนมองเกือบไม่เห็นส่วนประกอบต่าง ๆ ภายในดอก เช่น จอก แหนสีของดอก ก็จะแตกต่างกัน
ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช แม้แต่พืชชนิดเดียวกัน แต่ต่างพันธุ์ก็ให้ดอกที่มีลักษณะและสีที่แตกต่างกันได้
>>> พืชมีดอก ขึ้นอยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆได้ทั่วไป บางชนิดลอยอยู่ที่ผิวน้า เช่น ผักตบชวา บัว จอก
และแหน บางชนิดจมอยู่ในน้า เช่น สาหร่ายหางกระรอก บางชนิดชอบขึ้นอยู่ตามที่ชื้นแฉะ เช่น ผักบุ้งและผัก
กระสัง บางชนิดขึ้นในที่แห้งแล้งเช่น กระบองเพชร
>>> พืชดอกส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่ตามดินทั่ว ๆไป เมื่อพืชมีดอกเจริญเติบโตอยู่ในสภาพสิ่งแวดล้อมที่
เหมาะสมจนเจริญเติบโตเต็มที่ แล้วจึงจะสร้างดอกซึ่งดอกของพืชมีดอกแต่ละชนิดจะมีรูปร่าง ขนาด สี และ
ส่วนประกอบแตกต่างกันออกไปดอกของพืชจาแนกตามการเกิด
>>> ดอก ของพืชเราสามารถจาแนกตามการเกิดออกได้ 2 ชนิด คือ
1. ดอกเดี่ยว
2. ดอกช่อ
>>> พืชมีดอก จะอาศัย ดอก เป็นอวัยวะในการสืบพันธุ์ เรียกว่า การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
การสืบพันธุ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 2 ขั้นตอน คือ
1. การถ่ายละอองเรณู
2. การปฏิสนธิ
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอก
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ
สืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละประเภท
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกต่อ
กระบวนการดารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> กระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละชนิดมีความแตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไร
> กระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกที่เราสามารถพบได้ทั่วไปจาแนกออกได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
> หากพืชดอกไม่มีกระบวนการสืบพันธุ์แล้วจะส่งผลอย่างไรต่อระบบนิเวศและการดารงชีวิตของ
มนุษย์บ้าง
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกมี
ความสัมพันธ์กับลักษณะโครงสร้างของพืชดอกที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
กระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมถิ่นที่อยู่อาศัยแตกต่างกันจะมีความแตกต่างกัน
หรือไม่ อย่างไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “กระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอก” ว่า
>>> พืชมีดอก หมายถึง พืชที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะออก ดอก เพื่อใช้ในการสืบพันธุ์
เช่น เงาะ ทุเรียนกุหลาบ มะลิ บัว กล้วยไม้
>>> พืชดอกบางชนิดมีดอกขนาดใหญ่สามารถมองเห็นชัดเจนเช่น ดอกผลไม้ต่าง ๆพืช
บางชนิดมีดอกขนาดเล็กมาก จนมองเกือบไม่เห็นส่วนประกอบต่าง ๆ ภายในดอก เช่น จอก แหนสีของดอก ก็
จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของพืช แม้แต่พืชชนิดเดียวกัน แต่ต่างพันธุ์ก็ให้ดอกที่มีลักษณะและสีที่แตกต่าง
กันได้
>>> พืชมีดอก ขึ้นอยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้ทั่วไป บางชนิดลอยอยู่ที่ผิวน้า เช่น
ผักตบชวา บัว จอกและแหน บางชนิดจมอยู่ในน้า เช่น สาหร่ายหางกระรอก บางชนิดชอบขึ้นอยู่ตามที่ชื้นแฉะ
เช่น ผักบุ้งและผักกระสัง บางชนิดขึ้นในที่แห้งแล้งเช่น กระบองเพชร
>>> ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่ตามดินทั่ว ๆไป เมื่อพืชมีดอกเจริญเติบโตอยู่ในสภาพสิ่งแวดล้อมที่
เหมาะสมจนเจริญเติบโตเต็มที่ แล้วจึงจะสร้างดอกซึ่งดอกของพืชมีดอกแต่ละชนิดจะมีรูปร่าง ขนาด สี และ
ส่วนประกอบแตกต่างกันออกไปดอกของพืชจาแนกตามการเกิด
>>> ดอก ของพืชเราสามารถจาแนกตามการเกิดออกได้ 2 ชนิด คือ
1. ดอกเดี่ยว คือ ดอกที่โผล่ขึ้นมาจากก้านชูดอกเพียงก้านเดียว เช่น ดอกบัว ดอก
กุหลาบ ดอกชบา ดอกดาวเรือง ดอกตานตะวัน ฯลฯ
2. ดอกช่อ คือ ดอกหลายๆ ดอกที่โผล่ออกมาจากก้านดอกเดียวกัน เช่น ดอกเข็ม
ดอกกล้วยไม้ ดอกเงาะ ดอกมะม่วง ดอกทุเรียน ฯลฯ
>>> พืชมีดอก จะอาศัย ดอก เป็นอวัยวะในการสืบพันธุ์ เรียกว่า การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
การสืบพันธุ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 2 ขั้นตอน คือ
1. การถ่ายละอองเรณู
อับเรณู (Ather) แตกออก ทาให้ละอองเรณูปลิวไปตกบนยอดเกสรตัวเมีย (หรือถูกน้าพัดพา
ไป หรือติดขาแมลง สัตว์พาไป) เรียกกระบวนการนี้ว่า การถ่ายละอองเรณู (Pollination) ละอองเรณู
ตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย (Stigma) ซึ่งมีน้าหวานเหนียว ๆ มีหน้าที่คอยจับละอองเรณู เมื่อละออง
เรณูตกลงบนยอดเกสรตัวเมียแล้วจะงอกหลอดละอองเรณู (Pollen tube) ออกจากละอองเรณูลงไป
ตามคอเกสรตัวเมีย หลอดนี้จะงอกอย่างเร็วมาก ผ่านรูไมโครไพล์เข้าไปสู่ออวูล และทิวบ์นิวเคลียสจะ
เคลื่อนตามหลอดลงไป
2.การปฏิสนธิ
ละอองเรณู ตกลงสู่ ยอดเกสรตัวเมีย ละอองเรณูจะงอกท่อยาว เรียกว่า พอลเลนทิวบ์
(Pollen tube) ลงสู่ก้านเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียสจะเคลื่อนตัวไปตามท่อ ผ่านทางรู ไมโครไพล์
(Micropyle) ของออวุล ในขณะนี้ เจเนเรทีฟนิวเคลียส (Generative nucleus) จะแบ่งนิวเคลียส
แบบไมโทซีสได้สเปิร์มนิวเคลียส (Sperm nucleus) 2 ตัว เข้าผสมกัน นิวเคลียสของไข่ (Egg
cell) ได้ไซโกต (2n) ซึ่งจะเจริญเป็นเอมบริโอต่อไป ส่วนอีกนิวเคลียสจะผสมกับโพลาร์นิวคลีไอ
(Polar nuclei) เจริญเป็นเอนโดสเปิร์ม (3n) ซึ่งเป็นอาหารสาหรับเลี้ยงเอมบริโอการผสมซึ่งเกิดจาก
การผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (Double Fertilization) ซึ่งพบเฉพาะใน พืชดอกเท่านั้น
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ
กระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอก การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์
ในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกใน
การศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอก การสรุป
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งการ
ประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm
9.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอก: www.google.com
9.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอก: www.youtube.com
9.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอก
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสืบพันธุ์ของพืชดอก (Flowering Plant Reproduction)
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ
สืบพันธุ์พืชดอก เขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ
สืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
การดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก
ได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ
สืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอกต่อกระบวนการดารงชีวิต
ของพืชได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
>>> ดอกไม้ประกอบด้วยส่วนต่างๆ 4 ส่วน โดยแต่ละส่วนจะเรียงตัวจากชั้นที่อยู่นอกสุดเข้าสู่ส่วนใน
คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ และเกสรตัวเมียตามลาดับ โดยส่วนประกอบทั้ง 4 นี้จะอยู่บนฐานรอง
ดอก ซึ่งอยู่ปลายสุดของก้านชูดอกอีกทีหนึ่ง
1. กลีบเลี้ยง (sepal)
2. กลีบดอก (petal)
3. เกสรตัวผู้ (stamen) เกสรตัวผู้แต่ละอันประกอบด้วย 2 ส่วน
3.1 ก้านชูเกสรตัวผู้ (filament)
3.2 อับเกสรตัวผู้ (anther)
4. เกสรตัวเมีย (pistil) เกสรตัวเมียประกอบด้วย 3 ส่วนคือ
4.1 ยอดเกสรตัวเมีย (stigma)
4.2 ก้านชูเกสรตัวเมีย (style)
4.3 รังไข่ (ovary)
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ
สืบพันธุ์พืชดอก
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้าง
และหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละประเภท
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืช
ดอกต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> องค์ประกอบและโครงสร้างของดอกเหมาะสมต่อการทาหน้าที่ในกระบวนการสืบพันธุ์ของพืช
ดอกอย่างไร
> ประเภทของดอกสามารถแบ่งออกตามลักษณะโครงสร้างภายในที่เราพบเห็นได้ทั่วไปเป็นกี่ชั้น
อะไรบ้าง
> องค์ประกอบและโครงสร้างของดอกมีความสัมพันธ์กับความอยู่รอดของพืชดอกที่อาศัยอยู่ใน
บริเวณสิ่งแวดล้อมที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกมี
ความสัมพันธ์กับลักษณะโครงสร้างของพืชดอกที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
กระบวนการสืบพันธุ์พืชดอกที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันโดยเฉพาะด้านโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับ
ดอกจะมีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก” ว่า
*** ดอกไม้ประกอบด้วยส่วนต่างๆ 4 ส่วน โดยแต่ละส่วนจะเรียงตัวจากชั้นที่อยู่นอกสุด
เข้าสู่ส่วนใน คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ และเกสรตัวเมียตามลาดับ โดยส่วนประกอบทั้ง 4 นี้จะอยู่
บนฐานรองดอก ซึ่งอยู่ปลายสุดของก้านชูดอกอีกทีหนึ่ง
1. กลีบเลี้ยง (sepal) เป็นส่วนของดอกที่อยู่นอกสุด มีสีเขียว เหมือนใบ และทาหน้าที่
สังเคราะห์ด้วยแสงได้ กลีบเลี้ยงทาหน้าที่ห่อหุ้ม และป้องกันอันตรายให้แก่ส่วนของดอกที่อยู่ภายใน เมื่อดอก
บานแล้วส่วนของกลีบเลี้ยงอาจหมดหน้าที่แล้วหลุดร่วงไป วงของกลีบเลี้ยงเรียกว่า แคลิกซ์ (calyx)
กลีบเลี้ยงที่ไม่ใช่สีเขียวและทาหน้าที่ล่อแมลงให้มาผสมเกสรได้ เช่นเดียวกับกลีบดอก ใต้กลีบเลี้ยงมีกลีบสี
เขียวขนาดเล็กเรียงตัวเป็นวงอยู่ด้วย เรียกว่า ริ้วประดับ (epicalyx) เช่น ในดอกชบา และพู่ระหง
2. กลีบดอก (petal) เป็นส่วนที่อยู่ถัดจากกลีบเลี้ยงเข้ามากลีบดอกมักมีสีสันสวยงาม
เนื่องจากมีรงควัตถุ เช่น แอนโทไซยานินละลายอยู่ใน sap vacuole ทาให้เกิดสีแดง สีน้าเงิน ม่วง นอกจากนี้
ยังมีสารแอนโทแซนทิน ละลายอยู่ด้วยทาให้เกิดสีต่างๆ ได้หลายสี ในดอกไม้สีขาว เนื่องจากในแซพแวคิวโอล
ไม่มีรงควัตถุชนิดใดบรรจุอยู่ หรือมีแอนโทแซนทินก็ได้ สารสีเหลืองหรือสีแดงเกิดจากรงควัตถุชนิด แคโรที
นอยด์ กลีบดอกบางชนิดสามารถเปลี่ยนสีได้ เช่นดอกพุดตาน บางชนิดมีกลิ่นหอมเนื่องจากมีต่อมกลิ่นอยู่
ด้วยและที่โคนกลีบดอกมักมีต่อมน้าหวาน ช่วยในการล่อแมลง วงกลีบดอกเรียกว่า คอโรลา (corolla) ถ้าหาก
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกเหมือนกันจนแยกไม่ออกจะเรียกรวมกันว่า วงกลีบรวม(perianth) ได้แก่ จาปี จาปา
บัวหลวง ทิวลิป เป็นต้น
3. เกสรตัวผู้ (stamen) เป็นส่วนที่จาเป็นต่อการสืบพันธุ์ ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศ
ผู้ เกสรตัวผู้มักมีหลายอันและเรียงตัวเป็นวงเรียกว่า แอนดรีเซียม (androecium)เกสรตัวผู้ส่วนใหญ่แยกกัน
เป็นอันๆ แต่บางชนิดอาจติดกัน หรืออาจติดส่วนอื่นของดอก เช่น เกสรตัวผู้เชื่อมติดกับกลีบดอก พบใน
ดอกเข็ม ดอกลาโพง หรือเกสรตัวผู้ติดกับเกสรตัวเมีย พบในดอกรัก ดอกเทียน เกสรตัวผู้แต่ละอัน
ประกอบด้วย 2 ส่วน
3.1 ก้านชูเกสรตัวผู้ (filament) เป็นส่วนที่มีลักษณะเป็นเส้นอาจรวมกันเป็นกลุ่ม
หรือแยกกันอาจยาวหรือสั้นซึ่งก็แล้วแต่ชนิดของพืช ทาหน้าที่ชูอักเกสรตัวผู้หรืออับเรณู
3.2 อับเกสรตัวผู้ (anther) มีลักษณะเป็นแทงกลมยาวหรือค่อนข้าง
กลม 2 พู ภายในแบ่งเป็นถุงเล็กๆ 4 ถุง เรียกว่า ถุงเรณู(pollen sac) บรรจุละออง
เรณู (pollen grain)จานวนมากมีลักษณะเป็นเม็ดเล็กๆ สีเหลืองๆ ผิวของละอองเรณูแต่
ละชนิดจะแตกต่างกัน ละอองเรณูทาหน้าที่ เป็นเซลล์สืบพันธุเพศผู้ เมื่อดอกเจริญเต็มที่
แล้วถุงละอองเรณูจะแตกออก ละอองเรณูก็จะปลิวออกมา เกสรตัวผู้ในพืชแต่ละชนิดมี
จานวนมากน้อยไม่เท่ากัน ในพืชโบราณหรือพืชชั้นต่าเกสรตัวผู้มักมีจานวนมาก ส่วนพืชที่มี
วิวัฒนาการสูงจานวนเกสรตัวผู้จะลดน้อยลง
4. เกสรตัวเมีย (pistil) เป็นชั้นที่อยู่ในสุดเปลี่ยนแปลงมาจากใบเพื่อทาหน้าที่สร้างเซลล์
สืบพันธุ์เพศเมีย จึงเป็นอวัยวะสาคัญต่อการสืบพันธุ์ ในหนึ่งดอกเกสรตัวเมียอาจมีอันเดียวหรือหลาย
อัน เรียงตัวเป็นวงของเกสรตัวเมีย เรียกว่า จิเนเซียม (gynaecium) เกสรตัวเมียประกอบด้วย 3 ส่วนคือ
4.1 ยอดเกสรตัวเมีย (stigma) เป็นส่วนที่พองออกมีลักษณะเป็นตุ่มแผ่แบนเป็น
แฉก เป็นพูและมีน้าเหนียวๆ หรือขนคอยจับละอองเรณูที่ลอยมาติด
4.2 ก้านชูเกสรตัวเมีย (style) เป็นส่วนที่มีลักษณะเป็นเส้นหรือก้านเล็กๆ อาจยาว
หรือสั้นเชื่อมต่อจากยอดเกสรตัวเมียลงสู่รังไข่ เป็นทางให้เสปิร์มนิวเคลียสเข้าผสมกับไข่
4.3 รังไข่ (ovary) เป็นส่วนที่พองออกมาลักษณะเป็นกระเปาะยึดกับฐานรองดอก
หรืออาจฝังอยู่ในฐานรองดอกภายในมีลักษณะเป็นห้องๆ เรียกว่า โลคุล (locule) ซึ่งภายใน
มีออวุล(ovule) บรรจุอยู่แต่ละหน่วยของเกสรตัวเมียที่มีโลคุลที่ห่อหุ้มไข่ไว้ภายในเรียกว่า
คาร์เพล (carpel) ใน 1 โคคุล อาจมี 1 คาร์เพล หรือหลายคาร์เพลก็ได้แล้วแต่ชนิดของ
ดอกไม้ เมื่อเกิดการปฏิสนธิแล้วรังไข่จะเจริญเป็นผล ส่วนออวุลเจริญเป็นเมล็ด
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ
ความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความ
แตกต่างของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอกในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้
เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอกในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ
สืบพันธุ์พืชดอก การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ
สืบพันธุ์พืชดอกในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของ
อวัยวะสืบพันธุ์พืชดอกในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm
9.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก:
www.google.com
9.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก:
www.youtube.com
9.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์
พืชดอก
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสืบพันธุ์ของพืชดอก (Flowering Plant Reproduction)
เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก (1) เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก เขียน
สรุปขั้นตอนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
ดอก อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปขั้นตอนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียในการสืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศของพืชดอกได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้
อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
>>> เซลล์สืบพันธุ์ของพืชดอกมี 2 ชนิด คือ
1. เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
2. เซลล์สืบพันธุ์ทั้งสองมีขั้นตอนในการแบ่งเซลล์
>>> เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้จะเกิดขึ้นภายในอับเรณู (anther) โดยมีไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์
(microspore mother cell) แบ่งเซลล์แบบไมโอซีสได้ 4 ไมโครสปอร์ (microspore) แต่ละเซลล์มี
โครโมโซมเท่ากันคือ n
>>> ไมโครสปอร์ (microspore) แต่ละเซลล์จะแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสได้ 2 นิวเคลียส คือ
1. เจเนอเรทีฟนิวเคลียส (generative nucleus)
2. ทิวบ์นิวเคลียส (tube nucleus)
เรียกเซลล์ในระยะนี้ว่าละอองเรณู (pollen grain)หรือแกมีโทไฟต์เพศผู้ (male gametophyte)
>>> เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย เกิดขึ้นภายในรังไข่ ซึ่งภายในรังไข่อาจมีหนึ่งออวุล (ovule) หรือหลาย
ออวุล ภายในออวุลมีหลายเซลล์ แต่มีหนึ่งเซลล์ที่ใหญ่กว่าเซลล์อื่นๆ เรียกว่า เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์
(megaspore mother cell) มีจานวนโครโมโซมเป็น 2n
>>> เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์ (megaspore mother cell) จากนั้นจะแบ่งเซล์แบบไมโอซิสได้ 4
เซลล์ สลายไป 3 เซลล์ เหลือเพียง 1 เซลล์ เรียกว่า เมกะสปอร์ (megaspore)
>>> นิวเคลียสของเมกะสปอร์จะแบ่งแบบไมโทซีส 3 ครั้ง ได้ 8 นิวเคลียส จัดเรียงตัวเป็น 3 กลุ่ม คือ
1. แอนติโพแดล (antipodels cell)
2. เซลล์ไข่ (egg cell) และ ซินเนอน์จิดส์ (synergids)
3. โพลาร์นิวคลีไอ (polar nuclei cell)
เมกะสปอร์ในระยะนี้เรียกชื่อใหม่ว่า ถุงเอ็มบริโอ (embryo sac)หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย (female
gametophyte)
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
ดอก
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปขั้นตอนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
ในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกต่อ
กระบวนการดารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> โครงสร้างของดอกเหมาะสมต่อการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกอย่างไร
> เราสามารถแบ่งขั้นคอนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกออกได้เป็นกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง
> ถ้าพืชดอกไม่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแล้วจะส่งผลต่อความอยู่รอดของพืชอย่างไรบ้าง
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
มีความแตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไรในพืชที่มีถิ่นที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมที่มีความแตกต่างกัน
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
การปรับตัวของโครงสร้างใดบ้างที่ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก (1)” ว่า
>>> เซลล์สืบพันธุ์ของพืชดอกมี 2 ชนิด คือ เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย เซลล์
สืบพันธุ์ทั้งสองมีขั้นตอนในการแบ่งเซลล์
>>> เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้จะเกิดขึ้นภายในอับเรณู (anther) โดยมีไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์
(microspore mother cell) แบ่งเซลล์แบบไมโอซีสได้ 4 ไมโครสปอร์ (microspore) แต่ละเซลล์มี
โครโมโซมเท่ากันคือ n หลังจากนั้นนิวเคลียสของแต่ละเซลล์จะแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสได้ 2 นิวเคลียส คือ เจ
เนอเรทีฟนิวเคลียส (generative nucleus) และ ทิวบ์นิวเคลียส (tube nucleus) เรียกเซลล์ในระยะนี้
ว่า ละอองเรณู (pollen grain) หรือ แกมีโทไฟต์เพศผู้ (male gametophyte) เมื่อละอองเรณูแก่เต็มที่
อับเรณูจะแตกออกทาให้ละอองเรณูกระจายออกไปพร้อมที่จะผสมพันธุ์ต่อไป
>>> ลักษณะของละอองเรณูมีความแตกต่างกันทั้งขนาด รูปร่าง ลักษณะ และ
จานวน เนื่องจากพืชดอกมีวิวัฒนาการยาวนานมาก จึงมีความหลากหลาย บางชนิดผิวขรุขระ บางชนิดมีหนาม
หรือปุ่มยื่นออกมา มีความเหนียวขึ้น เมื่อตกบนยอดเกสรเพศเมียแล้วจะไม่ปลิวไปตามลม ซึ่งเหมาะสมต่อ
การถ่ายละอองเรณูไปบนยอดเกสรเพศเมีย จานวนละอองเรณูส่วนใหญ่มีจานวนมากกว่าเซลล์ไข่
มาก เนื่องจากมีโอกาสน้อยที่จะตกบนยอดเกสรเพศเมียพอดี เพราะบางชนิดต้องถ่ายละอองเรณูข้ามดอก
และข้ามต้นซึ่งอยู่ในระยะไกลๆ
>>> เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย เกิดขึ้นภายในรังไข่ ซึ่งภายในรังไข่อาจมีหนึ่งออวุล
(ovule) หรือหลายออวุล ภายในออวุลมีหลายเซลล์ แต่มีหนึ่งเซลล์ที่ใหญ่กว่าเซลล์อื่นๆ เรียกว่า เมกะ
สปอร์มาเทอร์เซลล์ (megaspore mother cell)ย มีจานวนโครโมโซมเป็น 2n จากนั้นจะแบ่งเซล์แบบ
ไมโอซิสได้ 4 เซลล์ สลายไป 3 เซลล์ เหลือเพียง 1 เซลล์ เรียกว่า เมกะสปอร์ (megaspore) จากนั้น
นิวเคลียสของเมกะสปอร์จะแบ่งแบบไมโทซีส 3 ครั้ง ได้ 8 นิวเคลียส จัดเรียงตัวเป็น 3 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มที่อยู่ตรงข้ามกับไมโครไพล์ มี 3 เซลล์ 3 นิวเคลียส มีเยื่อหุ้มเป็น 3 เซลล์
เรียกว่า แอนติโพแดล (antipodels cell)
2. กลุ่มที่อยู่ด้านไมโครไพล์ มี 3 เซลล์ 3 นิวเคลียส นิวเคลียสอันกลางมีขนาด
ใหญ่ เรียกว่า เซลล์ไข่ (egg cell) อีก 2 อันข้างๆ เรียกว่า ซินเนอน์จิดส์ (synergids)
3. กลุ่มที่อยู่กลางเซลล์มี 2 นิวเคลียส แต่มีเยื่อหุ้มรวมกันกลายเป็น 1 เซลล์ เรียกว่า โพลาร์นิวคลี
ไอ (polar nuclei cell)
ดังนั้น ภายในภายเมกะสปอร์จึงประกอบด้วย 7 เซลล์ ที่มี 8 นิวเคลียส เมกะสปอร์ในระยะนี้
เรียกชื่อใหม่ว่า ถุงเอ็มบริโอ (embryo sac) หรือ แกมีโทไฟต์เพศเมีย (female gametophyte)
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ
ความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละ
บริเวณของใบพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชในการศึกษาชีววิทยา
ในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช
การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของใบพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหา
บทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm
9.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก: www.google.com
9.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก: www.youtube.com
9.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสืบพันธุ์ของพืชดอก (Flowering Plant Reproduction)
เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก (2) เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก เขียน
สรุปขั้นตอนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
ดอก อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปขั้นตอนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียในการสืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศของพืชดอกได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้
อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
>>> การปฏิสนธิของพืชดอก เมื่อ ละอองเรณู ตกลงสู่ ยอดเกสรตัวเมีย ละอองเรณูจะงอกท่อยาว
เรียกว่า พอลเลนทิวบ์ (Pollen tube) ลงสู่ก้านเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียสจะเคลื่อนตัวไปตามท่อ ผ่านทาง
รู ไมโครไพล์ (Micropyle) ของออวุล
>>> เจเนเรทีฟนิวเคลียส (Generative nucleus) จะแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซีสได้สเปิร์มนิวเคลียส
(Sperm nucleus) 2 ตัว
1. ผสมกัน นิวเคลียสของไข่ (Egg cell) ได้ไซโกต (2n) ซึ่งจะเจริญเป็นเอมบริโอต่อไป
2. ผสมกับโพลาร์นิวคลีไอ (Polar nuclei) เจริญเป็นเอนโดสเปิร์ม (3n) ซึ่งเป็นอาหารสาหรับเลี้ยง
เอมบริโอ
>>> การผสมซึ่งเกิดจากการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (Double Fertilization) ซึ่งพบ
เฉพาะใน พืชดอกเท่านั้น
>>> หลังจากปฏิสนธิแล้ว
1. รังไข่ (ovary) เจริญเป็น ผล
2. ผนังรังไข่ (ovary wall ) เจริญเป็น เปลือกและเนื้อของผลไม้
3. ออวุล (ovule ) เจริญเป็น เมล็ด
4. ไข่ (egg ) เจริญเป็น ต้นอ่อนอยู่ภายในเมล็ด
5. โพลาร์นิวเคลียส (polar nucleus ) เจริญเป็น เอนโดสเปิร์ม
6. เยื่อหุ้มออวุล (integument ) เจริญเป็น เปลือกหุ้มเมล็ด
สาหรับส่วนประกอบอื่น ๆ ของดอกจะเหี่ยวแห้งและสลายตัวไป
>>> การปฏิสนธิซ้อนของพืชดอก มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นการสร้างอาหารให้แก่
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น ผลไม้ที่เราใช้รับประทานก็เกิดมาจากการปฏิสนธิ อาหารพวกจ้าว ข้าวโพด ก็เป็นส่วนของ
เอนโดสเปิร์ม อาหารในเมล็ดถั่วหลายชนิดก็เป็นอาหารที่สะสมอยู่ในใบเลี้ยงของเอมบริโอของถั่ว
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
ดอก
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปขั้นตอนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
ในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกต่อ
กระบวนการดารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> โครงสร้างของดอกเหมาะสมต่อการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกอย่างไร
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro

More Related Content

What's hot

Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62Wichai Likitponrak
 
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกWichai Likitponrak
 
บท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อบท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
Onet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschoolOnet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschool
 
Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561
 
Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62
 
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
Lessonplanunit4animalrepro kr uwichai62
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
 
Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
บท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อบท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อ
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
Lesson2 plantrepro2
Lesson2 plantrepro2Lesson2 plantrepro2
Lesson2 plantrepro2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
656 pre3
656 pre3656 pre3
656 pre3
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
 

Similar to Lesson2 plantrepro

บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกWichai Likitponrak
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1jamjuree_ben
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6rainacid
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 

Similar to Lesson2 plantrepro (20)

Lessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduceLessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduce
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Lesson2 plantrepro

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอก (Flowering Plant Reproduction) จานวน 5 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 15 ชั่วโมง ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอก ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก (1) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก (2) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชดอก ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสืบพันธุ์ของพืชดอก (Flowering Plant Reproduction) เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอก เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอก เขียนสรุป เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งสามารถ นาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ ละประเภทได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้อย่าง ถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ >>> พืชมีดอก หมายถึง พืชที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะออก ดอก เพื่อใช้ในการสืบพันธุ์ เช่น เงาะ ทุเรียน กุหลาบ มะลิ บัว กล้วยไม้ >>> พืชดอกบางชนิดมีดอกขนาดใหญ่สามารถมองเห็นชัดเจนเช่น ดอกผลไม้ต่าง ๆพืชบางชนิดมีดอก ขนาดเล็กมาก จนมองเกือบไม่เห็นส่วนประกอบต่าง ๆ ภายในดอก เช่น จอก แหนสีของดอก ก็จะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช แม้แต่พืชชนิดเดียวกัน แต่ต่างพันธุ์ก็ให้ดอกที่มีลักษณะและสีที่แตกต่างกันได้ >>> พืชมีดอก ขึ้นอยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆได้ทั่วไป บางชนิดลอยอยู่ที่ผิวน้า เช่น ผักตบชวา บัว จอก และแหน บางชนิดจมอยู่ในน้า เช่น สาหร่ายหางกระรอก บางชนิดชอบขึ้นอยู่ตามที่ชื้นแฉะ เช่น ผักบุ้งและผัก กระสัง บางชนิดขึ้นในที่แห้งแล้งเช่น กระบองเพชร >>> พืชดอกส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่ตามดินทั่ว ๆไป เมื่อพืชมีดอกเจริญเติบโตอยู่ในสภาพสิ่งแวดล้อมที่ เหมาะสมจนเจริญเติบโตเต็มที่ แล้วจึงจะสร้างดอกซึ่งดอกของพืชมีดอกแต่ละชนิดจะมีรูปร่าง ขนาด สี และ ส่วนประกอบแตกต่างกันออกไปดอกของพืชจาแนกตามการเกิด >>> ดอก ของพืชเราสามารถจาแนกตามการเกิดออกได้ 2 ชนิด คือ 1. ดอกเดี่ยว 2. ดอกช่อ
  • 3. >>> พืชมีดอก จะอาศัย ดอก เป็นอวัยวะในการสืบพันธุ์ เรียกว่า การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ การสืบพันธุ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 2 ขั้นตอน คือ 1. การถ่ายละอองเรณู 2. การปฏิสนธิ 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอก ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ สืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละประเภท คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกต่อ กระบวนการดารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > กระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละชนิดมีความแตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไร > กระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกที่เราสามารถพบได้ทั่วไปจาแนกออกได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง > หากพืชดอกไม่มีกระบวนการสืบพันธุ์แล้วจะส่งผลอย่างไรต่อระบบนิเวศและการดารงชีวิตของ มนุษย์บ้าง
  • 4. ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกมี ความสัมพันธ์กับลักษณะโครงสร้างของพืชดอกที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น กระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมถิ่นที่อยู่อาศัยแตกต่างกันจะมีความแตกต่างกัน หรือไม่ อย่างไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “กระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอก” ว่า >>> พืชมีดอก หมายถึง พืชที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะออก ดอก เพื่อใช้ในการสืบพันธุ์ เช่น เงาะ ทุเรียนกุหลาบ มะลิ บัว กล้วยไม้ >>> พืชดอกบางชนิดมีดอกขนาดใหญ่สามารถมองเห็นชัดเจนเช่น ดอกผลไม้ต่าง ๆพืช บางชนิดมีดอกขนาดเล็กมาก จนมองเกือบไม่เห็นส่วนประกอบต่าง ๆ ภายในดอก เช่น จอก แหนสีของดอก ก็ จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของพืช แม้แต่พืชชนิดเดียวกัน แต่ต่างพันธุ์ก็ให้ดอกที่มีลักษณะและสีที่แตกต่าง กันได้ >>> พืชมีดอก ขึ้นอยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้ทั่วไป บางชนิดลอยอยู่ที่ผิวน้า เช่น ผักตบชวา บัว จอกและแหน บางชนิดจมอยู่ในน้า เช่น สาหร่ายหางกระรอก บางชนิดชอบขึ้นอยู่ตามที่ชื้นแฉะ เช่น ผักบุ้งและผักกระสัง บางชนิดขึ้นในที่แห้งแล้งเช่น กระบองเพชร >>> ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่ตามดินทั่ว ๆไป เมื่อพืชมีดอกเจริญเติบโตอยู่ในสภาพสิ่งแวดล้อมที่ เหมาะสมจนเจริญเติบโตเต็มที่ แล้วจึงจะสร้างดอกซึ่งดอกของพืชมีดอกแต่ละชนิดจะมีรูปร่าง ขนาด สี และ ส่วนประกอบแตกต่างกันออกไปดอกของพืชจาแนกตามการเกิด >>> ดอก ของพืชเราสามารถจาแนกตามการเกิดออกได้ 2 ชนิด คือ 1. ดอกเดี่ยว คือ ดอกที่โผล่ขึ้นมาจากก้านชูดอกเพียงก้านเดียว เช่น ดอกบัว ดอก กุหลาบ ดอกชบา ดอกดาวเรือง ดอกตานตะวัน ฯลฯ
  • 5. 2. ดอกช่อ คือ ดอกหลายๆ ดอกที่โผล่ออกมาจากก้านดอกเดียวกัน เช่น ดอกเข็ม ดอกกล้วยไม้ ดอกเงาะ ดอกมะม่วง ดอกทุเรียน ฯลฯ >>> พืชมีดอก จะอาศัย ดอก เป็นอวัยวะในการสืบพันธุ์ เรียกว่า การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ การสืบพันธุ์ของพืชมีดอก ประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 2 ขั้นตอน คือ 1. การถ่ายละอองเรณู อับเรณู (Ather) แตกออก ทาให้ละอองเรณูปลิวไปตกบนยอดเกสรตัวเมีย (หรือถูกน้าพัดพา ไป หรือติดขาแมลง สัตว์พาไป) เรียกกระบวนการนี้ว่า การถ่ายละอองเรณู (Pollination) ละอองเรณู ตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย (Stigma) ซึ่งมีน้าหวานเหนียว ๆ มีหน้าที่คอยจับละอองเรณู เมื่อละออง เรณูตกลงบนยอดเกสรตัวเมียแล้วจะงอกหลอดละอองเรณู (Pollen tube) ออกจากละอองเรณูลงไป ตามคอเกสรตัวเมีย หลอดนี้จะงอกอย่างเร็วมาก ผ่านรูไมโครไพล์เข้าไปสู่ออวูล และทิวบ์นิวเคลียสจะ เคลื่อนตามหลอดลงไป 2.การปฏิสนธิ ละอองเรณู ตกลงสู่ ยอดเกสรตัวเมีย ละอองเรณูจะงอกท่อยาว เรียกว่า พอลเลนทิวบ์ (Pollen tube) ลงสู่ก้านเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียสจะเคลื่อนตัวไปตามท่อ ผ่านทางรู ไมโครไพล์ (Micropyle) ของออวุล ในขณะนี้ เจเนเรทีฟนิวเคลียส (Generative nucleus) จะแบ่งนิวเคลียส แบบไมโทซีสได้สเปิร์มนิวเคลียส (Sperm nucleus) 2 ตัว เข้าผสมกัน นิวเคลียสของไข่ (Egg cell) ได้ไซโกต (2n) ซึ่งจะเจริญเป็นเอมบริโอต่อไป ส่วนอีกนิวเคลียสจะผสมกับโพลาร์นิวคลีไอ (Polar nuclei) เจริญเป็นเอนโดสเปิร์ม (3n) ซึ่งเป็นอาหารสาหรับเลี้ยงเอมบริโอการผสมซึ่งเกิดจาก การผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (Double Fertilization) ซึ่งพบเฉพาะใน พืชดอกเท่านั้น
  • 6. นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ กระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอก การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ ในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกใน การศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอก การสรุป เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งการ ประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm 9.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอก: www.google.com 9.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอก: www.youtube.com 9.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืชดอก 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 7. ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) ครูผู้สอน
  • 8. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสืบพันธุ์ของพืชดอก (Flowering Plant Reproduction) เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ สืบพันธุ์พืชดอก เขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ สืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน การดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก ได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ สืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอกต่อกระบวนการดารงชีวิต ของพืชได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ >>> ดอกไม้ประกอบด้วยส่วนต่างๆ 4 ส่วน โดยแต่ละส่วนจะเรียงตัวจากชั้นที่อยู่นอกสุดเข้าสู่ส่วนใน คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ และเกสรตัวเมียตามลาดับ โดยส่วนประกอบทั้ง 4 นี้จะอยู่บนฐานรอง ดอก ซึ่งอยู่ปลายสุดของก้านชูดอกอีกทีหนึ่ง 1. กลีบเลี้ยง (sepal) 2. กลีบดอก (petal) 3. เกสรตัวผู้ (stamen) เกสรตัวผู้แต่ละอันประกอบด้วย 2 ส่วน 3.1 ก้านชูเกสรตัวผู้ (filament) 3.2 อับเกสรตัวผู้ (anther) 4. เกสรตัวเมีย (pistil) เกสรตัวเมียประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 4.1 ยอดเกสรตัวเมีย (stigma) 4.2 ก้านชูเกสรตัวเมีย (style) 4.3 รังไข่ (ovary)
  • 9. 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ สืบพันธุ์พืชดอก ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์ในพืชดอกแต่ละประเภท คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืช ดอกต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > องค์ประกอบและโครงสร้างของดอกเหมาะสมต่อการทาหน้าที่ในกระบวนการสืบพันธุ์ของพืช ดอกอย่างไร > ประเภทของดอกสามารถแบ่งออกตามลักษณะโครงสร้างภายในที่เราพบเห็นได้ทั่วไปเป็นกี่ชั้น อะไรบ้าง > องค์ประกอบและโครงสร้างของดอกมีความสัมพันธ์กับความอยู่รอดของพืชดอกที่อาศัยอยู่ใน บริเวณสิ่งแวดล้อมที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกมี ความสัมพันธ์กับลักษณะโครงสร้างของพืชดอกที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
  • 10. นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น กระบวนการสืบพันธุ์พืชดอกที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันโดยเฉพาะด้านโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับ ดอกจะมีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก” ว่า *** ดอกไม้ประกอบด้วยส่วนต่างๆ 4 ส่วน โดยแต่ละส่วนจะเรียงตัวจากชั้นที่อยู่นอกสุด เข้าสู่ส่วนใน คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ และเกสรตัวเมียตามลาดับ โดยส่วนประกอบทั้ง 4 นี้จะอยู่ บนฐานรองดอก ซึ่งอยู่ปลายสุดของก้านชูดอกอีกทีหนึ่ง 1. กลีบเลี้ยง (sepal) เป็นส่วนของดอกที่อยู่นอกสุด มีสีเขียว เหมือนใบ และทาหน้าที่ สังเคราะห์ด้วยแสงได้ กลีบเลี้ยงทาหน้าที่ห่อหุ้ม และป้องกันอันตรายให้แก่ส่วนของดอกที่อยู่ภายใน เมื่อดอก บานแล้วส่วนของกลีบเลี้ยงอาจหมดหน้าที่แล้วหลุดร่วงไป วงของกลีบเลี้ยงเรียกว่า แคลิกซ์ (calyx) กลีบเลี้ยงที่ไม่ใช่สีเขียวและทาหน้าที่ล่อแมลงให้มาผสมเกสรได้ เช่นเดียวกับกลีบดอก ใต้กลีบเลี้ยงมีกลีบสี เขียวขนาดเล็กเรียงตัวเป็นวงอยู่ด้วย เรียกว่า ริ้วประดับ (epicalyx) เช่น ในดอกชบา และพู่ระหง 2. กลีบดอก (petal) เป็นส่วนที่อยู่ถัดจากกลีบเลี้ยงเข้ามากลีบดอกมักมีสีสันสวยงาม เนื่องจากมีรงควัตถุ เช่น แอนโทไซยานินละลายอยู่ใน sap vacuole ทาให้เกิดสีแดง สีน้าเงิน ม่วง นอกจากนี้ ยังมีสารแอนโทแซนทิน ละลายอยู่ด้วยทาให้เกิดสีต่างๆ ได้หลายสี ในดอกไม้สีขาว เนื่องจากในแซพแวคิวโอล ไม่มีรงควัตถุชนิดใดบรรจุอยู่ หรือมีแอนโทแซนทินก็ได้ สารสีเหลืองหรือสีแดงเกิดจากรงควัตถุชนิด แคโรที นอยด์ กลีบดอกบางชนิดสามารถเปลี่ยนสีได้ เช่นดอกพุดตาน บางชนิดมีกลิ่นหอมเนื่องจากมีต่อมกลิ่นอยู่ ด้วยและที่โคนกลีบดอกมักมีต่อมน้าหวาน ช่วยในการล่อแมลง วงกลีบดอกเรียกว่า คอโรลา (corolla) ถ้าหาก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกเหมือนกันจนแยกไม่ออกจะเรียกรวมกันว่า วงกลีบรวม(perianth) ได้แก่ จาปี จาปา บัวหลวง ทิวลิป เป็นต้น 3. เกสรตัวผู้ (stamen) เป็นส่วนที่จาเป็นต่อการสืบพันธุ์ ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศ
  • 11. ผู้ เกสรตัวผู้มักมีหลายอันและเรียงตัวเป็นวงเรียกว่า แอนดรีเซียม (androecium)เกสรตัวผู้ส่วนใหญ่แยกกัน เป็นอันๆ แต่บางชนิดอาจติดกัน หรืออาจติดส่วนอื่นของดอก เช่น เกสรตัวผู้เชื่อมติดกับกลีบดอก พบใน ดอกเข็ม ดอกลาโพง หรือเกสรตัวผู้ติดกับเกสรตัวเมีย พบในดอกรัก ดอกเทียน เกสรตัวผู้แต่ละอัน ประกอบด้วย 2 ส่วน 3.1 ก้านชูเกสรตัวผู้ (filament) เป็นส่วนที่มีลักษณะเป็นเส้นอาจรวมกันเป็นกลุ่ม หรือแยกกันอาจยาวหรือสั้นซึ่งก็แล้วแต่ชนิดของพืช ทาหน้าที่ชูอักเกสรตัวผู้หรืออับเรณู 3.2 อับเกสรตัวผู้ (anther) มีลักษณะเป็นแทงกลมยาวหรือค่อนข้าง กลม 2 พู ภายในแบ่งเป็นถุงเล็กๆ 4 ถุง เรียกว่า ถุงเรณู(pollen sac) บรรจุละออง เรณู (pollen grain)จานวนมากมีลักษณะเป็นเม็ดเล็กๆ สีเหลืองๆ ผิวของละอองเรณูแต่ ละชนิดจะแตกต่างกัน ละอองเรณูทาหน้าที่ เป็นเซลล์สืบพันธุเพศผู้ เมื่อดอกเจริญเต็มที่ แล้วถุงละอองเรณูจะแตกออก ละอองเรณูก็จะปลิวออกมา เกสรตัวผู้ในพืชแต่ละชนิดมี จานวนมากน้อยไม่เท่ากัน ในพืชโบราณหรือพืชชั้นต่าเกสรตัวผู้มักมีจานวนมาก ส่วนพืชที่มี วิวัฒนาการสูงจานวนเกสรตัวผู้จะลดน้อยลง 4. เกสรตัวเมีย (pistil) เป็นชั้นที่อยู่ในสุดเปลี่ยนแปลงมาจากใบเพื่อทาหน้าที่สร้างเซลล์ สืบพันธุ์เพศเมีย จึงเป็นอวัยวะสาคัญต่อการสืบพันธุ์ ในหนึ่งดอกเกสรตัวเมียอาจมีอันเดียวหรือหลาย อัน เรียงตัวเป็นวงของเกสรตัวเมีย เรียกว่า จิเนเซียม (gynaecium) เกสรตัวเมียประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 4.1 ยอดเกสรตัวเมีย (stigma) เป็นส่วนที่พองออกมีลักษณะเป็นตุ่มแผ่แบนเป็น แฉก เป็นพูและมีน้าเหนียวๆ หรือขนคอยจับละอองเรณูที่ลอยมาติด 4.2 ก้านชูเกสรตัวเมีย (style) เป็นส่วนที่มีลักษณะเป็นเส้นหรือก้านเล็กๆ อาจยาว หรือสั้นเชื่อมต่อจากยอดเกสรตัวเมียลงสู่รังไข่ เป็นทางให้เสปิร์มนิวเคลียสเข้าผสมกับไข่ 4.3 รังไข่ (ovary) เป็นส่วนที่พองออกมาลักษณะเป็นกระเปาะยึดกับฐานรองดอก หรืออาจฝังอยู่ในฐานรองดอกภายในมีลักษณะเป็นห้องๆ เรียกว่า โลคุล (locule) ซึ่งภายใน มีออวุล(ovule) บรรจุอยู่แต่ละหน่วยของเกสรตัวเมียที่มีโลคุลที่ห่อหุ้มไข่ไว้ภายในเรียกว่า คาร์เพล (carpel) ใน 1 โคคุล อาจมี 1 คาร์เพล หรือหลายคาร์เพลก็ได้แล้วแต่ชนิดของ ดอกไม้ เมื่อเกิดการปฏิสนธิแล้วรังไข่จะเจริญเป็นผล ส่วนออวุลเจริญเป็นเมล็ด
  • 12. นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ ความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความ แตกต่างของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอกในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้ เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอกในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ สืบพันธุ์พืชดอก การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ สืบพันธุ์พืชดอกในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของ อวัยวะสืบพันธุ์พืชดอกในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm 9.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก: www.google.com 9.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์พืชดอก: www.youtube.com 9.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะสืบพันธุ์ พืชดอก 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 13. ญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) ครูผู้สอน
  • 14. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสืบพันธุ์ของพืชดอก (Flowering Plant Reproduction) เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก (1) เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก เขียน สรุปขั้นตอนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช ดอก อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปขั้นตอนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียในการสืบพันธุ์แบบ อาศัยเพศของพืชดอกได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้ อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ >>> เซลล์สืบพันธุ์ของพืชดอกมี 2 ชนิด คือ 1. เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย 2. เซลล์สืบพันธุ์ทั้งสองมีขั้นตอนในการแบ่งเซลล์ >>> เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้จะเกิดขึ้นภายในอับเรณู (anther) โดยมีไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์ (microspore mother cell) แบ่งเซลล์แบบไมโอซีสได้ 4 ไมโครสปอร์ (microspore) แต่ละเซลล์มี โครโมโซมเท่ากันคือ n >>> ไมโครสปอร์ (microspore) แต่ละเซลล์จะแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสได้ 2 นิวเคลียส คือ 1. เจเนอเรทีฟนิวเคลียส (generative nucleus) 2. ทิวบ์นิวเคลียส (tube nucleus) เรียกเซลล์ในระยะนี้ว่าละอองเรณู (pollen grain)หรือแกมีโทไฟต์เพศผู้ (male gametophyte) >>> เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย เกิดขึ้นภายในรังไข่ ซึ่งภายในรังไข่อาจมีหนึ่งออวุล (ovule) หรือหลาย ออวุล ภายในออวุลมีหลายเซลล์ แต่มีหนึ่งเซลล์ที่ใหญ่กว่าเซลล์อื่นๆ เรียกว่า เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์ (megaspore mother cell) มีจานวนโครโมโซมเป็น 2n
  • 15. >>> เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์ (megaspore mother cell) จากนั้นจะแบ่งเซล์แบบไมโอซิสได้ 4 เซลล์ สลายไป 3 เซลล์ เหลือเพียง 1 เซลล์ เรียกว่า เมกะสปอร์ (megaspore) >>> นิวเคลียสของเมกะสปอร์จะแบ่งแบบไมโทซีส 3 ครั้ง ได้ 8 นิวเคลียส จัดเรียงตัวเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. แอนติโพแดล (antipodels cell) 2. เซลล์ไข่ (egg cell) และ ซินเนอน์จิดส์ (synergids) 3. โพลาร์นิวคลีไอ (polar nuclei cell) เมกะสปอร์ในระยะนี้เรียกชื่อใหม่ว่า ถุงเอ็มบริโอ (embryo sac)หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย (female gametophyte) 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช ดอก ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปขั้นตอนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกต่อ กระบวนการดารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก
  • 16. 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > โครงสร้างของดอกเหมาะสมต่อการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกอย่างไร > เราสามารถแบ่งขั้นคอนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกออกได้เป็นกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง > ถ้าพืชดอกไม่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแล้วจะส่งผลต่อความอยู่รอดของพืชอย่างไรบ้าง ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก มีความแตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไรในพืชที่มีถิ่นที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมที่มีความแตกต่างกัน นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น การปรับตัวของโครงสร้างใดบ้างที่ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก (1)” ว่า >>> เซลล์สืบพันธุ์ของพืชดอกมี 2 ชนิด คือ เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย เซลล์ สืบพันธุ์ทั้งสองมีขั้นตอนในการแบ่งเซลล์ >>> เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้จะเกิดขึ้นภายในอับเรณู (anther) โดยมีไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์ (microspore mother cell) แบ่งเซลล์แบบไมโอซีสได้ 4 ไมโครสปอร์ (microspore) แต่ละเซลล์มี โครโมโซมเท่ากันคือ n หลังจากนั้นนิวเคลียสของแต่ละเซลล์จะแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสได้ 2 นิวเคลียส คือ เจ เนอเรทีฟนิวเคลียส (generative nucleus) และ ทิวบ์นิวเคลียส (tube nucleus) เรียกเซลล์ในระยะนี้ ว่า ละอองเรณู (pollen grain) หรือ แกมีโทไฟต์เพศผู้ (male gametophyte) เมื่อละอองเรณูแก่เต็มที่ อับเรณูจะแตกออกทาให้ละอองเรณูกระจายออกไปพร้อมที่จะผสมพันธุ์ต่อไป >>> ลักษณะของละอองเรณูมีความแตกต่างกันทั้งขนาด รูปร่าง ลักษณะ และ
  • 17. จานวน เนื่องจากพืชดอกมีวิวัฒนาการยาวนานมาก จึงมีความหลากหลาย บางชนิดผิวขรุขระ บางชนิดมีหนาม หรือปุ่มยื่นออกมา มีความเหนียวขึ้น เมื่อตกบนยอดเกสรเพศเมียแล้วจะไม่ปลิวไปตามลม ซึ่งเหมาะสมต่อ การถ่ายละอองเรณูไปบนยอดเกสรเพศเมีย จานวนละอองเรณูส่วนใหญ่มีจานวนมากกว่าเซลล์ไข่ มาก เนื่องจากมีโอกาสน้อยที่จะตกบนยอดเกสรเพศเมียพอดี เพราะบางชนิดต้องถ่ายละอองเรณูข้ามดอก และข้ามต้นซึ่งอยู่ในระยะไกลๆ >>> เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย เกิดขึ้นภายในรังไข่ ซึ่งภายในรังไข่อาจมีหนึ่งออวุล (ovule) หรือหลายออวุล ภายในออวุลมีหลายเซลล์ แต่มีหนึ่งเซลล์ที่ใหญ่กว่าเซลล์อื่นๆ เรียกว่า เมกะ สปอร์มาเทอร์เซลล์ (megaspore mother cell)ย มีจานวนโครโมโซมเป็น 2n จากนั้นจะแบ่งเซล์แบบ ไมโอซิสได้ 4 เซลล์ สลายไป 3 เซลล์ เหลือเพียง 1 เซลล์ เรียกว่า เมกะสปอร์ (megaspore) จากนั้น นิวเคลียสของเมกะสปอร์จะแบ่งแบบไมโทซีส 3 ครั้ง ได้ 8 นิวเคลียส จัดเรียงตัวเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มที่อยู่ตรงข้ามกับไมโครไพล์ มี 3 เซลล์ 3 นิวเคลียส มีเยื่อหุ้มเป็น 3 เซลล์ เรียกว่า แอนติโพแดล (antipodels cell) 2. กลุ่มที่อยู่ด้านไมโครไพล์ มี 3 เซลล์ 3 นิวเคลียส นิวเคลียสอันกลางมีขนาด ใหญ่ เรียกว่า เซลล์ไข่ (egg cell) อีก 2 อันข้างๆ เรียกว่า ซินเนอน์จิดส์ (synergids) 3. กลุ่มที่อยู่กลางเซลล์มี 2 นิวเคลียส แต่มีเยื่อหุ้มรวมกันกลายเป็น 1 เซลล์ เรียกว่า โพลาร์นิวคลี ไอ (polar nuclei cell) ดังนั้น ภายในภายเมกะสปอร์จึงประกอบด้วย 7 เซลล์ ที่มี 8 นิวเคลียส เมกะสปอร์ในระยะนี้ เรียกชื่อใหม่ว่า ถุงเอ็มบริโอ (embryo sac) หรือ แกมีโทไฟต์เพศเมีย (female gametophyte) นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ ความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละ บริเวณของใบพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชในการศึกษาชีววิทยา ในระดับสูงต่อไป
  • 18. ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืช การสรุปหน้าที่กระบวนการทางานและโครงสร้างสาคัญแต่ละบริเวณของใบพืชอีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหา บทเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของใบพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm 9.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก: www.google.com 9.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก: www.youtube.com 9.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) ครูผู้สอน
  • 19. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสืบพันธุ์ของพืชดอก (Flowering Plant Reproduction) เรื่อง การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก (2) เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก เขียน สรุปขั้นตอนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช ดอก อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปขั้นตอนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียในการสืบพันธุ์แบบ อาศัยเพศของพืชดอกได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้ อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ >>> การปฏิสนธิของพืชดอก เมื่อ ละอองเรณู ตกลงสู่ ยอดเกสรตัวเมีย ละอองเรณูจะงอกท่อยาว เรียกว่า พอลเลนทิวบ์ (Pollen tube) ลงสู่ก้านเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียสจะเคลื่อนตัวไปตามท่อ ผ่านทาง รู ไมโครไพล์ (Micropyle) ของออวุล >>> เจเนเรทีฟนิวเคลียส (Generative nucleus) จะแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซีสได้สเปิร์มนิวเคลียส (Sperm nucleus) 2 ตัว 1. ผสมกัน นิวเคลียสของไข่ (Egg cell) ได้ไซโกต (2n) ซึ่งจะเจริญเป็นเอมบริโอต่อไป 2. ผสมกับโพลาร์นิวคลีไอ (Polar nuclei) เจริญเป็นเอนโดสเปิร์ม (3n) ซึ่งเป็นอาหารสาหรับเลี้ยง เอมบริโอ >>> การผสมซึ่งเกิดจากการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (Double Fertilization) ซึ่งพบ เฉพาะใน พืชดอกเท่านั้น >>> หลังจากปฏิสนธิแล้ว 1. รังไข่ (ovary) เจริญเป็น ผล 2. ผนังรังไข่ (ovary wall ) เจริญเป็น เปลือกและเนื้อของผลไม้ 3. ออวุล (ovule ) เจริญเป็น เมล็ด
  • 20. 4. ไข่ (egg ) เจริญเป็น ต้นอ่อนอยู่ภายในเมล็ด 5. โพลาร์นิวเคลียส (polar nucleus ) เจริญเป็น เอนโดสเปิร์ม 6. เยื่อหุ้มออวุล (integument ) เจริญเป็น เปลือกหุ้มเมล็ด สาหรับส่วนประกอบอื่น ๆ ของดอกจะเหี่ยวแห้งและสลายตัวไป >>> การปฏิสนธิซ้อนของพืชดอก มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นการสร้างอาหารให้แก่ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น ผลไม้ที่เราใช้รับประทานก็เกิดมาจากการปฏิสนธิ อาหารพวกจ้าว ข้าวโพด ก็เป็นส่วนของ เอนโดสเปิร์ม อาหารในเมล็ดถั่วหลายชนิดก็เป็นอาหารที่สะสมอยู่ในใบเลี้ยงของเอมบริโอของถั่ว 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย รูปแบบและความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช ดอก ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปขั้นตอนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกต่อ กระบวนการดารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > โครงสร้างของดอกเหมาะสมต่อการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกอย่างไร