SlideShare a Scribd company logo
ชุดการเรียน
ชีวิตกับสิ่งแวดลอม
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                           นายสมศักดิ์ สวัสล้ํา
  โรงเรียนปะคําพิทยาคม อําเภอปะคํา จังหวัดบุรีรัมย
     สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สารบัญ

เรื่อง                                         หนา
คํานํา                                          ก
สารบัญ                                          ข
คําแนะนําสําหรับครู                             1
ตัวชี้วัด                                       2
จุดประสงคการเรียนรู                           2
คําชี้แจงสําหรับครู                             3
คําชี้แจงสําหรับนักเรียน                        3
แบบทดสอบกอนเรียน                               4
กระดาษคําตอบ ชุดการเรียนชีวิตกับสิ่งแวดลอม     7
บัตรคําสัง ่                                    8
บัตรเนือหา
         ้                                      9
บัตรกิจกรรมที่ 2                               14
แบบฝกหัดที่ 3                                 18
แบบทดสอบหลังเรียน                              20
บัตรเฉลย แบบทดสอบกอนเรียน                     23
แนวคําตอบ แบบฝกหัดที่ 3                       24
บัตรเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน                     26
บรรณานุกรม                                     27
คํานํา


          ชุดการเรียนชีวิตกับสิ่งแวดลอม เลม 3 เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ เลมนี้
จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการจัดกิจกรรมเรียนการสอน รายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร 6 ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 3 ใหนักเรียนไดศึกษาคนควา มีความรูความเขาใจในเรื่องการถายทอดพลังงานใน
ระบบนิเวศ ซึ่งจะชวยใหนักเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห สังเคราะห การคํานวณ
ทักษะกระบวนการกลุมและยังสามารถศึกษาคนควาไดดวยตนเอง
                       
          ขอขอบคุณคณะผูเชียวชาญซึ่งประกอบดวย นายพเนาว นาคพงษ ผูอํานวยการเชี่ยวชาญ
                             
โรงเรียนอนุบาลโนนดินแดง นายบรรจง ประสงคทรัพย ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนละหาน
ทรายรัชดาภิเษก             นางบุญเรือง อัมพาพัฒนะนันท ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนละหาน
ทรายรัชดาภิเษก และนางวันดี ผมมา ครูชํานาญการพิเศษ โรเรียนอนุบาลโนนดินแดง ที่ให
คําปรึกษา แนะนํา แกไขปรับปรุงจนทําใหชุดการเรียน เลมนี้เสร็จสมบูรณมีคุณคามากยิ่งขึ้น
          ขอขอบคุณนายวัชราบูรณ บุญชู ผูอํานวยการโรงเรียนปะคําพิทยาคม ตลอดจนคณะครู
กลุมสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตรทกทานที่ใหการสนับสนุน สงเสริมและเปนกําลังใจจนทําใหการ
                                       ุ
ทํางานลุลวงไปดวยดี
          หวังเปนอยางยิงวาชุดการเรียนชีวิตกับสิงแวดลอม เลมนี้จะเปนประโยชนในการจัดกิจกรรม
                         ่                        ่
การเรียนรู ทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น เปนสื่อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอํานวย
ประโยชนตอการเรียนการสอนใหบรรลุตามวัตถุประสงคของหลักสูตรได



                                                                                สมศักดิ์ สวัสล้ํา
1


                                  คําแนะนําสําหรับครู

1. ใชชุดการเรียนฉบับนี้ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 3 ในรายวิชา ว23102
    วิทยาศาสตร 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
2. ใชชุดการเรียนฉบับนี้เสริมสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนดี และชวยนักเรียนที่เรียนเขาใจชาให
    ศึกษาและทบทวนจนเขาใจ
3. ชุดการเรียนฉบับนี้ใชเปนคูมือการศึกษาคนควาดวยตนเองของนักเรียนทังในเวลาเรียนและ
                                                                            ้
    นอกเวลาเรียน
4. ศึกษาชุดการเรียนในแตละกรอบตังแตตัวชี้วัด จุดประสงคการเรียนรู แบบทดสอบกอน
                                      ้
    เรียนและหลังเรียน กิจกรรมในแตละกรอบใหเขาใจกอน
5. ศึกษากิจกรรมในชุดการเรียนแลวใหคําปรึกษาและคอยแนะนําชวยเหลือนักเรียนอยาง
    ใกลชิด
6. ชี้แจงใหนักเรียนอานคําชี้แจงสําหรับนักเรียนและบัตรคําสั่ง แลวปฏิบัติตาม
7. กรณีนักเรียนที่ขาดเรียน ใหเตรียมชุดการเรียนไวสําหรับใหศึกษานอกเวลา
8. ปลูกฝงใหนักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค คือ รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสจริตมีุ
    วินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ
    และมีความซื่อสัตยตอตนเอง โดยพยายามศึกษาดวยตนเอง ไมดูเฉลยกอนตอบคําถาม
9. เนนย้ําใหนักเรียนทราบวา ใหนักเรียนพยายามทํากิจกรรมตางๆตามบทบาทและเต็มความ
    สารถของตนเอง เพื่อนักเรียนจะไดเปนผูที่มสมรรถนะสําคัญครบทั้ง 5 ประการ ไดแก
                                                  ี
             1) ความสามารถในการสื่อสาร
             2) ความสามารถในการคิด
             3) ความสามารถในการแกปญหา     
             4) ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
             5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
10. ปลูกฝงใหนักเรียนมีพรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา ตอเพื่อนนักเรียนดวยกันโดยนักเรียนที่เกง
    กวาคอยชวยเหลือนักเรียนที่เรียนชา มุทิตาหรือพลอยยินดีตอกันเมือประสบความสําเร็จ
                                                                      ่
    และอุเบกขาหากความพยายามนั้นไมเปนอยางที่ตองการ
2


สาระการเรียนรู

สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม

มาตรฐานการเรียนรู

มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธระหวางสิงมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา
                       ่
ศาสตรสอสารสิงทีเ่ รียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
       ื่     ่

ตัวชี้วัด

      วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธของการถายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปของโซอาหาร
และสายใยอาหาร

จุดประสงคการเรียนรู
            ดานความรู
               1. อธิบายความหมายของโซอาหาร สายใยอาหาร และพีระมิดการถายทอดพลังงานได
               2. ระบุผูผลิต ผูบริโภค และลําดับผูบริโภคในสายใยอาหารได
               3. อธิบายพีระมิดถายทอดพลังงานจากโซอาหารได

            ดานทักษะกระบวนการ
               1. กระบวนการกลุม
               2. การนําเสนอ

            คุณลักษณะอันพึงประสงค
               1. มีวินัย
               2. มุงมั่นในการทํางาน
               3. มีจิตสาธารณะ
3


                    ชุดการเรียนชีวิตกับสิ่งแวดลอม เลม 3
                   เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ

รายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร 6          ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3       เวลา 120 นาที

คําชี้แจงสําหรับครู
  1. เตรียมชุดการเรียนชีวิตกับสิงแวดลอม เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
                                 ่
     เทากับจํานวนนักเรียน
  2. เตรียมกระดาษแผนเล็ก 2 สี เทากับจํานวนนักเรียน
  3. เตรียมกระดาษใหญเทากับจํานวนกลุมนักเรียน
                                        
  4. เตรียมแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนเทากับจํานวนนักเรียน
  5. เตรียมแบบประเมินนักเรียน
  6. แบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 4 คน โดยแบงคละความสามารถ หากมีนักเรียนขาดหรือ
     เกิน 4 คนตอกลุมใหแจงรายละเอียดการทํากิจกรรมเพิ่มเติม


คําชี้แจงสําหรับนักเรียน
    1. นักเรียนนังเปนกลุมทีจัดไวแลวทําแบบทดสอบกอนเรียน
                 ่           ่
    2. นักเรียนศึกษาบัตรคําสัง แลวปฏิบัติตามบัตรเนือหา บัตรกิจกรรม แบบฝกหัด
                               ่                    ้
       และบัตรเฉลย โดยใชกระบวนการเรียนแบบรวมมือ
    3. เมื่อศึกษาเรียบรอยแลวใหตรวจสอบคําตอบในบัตรเฉลย แลวใหเพือนตรวจใหคะแนน
                                                                   ่
    4. เมื่อศึกษาครบทุกหัวขอใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน พรอมตรวจใหคะแนนตาม
       บัตรเฉลย เพื่อนําคะแนนที่ไดมาเฉลี่ยเปนคะแนนกลุม
4


                              แบบทดสอบกอนเรียน
                     เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
   รายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3                  เวลา 10 นาที

 ตัวชี้วัด

      วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธของการถายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปของสายใย
 อาหารและโซอาหาร

 จุดประสงคการเรียนรู

         1. อธิบายความหมายของโซอาหาร สายใยอาหาร และพีระมิดการถายทอดพลังงานได
         2. ระบุผผลิต ผูบริโภค และลําดับผูบริโภคในสายใยอาหารได
                 ู                      
         3. อธิบายพีระมิดถายทอดพลังงานจากโซอาหารได

  คําชี้แจง     เลือกคําตอบที่ถูกทีสุดเพียงขอเดียว แลวเขียนลงในกระดาษคําตอบ
                                   ่

1. ขอใดกลาวถูกตอง
   ก. หวงโซอาหารยิ่งซับซอนหลายชวงจะยิ่งมีประสิทธิภาพในการสรางผลผลิตออกมาไดมาก
   ข. หวงโซอาหารสั้นจะมีประสิทธิภาพในการสรางผลผลิตออกมาไดมาก
   ค. หวงโซอาหารยิ่งสั้นจะมีประสิทธิภาพในการสรางผลผลิตต่ํากวาหวงโซอาหารชนิดยาวและ
       ซับซอน
   ง. สัตวที่กินสัตวจะใชพลังงานงานไดเทากับสัตวที่กินพืช

2. ผูผลิตจะตองมีคุณสมบัติทสําคัญทีสุด คือขอใด
                            ี่        ่
   ก. สามารถสรางอาหารเองได
   ข. ตองหาเลี้ยงตัวเองจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
   ค. ทําใหผูบริโภคสลายผุพงกลับไปเปนอินทรีสาร
                               ั
   ง. สามารถเปลี่ยนพลังงานศักยใหเปนพลังงานจลน
5


3. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับสายใยอาหาร
  ก. ความสัมพันธระหวางสิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
                            ่
  ข. ความสัมพันธระหวางหวงโซอาหารหลาย ๆ หวงโซ
  ค. การพึ่งพาอาศัยกันระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิงแวดลอม
                                              ่
  ง. การกินตอกันของสิงมีชีวิตในลักษณะเปนเสนตรงเสนเดียว
                        ่

4. พิจารณาแผนผังตอไปนี้ สิ่งมีชีวิตชนิดใดเปนทั้งผูลา และ เหยื่อ
  แพลงกตอนพืช           ไรน้ํา           ตัวออนแมลงปอ                ปลา       นกกระยาง
ก. ไรน้ํา ปลา                                                ข. นกกระยาง ตัวออนแมลงปอ
ค. ไรน้ํา นกกระยาง                                           ง. ตัวออนแมลงปอ ปลา

5.          ผูผลิต            ผูบริโภคอันดับ 1             ผูบริโภคอันดับ 2

    ถาผูบริโภคอันดับ 2 มีพลังงานจากการบริโภคเทากับ 5 กิโลแคลอรี ผูผลิตจะมีพลังงานกี่
                                                                     
กิโลแคลออรี
    ก. 5 กิโลแคลออรี                            ข. 50 กิโลแคลออรี
    ค. 500 กิโลแคลออรี                          ง. 1,000 กิโลแคลออรี

6. จากแผนภาพสายใยอาหาร สัตวชนิดใดเปนผูบริโภคอันดับที่ 2
                                        




     ก. งูและนกอินทรีย                            ข. จิงโจและหอยทาก
     ค. กระตายและตั๊กแตน                          ง. หอยทากและจิงเหลน
                                                                  ้
6

   7. ตามภาพนี้ ถาหมายเลข 1 เปนพืชสีเขียว หมายเลข 3 ควรจะเปนอะไร




   ก. ผูผลิต                                   ข. ที่กินพืช
   ค. ผูบริโภคที่กินสัตว                      ง. ผูบริโภคที่กินทั้งสัตวและพืชผูบริโภค

8. สิ่งที่ถายทอดในโซอาหารคืออะไร
   ก. อาหาร                                     ข. น้ํา
   ค. พลังงาน                                   ง. ความรอน

9. ขอใดกลาวถูกตอง ถาแมลงเปนอาหารที่นกชอบมากและถูกจับกินจนสูญพันธุไปจากระบบ
นิเวศแหงนี้




   ก.   ประชากรกบลดลงจนอาจสูญพันธุไดเพราะขาดอาหาร
   ข.   ประชากรพืชลดลงตามประชากรของแมลงเพื่อรักษาสมดุลนิเวศ
   ค.   ประชากรเหยี่ยวเพิ่มขึ้นเพราะมีอาหารปริมาณมากขึ้น
   ง.   ประชากรหนอนอาจสูญพันธุไดเพราะปริมาณอาหารลดลง

10. เหตุใดในหวงโซอาหารจึงตองมีการโยงดวยลูกศร
   ก. เพื่อแสดงทิศทางการถายทอดพลังงาน         ข. เพื่อแสดงตําแหนงของเหยื่อ
   ค. เพื่อแสดงลักษณะของผูลาและเหยื่อ        ง. เพื่อแสดงความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต
7


               กระดาษคําตอบ
ชุดการเรียนชีวิตกับสิ่งแวดลอม เลม 3

เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ



        ทดสอบ                  ทดสอบ
        ก่อนเรี ยน             หลังเรี ยน
  ข้อ            ตอบ     ข้อ          ตอบ
   1                     1
   2                     2
   3                     3
   4                     4
   5                     5
   6                     6
   7                     7
   8                     8
   9                     9
  10                     10
  ได้                  ได้
  เต็ม 10 คะแนน          เต็ม 10 คะแนน

 ลงชือ………………………………ผูตรวจ ้
      (……………………………..)
 วันที…….เดือน……………..พ.ศ……….
8


                บัตรคําสั่ง ชุดการเรียนชีวิตกับสิ่งแวดลอม เลม 3
                    เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
1. นักเรียนสมาชิกแตละกลุมแบงหนาที่รบผิดชอบชัดเจน ดังนี้
                                          ั
    คุณอํานวย มีหนาที่รับผิดชอบดานวัสดุอุปกรณ รับ-สง รวมทั้งดูแลความเรียบรอย
    คุณประสาน มีหนาที่ดูแลใหสมาชิกทุกคนรวมมือกันทํางานใหลลวงตามเปาหมายและทันเวลา
                                                                     ุ
       และสอบถามครูถามีปญหา
    คุณจัดการความรู มีหนาที่วางแผนสํารวจตรวจสอบ สืบคนขอมูลและสรุปองคความรู
    คุณเสนอ มีหนาทีประสานงานกับคุณจัดการความรู เพื่อออกแบบการนําเสนอและรายงาน
                           ่
       ผลการเรียนรู
2. นักเรียนแตละกลุมศึกษาเนือหาเกี่ยวกับการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
                                ้
3. นักเรียนแตละกลุมศึกษาทํากิจกรรมที่ 2 เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
   บันทึกขอมูล อภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม ตอบคําถามทายกิจกรรม แลวเขียนลงใน
   กระดาษแผนใหญ
4. นักเรียนนักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลการทํากิจกรรมโดยนําผลงานไปติดผนังบริเวณที่กําหนด
   แลวนักเรียนแตละกลุมเดินเวียนดูผลงานของเพือนกลุมอื่นอยางนอย 2 กลุมใชเวลากลุมละ 5
                                                   ่     
   นาที ขณะเดินชมผลงานใหแตละกลุมปฏิบัติดังนี้ (Gallery Walk)
                                        
         เขียนคําถามหรือขอสงสัยบนผลงานที่ดู
         ทําเครื่องหมาย  หรือ  หรือ  เมื่อนักเรียนเห็นดวย หรือไมเห็นดวย หรือสงสัย
              ตามลําดับ
5. นักเรียนแตละกลุมเดินกลับมาทีผลงานของกลุมตนเอง จากนั้นเจาของผลงานตอบคําถามที่เพื่อน
                                     ่           
   ถามไว และสรุปใหเพื่อนคนอื่นๆฟงทั้งชั้นเรียน นักเรียนในชั้นรวมแสดงความคิดเห็น
6. นักเรียนทําแบบฝกหัดที่ 3 โดยกลวิธีคิดเดี่ยว คิดคู( Think Pair Share) แลวจึงระดมความคิด
   เปนกลุมเพื่อใหไดคําตอบที่ถูกตอง
7. นักเรียนแตละกลุมตรวจคําตอบจากบัตรเฉลย พรอมทั้งบันทึกคะแนนที่ไดลงในชองคะแนน โดย
   มีคะแนนเต็ม 10
8. เกณฑการใหคะแนน แบบฝกหัดที่ 3 เปนดังนี้
         1) ถาตอบถูกไดครบทุกสวน ไดขอละ 1 คะแนน
         2) ถาตอบถูกบางสวนไดขอละ 0.5 คะแนน
         3) ถาตอบผิดไมไดคะแนน
9. ประเมินโดยใชแบบทดสอบ ดังนี้
         1) ขอที่ตอบถูกตองให 1 คะแนน
         2) เกณฑการผานกิจกรรม 7 คะแนน
         3) คะแนนแตละคนเทากับคะแนนเฉลี่ยของกลุม
10.กลุมที่ไดคะแนนเฉลี่ยสูงสุดไดรับรางวัลพิเศษ
9


                                      บัตรเนื้อหา
                       เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
รายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร 6               ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3               เวลา 40 นาที

 จุดประสงคการเรียนรู

        1. อธิบายความหมายของโซอาหาร สายใยอาหาร และพีระมิดการถายทอดพลังงานได
        2. ระบุผผลิต ผูบริโภค และลําดับผูบริโภคในสายใยอาหารได
                ู                      
        3. อธิบายพีระมิดถายทอดพลังงานจากโซอาหารได

 คําชี้แจง
         นักเรียนศึกษารายละเอียดตามบัตรเนื้อหา เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
ตอไปนี้ แลวทํากิจกรรมที่ 2 เรื่องการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ และตอบคําถามใน
แบบฝกหัดที่ 3

 สาระการเรียนรู

                             การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ

การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
             สิ่งมีชีวิตที่มบทบาทเปนผูผลิต (producer) จะสามารถดูดกลืนพลังงานจากแสงอาทิตยมาใช
                            ี            
ในกระบวนการสังเคราะหแสง เพื่อสรางอาหารได สวนสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทเปนผูบริโภค     
(consumer) จะไมสามารถสรางอาหารเองได จึงตองบริโภคสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นเพื่อนําเอาพลังงานจาก
อาหารทีบริโภคมาใชในการดํารงชีวิตการบริโภคที่ตอเนื่องกันเปนทอดๆ นี้ ทําใหเกิดการถายทอด
           ่
พลังงานระหวางสิงมีชีวิต ที่เรียกวา โซอาหาร (food chain) โดยสิ่งมีชีวิตในโซอาหารอาจเกี่ยวพัน
                        ่
กับโซอาหารอื่นไดมากกวา 1 โซอาหาร ทําใหเกิดความสัมพันธที่ซับซอนเรียกวา สายใยอาหาร
(food web)
โซอาหาร (food chain)
             พืชและสัตวจําเปนตองไดรับพลังงานเพื่อใชในการดํารงชีวิต โดยพืชจะไดรับพลังงานจาก
ดวงอาทิตย โดยใชรงควัตถุสีเขียวที่เรียกวา คลอโรฟลล (chlorophyll) เปนตัวดูดกลืนพลังงานแสง
เพื่อนํามาใชในการสรางอาหารพืชจึงเปนสิงมีชีวิตอันอับแรงในการถายทอดพลังงานในโซอาหาร
                                                  ่
             สําหรับสัตวเปนสิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถสรางอาหารเองได จําเปนตองไดรบพลังงานจากการ
                                                                                    ั
บริโภคสิงมีชีวิตอื่นเปนอาหาร สัตวจึงถือวาเปนผูบริโภค ซึงเปนออกไดเปน
         ่                                                    ่
10


ผูบริโภคอันดับที่หนึ่ง (primary consumer) หมายถึง ผูบริโภคที่กินผูผลิตเปนอาหาร
         1) ผูบริโภคอับดับที่สอง (secondary consumer) หมายถึง ผูบริโภคทีกินผูบริโภค
                                                                                   ่ 
อันดับที่หนึงเปนอาหาร
            ่
         2) ผูบริโภคอับดับสูงสุด (top consumer) หมายถึง ผูบริโภคที่กินผูบริโภคที่ปลายสุด
                                                                  
ของโซอาหาร ซึ่งไมมีสงมีชีวิตชนิดอื่นมากินตอ โดยอาจเรียกวาผูบริโภคลําดับสุดทาย
                         ิ่




                                       ภาพ 1 แผนผังแสดงโซอาหาร
          (ที่มา : หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ชีวิตกับสิงแวดลอม สิงมีชีวิตกับกระบวนการ
                                                                ่          ่
ดํารงชีวิต. 2548 : 9)

          การถายทอดพลังงานในโซอาหารสูผบริโภคแตละลําดับขั้นจะอยูแคเพียง 10% ของ
                                              ู
พลังงานทีผานเขามา สวนพลังงานอีก 90% จะสูญสลายไปในรูปของพลังงานรูปอื่นๆ เชน
           ่
การหายใจ เหงื่อ เปนตน หรือกลาวไดวาหากผูบริโภคบริโภคพลังงานเขาสูรางกาย 100 กรัม
                                                                               
จะมีเพียง 100 กรัม (10%) เทานั้นที่จะถูกนําไปสรางเปนเนื้อเยื่อ สวนอีก 90% จะสูญสลายไป
          หรือในกรณีอาหารทีสัตวกินเขาไปก็ไมไดเปลี่ยนเปนเนื้อเยื่อทั้งหมด เนื่องจากสวนหนึงจะ
                               ่                                                              ่
ถูกเผาผลาญและเปลี่ยนไปเปนพลังงานเพื่อใชในการเคลื่อนไหวและการทํากิจกรรมตางๆ พลังงาน
บางสวนถูกนําไปในในการรักษาอุณหภูมิของรางกายใหคงที่ และบางสานจะถูกขับถายออกมา มี
อาหารเพียงบางสวนเทานั้นทีจะถูกนําไปใชในการสรางเนื้อเยื่อของรางกาย ซึ่งมวลของเนื้อเยื่อสวนที่
                             ่
ถูกสรางจากอาหารนีเ้ รียกวา มวลชีวภาพ (biomass)
          จากภาพ 1 การกินตอกันเปนทอดๆ หรือการถายทอดพลังงาน โดยพืชใชพลังงานแสง
จากดวงอาทิตยสรางอาหารเพือการเจริญเติบโต ตนขาว คือ ผูผลิต (producer) หนูกินตนขาวเก็บ
                                 ่
สะสมพลังงาน พลังงานถายทอดจากตนขาวมายังหนู หนู คือ ผูบริโภคอันดับทีหนึ่ง (primary
                                                                                   ่
consumer) นกฮูกกินหนูเปนอาหาร นกฮูกเปนผูบริโภคอันดับที่สอง (secondary consumer)
ดังนั้นจึงมีการถายทอดพลังงานจากนกฮูกมาสูหนู หนู คือ ผูบริโภคอันดับสูงสุด (top consumer)
จากขอมูลการกินตอกันเปนทอดๆ ไปเขียนเปนแผนผังตั้งแตตนขาว คือ พืชซึ่งสะสมเปนอาหาร
เริ่มตน แลวเขียนลูกศร (          ) ใหหัวลูกศรชี้ไปยังผูกินหรือผูลาจนถึงงู
11

สายใยอาหาร (food web)
       ในกลุมสิ่งมีชีวิตหนึงๆ โซอาหารไมไดดําเนินไปเพียงโซเดียวเทานั้นแตละโซอาหารอาจมี
                            ่
ความสัมพันธกับโซอาหารอื่นอีก โดยเปนความสัมพันธทสลับซับซอน เชน สิ่งมีชีวิตหนึ่งในโซ
                                                        ี่
อาหารหนึ่ง อาจเปนอาหารของสิงมีชีวิตอีกชนิดหนึ่งในโซอาหารอื่นก็ได เรียกลักษณะโซอาหาร
                                  ่
หลายๆ โซที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกันอยางสลับซับซอนวา สายใยอาหาร (food web)
       สายใยอาหารของกลุมสิ่งมีชีวิตที่มีความสลับซับซอนมาก แสดงวาผูบริโภคมีทางเลือกในการ
                                                                            
กินอาหารไดหลายทาง มีผลทําใหกลุมสิงมีชีวิตนั้นมีความมันคงในการดํารงชีวิตตามไปดวย
                                     ่                    ่




                                   ภาพ 2 แผนผังแสดงสายใยอาหาร

        (ที่มา : หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ชีวิตกับสิงแวดลอม สิงมีชีวิตกับกระบวนการ
                                                              ่          ่
                 ดํารงชีวิต. 2548 : 11)
12


พลังงานในสิ่งมีชีวิต
         การถายทอดพลังงานระหวางสิงมีชีวิตดวยกันนั้น เปนความสัมพันธที่แสดงใหเห็นถึงระดับ
                                      ่
ของพลังงานที่ถูกถายทอดไปใหกับสิ่งมีชีวิตในระดับตอไปของโซอาหาร มักเขียนในรูปพีระมิด และ
เรียกพีระมิดที่แสดงความสัมพันธแบบนี้วา พีระมิดนิเวศ (ecological pyramaid) ถาใชลักษณะ
ของขอมูลเปนเกณฑ สามารถเขียนได 3 แบบ ดังนี้
         1) พีระมิดจํานวน
            พีระมิดจํานวน (pyramid of number) เปนพีระมิดทีบอกจํานวนของสิ่งมีชีวิต ใน
                                                                 ่
แตละขั้นแทนดวยจํานวนตน ตัวหรือเซลลตอหนวยพื้นทีหรือปริมาตร เปนวิธีวัดที่งาย ตัวอยางเชน
                                                      ่

            ขาว                 กระตาย                  งู              เหยี่ยว
        10,000 ตน              1,000 ตัว              10 ตัว             1 ตัว

        แสดงเปนแผนภาพพีระมิดไดดังนี้




                                  ภาพ 4 แผนภาพพีระมิดจํานวน
                  (ที่มา : สําฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.3 เลม 1. มปป : 151)



         2) พีระมิดมวล
             พีระมิดมวล (pyramid of mass) เปนพีระมิดที่แสดงปริมาณของสิงมีชีวิตดวยมวล
                                                                       ่
หรือน้ําหนักตอหนวยพื้นที่ หรือหนวยปริมาตร ตัวอยางเชน

       หญา                ตั๊กแตน                 แมงมุม                    นก
     800 g/m2             37 g/m2                  11 g/m2                1.5 g/m2
13

       แสดงเปนแผนภาพไดดังนี้




                                  ภาพ 5 แผนภาพพีระมิดมวล
                 (ที่มา : สําฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.3 เลม 1. มปป : 152)


       3) พีระมิดพลังงาน
           พีระมิดพลังงาน (pyramid of energy) เปนพีระมิดที่แสดงอัตราการถายทอด
พลังงานในหนวยตอพื้นที่ (ปริมาตร) ตอเวลา เชน กิโลแคลรี/ตารางเมตร/ป เปนพีระมิดที่มีฐาน
กวาง กลาวคือ ผูผลิตจะมีมากทีสุด และแคบลงตามลําดับของผูบริโภค โดยผูบริโภคอันดับสูงสุด
                                ่                            
จะแคบมากที่สุด ตัวอยางเชน

       ตนไม             เพลี้ย                แมลงเตาทอง                นก
   10,000 kcal         1,000 kcal               100 kcal                 10 kcal

       แสดงเปนแผนภาพพีระมิดไดดังนี้




                                 ภาพ 6 แผนภาพพีระมิดพลังงาน
                 (ที่มา : สําฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.3 เลม 1. มปป : 151)
14


                              บัตรกิจกรรมที่ 2
                  เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
    รายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา 40 นาที

จุดประสงคการเรียนรู
       1. เขียนสายใยอาหารจากสถานการณที่กําหนดใหได
       2. อธิบายวิธีเขียนสายใยอาหารได
       3. บอกความหมายของสายใยอาหารได
       4. ระบบผูผลิต ผูบริโภค และลําดับผูบริโภคในสายใยอาหารได

เวลาที่ใช 30 นาที

คําชี้แจง
         1. นักเรียนสังเกตภาพสิงมีชีวิตทั้ง 12 ชนิด และพิจารณาวาสิ่งมีชีวิตแตละชนิดมี
                               ่
            ความสัมพันธกันอยางไร
         2. เขียนสายใยอาหารที่แสดงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในภาพ
         3. บันทึกผลการทํากิจกรรม และตอบคําถามหลังกิจกรรม โดยการตัดภาพสิ่งมีชีวิตทั้ง
            12 ชนิด ติดภาพและตอบคําถามหลังกิจกรรมลงในกระดาษแผนใหญ

สื่อและอุปกรณ/กลุม
        1. ภาพสิ่งมีชีวิต                      12   ภาพ
        2. สีเมจิ                               1   แทง
        3. กรรไกรตัดกระดาษ                      1   อัน
        4. กาว 2 หนาบาง                        1   มวน
        5. กระดาษแผนใหญ                       1   แผน
15


ภาพสิ่งมีชีวิต 12 ชนิด
16


บันทึกผลการทํากิจกรรม
17

คําถามหลังกิจกรรม

1. วัตถุประสงคของการทดลองนี้คืออะไร.............................................................................................
   .........................................................................................................................................................
2. สิ่งมีชีวิตที่เปนผูผลิต คือ ...................................................................................................................
                           
3. สิ่งมีชีวิตที่เปนผูบริโภคอันดับที่หนึง มีอะไรบาง...............................................................................
                                                       ่
   .........................................................................................................................................................
4. สิ่งมีชีวิตชนิดใดเปนทั้งเหยือ และผูลา..............................................................................................
                                            ่              
   .........................................................................................................................................................
5. ผูบริโภคอันดับสูงสุด ของสายใยอาหารนี้คือ...................................................................................
6. สายใยอาหารที่นักเรียนเขียน ถานํามาวิเคราะหจะประกอบดวยโซอาหารอะไรบาง
   .........................................................................................................................................................
   .........................................................................................................................................................
   .........................................................................................................................................................
   .........................................................................................................................................................
   .........................................................................................................................................................
   .........................................................................................................................................................
   .........................................................................................................................................................
   .........................................................................................................................................................
   .........................................................................................................................................................
   .........................................................................................................................................................
   .........................................................................................................................................................
   .........................................................................................................................................................
18

                                          แบบฝกหัดที่ 3
                               เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
รายวิชา ว33102 วิทยาศาสตร 6                                                                               เวลา 30 นาที
ชื่อ...................................................................................ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3…...กลุมที่.............

  จุดประสงคการเรียนรู
        1. อธิบายความหมายของโซอาหาร สายใยอาหาร และพีระมิดการถายทอดพลังงานได
        2. ระบุผผลิต ผูบริโภค และลําดับผูบริโภคในสายใยอาหารได
                ู                      
        3. อธิบายพีระมิดถายทอดพลังงานจากโซอาหารได

คําชี้แจง เขียนคําตอบที่ถูกตอง ลงในชองวางที่กําหนดให
1. สายใยอาหาร คือ …………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. การกินตอกันเปนทอดๆ ในโซอาหารทําใหเกิด …………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. สายใยอาหารเกิดจาก…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. นําสิ่งมีชีวิตที่กําหนดใหมาเขียนเปนโซอาหาร พรอมทังระบุวาสิงมีชีวิตเหลานั้นมีบทบาทอะไร
                                                        ้         ่
ในโซอาหาร


         นกกระจอก                         เหยี่ยว                                ตั๊กแตน                        ตนขาว

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
19

5.                        หนอน                       นกกระจอก
                                                                                            เหยี่ยว
                        ตนขาว                       ตั๊กแตน


                                                              หนูนา
                                      แผนภาพแสดงสายใยอาหารในระบบนิเวศนาขาว

     5.1 จากแผนภาพสายใยอาหารที่กําหนดให มีกโซอาหาร จงเขียนโซอาหารทังหมด
                                                                  ี่                                             ้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
     5.2 สิ่งมีชีวิตใดเปนผูผลิต ...................................................................................................
                            
     5.3 สิ่งมีชีวิตใดเปนผูบริโภคอันดับที่ 1 ................................................................................
                              
     5.4 สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่เปนทั้งเหยื่อ และผูลา ........................................................................
                                                        
     5.5 ผูบริโภคอันดับสูงสุด คือ ................................................................................................
6.




                                                      ภาพแสดงโซอาหาร

          6.1 จงเขียนพีระมิดจํานวน จากโซอาหารที่กําหนดให โดยกําหนดจํานวนสิงมีชีวิตแตละชนิด
                                                                                 ่
ดังนี้ ตนขาว (10,000 ตน ), หนูนา (20,000 ตัว), นกฮูก (100 ตัว) และ งู (5 ตัว)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
         6.2 จากโซอาหาร ที่กําหนดให ถาบริโภคอันดับที่ 2 มีพลังงานสะสมอยู 500 กิโลแคลอรี
ผูบริโภคอันดับ 3 จะไดรับการถายทอดพลังงานเทาใด …………………………………………………………..
20


                                    แบบทดสอบหลังเรียน
                            เรือง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
                               ่

  รายวิชา ว33102 วิทยาศาสตร 6             ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3           เวลา 10 นาที
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว แลวเขียนลงในกระดาษคําตอบ
1. ขอใดกลาวถูกตอง
   ก. หวงโซอาหารยิ่งซับซอนหลายชวงจะยิ่งมีประสิทธิภาพในการสรางผลผลิตออกมาไดมาก
   ข. หวงโซอาหารสั้นจะมีประสิทธิภาพในการสรางผลผลิตออกมาไดมาก
   ค. หวงโซอาหารยิ่งสั้นจะมีประสิทธิภาพในการสรางผลผลิตต่ํากวาหวงโซอาหารชนิดยาวและ
       ซับซอน
   ง. สัตวที่กินสัตวจะใชพลังงานงานไดเทากับสัตวที่กินพืช

2. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับสายใยอาหาร
  ก. ความสัมพันธระหวางสิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
                            ่
  ข. ความสัมพันธระหวางหวงโซอาหารหลาย ๆ หวงโซ
  ค. การพึ่งพาอาศัยกันระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิงแวดลอม
                                              ่
  ง. การกินตอกันของสิงมีชีวิตในลักษณะเปนเสนตรงเสนเดียว
                        ่

3. ผูผลิตจะตองมีคุณสมบัติทสําคัญทีสุด คือขอใด
                            ี่        ่
   ก. สามารถสรางอาหารเองได
   ข. ตองหาเลี้ยงตัวเองจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
   ค. ทําใหผูบริโภคสลายผุพงกลับไปเปนอินทรีสาร
                               ั
   ง. สามารถเปลี่ยนพลังงานศักยใหเปนพลังงานจลน

4. พิจารณาแผนผังตอไปนี้ สิ่งมีชีวิตชนิดใดเปนทั้งผูลา และ เหยื่อ
  แพลงกตอนพืช           ไรน้ํา           ตัวออนแมลงปอ                ปลา       นกกระยาง
ก. ไรน้ํา ปลา                                                ข. นกกระยาง ตัวออนแมลงปอ
ค. ไรน้ํา นกกระยาง                                           ง. ตัวออนแมลงปอ ปลา

5. สิ่งที่ถายทอดในโซอาหารคืออะไร
   ก. อาหาร                                     ข. น้ํา
   ค. พลังงาน                                   ง. ความรอน
21

6. จากแผนภาพสายใยอาหาร สัตวชนิดใดเปนผูบริโภคอันดับที่ 2
                                        




   ก. งูและนกอินทรีย                            ข. จิงโจและหอยทาก
   ค. กระตายและตั๊กแตน                          ง. หอยทากและจิงเหลน
                                                                ้

7. ขอใดกลาวถูกตอง ถาแมลงเปนอาหารที่นกชอบมากและถูกจับกินจนสูญพันธุไปจากระบบ
นิเวศแหงนี้




   ก.   ประชากรกบลดลงจนอาจสูญพันธุไดเพราะขาดอาหาร
   ข.   ประชากรพืชลดลงตามประชากรของแมลงเพื่อรักษาสมดุลนิเวศ
   ค.   ประชากรเหยี่ยวเพิ่มขึ้นเพราะมีอาหารปริมาณมากขึ้น
   ง.   ประชากรหนอนอาจสูญพันธุไดเพราะปริมาณอาหารลดลง

8. เหตุใดในหวงโซอาหารจึงตองมีการโยงดวยลูกศร
   ก. เพื่อแสดงทิศทางการถายทอดพลังงาน          ข. เพื่อแสดงตําแหนงของเหยื่อ
   ค. เพื่อแสดงลักษณะของผูลาและเหยื่อ         ง. เพื่อแสดงความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต
22

9. ตามภาพนี้ ถาหมายเลข 1 เปนพืชสีเขียว หมายเลข 3 ควรจะเปนอะไร




  ข. ผูผลิต                                      ข. ที่กินพืช
  ค. ผูบริโภคที่กินสัตว                         ง. ผูบริโภคที่กินทั้งสัตวและพืชผูบริโภค

10.        ผูผลิต            ผูบริโภคอันดับ 1                  ผูบริโภคอันดับ 2

ถาผูบริโภคอันดับ 2 มีพลังงานจากการบริโภคเทากับ 5 กิโลแคลอรี ผูผลิตจะมีพลังงานกี่ กิโล
                                                                 
แคลออรี
   ก. 5 กิโลแคลออรี                            ข. 50 กิโลแคลออรี
   ค. 500 กิโลแคลออรี                          ง. 1,000 กิโลแคลออรี
23


                     บัตรเฉลย
         เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
                เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน
ขอที่         คําตอบ           ขอที่         คําตอบ
  1               ข               6               ก
  2               ก               7               ค
  3               ข               8               ค
  4               ง               9               ก
  5               ข              10               ก
24


                            แนวคําตอบ แบบฝกหัดที่ 3
                    เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ

คําชี้แจง เขียนคําตอบที่ถูกตอง ลงในชองวางที่กําหนดให
1. สายใยอาหาร คือ (โซอาหารมากมายในระบบนิเวศเดียวกันที่เชื่อมโยงสัมพันธกัน หรือ
ความสัมพันธระหวางโซอาหารหลายๆ โซอาหาร)
2. การกินตอกันเปนทอดๆ ในโซอาหารทําใหเกิด (การถายทอดพลังงานในโมเลกุลของสารอาหาร
เปนทอดๆ ดวย)
3. สายใยอาหารเกิดจาก (1. สิ่งมีชีวิตหลายชนิดอาศัยอยูรวมกัน 2. สัตวตางๆ มีการกินอาหารที่
                                                          
เหมือนและตางกัน)
4. นําสิ่งมีชีวิตที่กําหนดใหมาเขียนเปนโซอาหาร พรอมทังระบุวาสิงมีชีวิตเหลานั้นมีบทบาทอะไร
                                                        ้         ่
ในโซอาหาร


       นกกระจอก               เหยี่ยว                      ตั๊กแตน                  ตนขาว




        ตนขาว            ตั๊กแตน            นกกระจอก                    เหยี่ยว

        ตนขาว         เปนผูผลิตในระบบนิเวศ
        ตั๊กแตน         เปนผูบริโภคอันดับที่ 1
        นกกระจอก        เปนผูบริโภคอันดับที่ 2
        เหยี่ยว         เปนผูบริโภคอันดับที่ 3 หรือผูบริโภคอันสูงสุด
                                                       
25



5.                หนอน               นกกระจอก
                                                                           เหยี่ยว
                 ตนขาว              ตั๊กแตน


                                            หนูนา
                           แผนภาพแสดงสายใยอาหารในระบบนิเวศนาขาว

         5.1 จากแผนภาพสายใยอาหารที่กําหนดให มีกโซอาหาร จงเขียนโซอาหารทังหมด
                                                             ี่                   ้
              ( มีโซอาหาร 4 โซอาหาร ดังนี้
                  1. ตนขาว         หนอน               นกกระจอก เหยี่ยว
                  2. ตนขาว         นกกระจอก เหยี่ยว
                  3. ตนขาว         ตั๊กแตน            นกกระจอก เหยี่ยว
                  4. ตนขาว         หนูนา              เหยี่ยว )
         5.2 สิ่งมีชีวิตใดเปนผูผลิต (ตนขาว)
                                
         5.3 สิ่งมีชีวิตใดเปนผูบริโภคอันดับที่ 1 ( หนอน, นกกระจอก, ตั๊กแตน, หนูนา )
                                  
         5.4 สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่เปนทั้งเหยื่อ และผูลา ( นกกระจอก )
                                                     
         5.5 ผูบริโภคอันดับสูงสุด คือ (เหยี่ยว)
         5.6 หากนกกระจอกเกิดโรคระบาดและลดจํานวนลงอยาง จะมีผลกระทบตอสิงมีชีวิต      ่
ใดบาง ( 1. หนอนและตั๊กแตนเพิ่มจํานวนขึ้น 2. เหยี่ยวลดจํานวนลง)
6.



                                       ภาพแสดงโซอาหาร

          6.1 จงเขียนพีระมิดจํานวน จากโซอาหารที่กําหนดให โดยกําหนดจํานวนสิงมีชีวิตแตละชนิด
                                                                             ่
ดังนี้ ตนขาว (10,000 ตน ), ตั๊กแตน (20,000 ตัว), นกกระจอก (100 ตัว) และ แมว (5 ตัว)
                                                    แมว
                                                       นกกระจอก
                                                                  ตักแตน
                                                                                     แมว


         6.2 จากโซอาหาร ที่กําหนดให ถาบริโภคอันดับที่ 2 มีพลังงานสะสมอยู 500 กิโลแคลอรี
ผูบริโภคอันดับ 3 จะไดรับการถายทอดพลังงานเทาใด ( 50 กิโลแคลอรี )
26



                      บัตรเฉลย
         เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ


                เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ขอที่          คําตอบ         ขอที่          คําตอบ
  1                ข             6                ก
  2                ข             7                ก
  3                ก             8                ก
  4                ง             9                ค
  5                ค            10                ข
27



                                      บรรณานุกรม


ถนัด ศรีบุญเรือง และคณะ. สัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม. 3 เลม 1. นนทบุรี : บริษัทไทย
      รมเกลา จํากัด, มปป.
ยุพา วรยศ. วิทยาศาสตร ม.3 เลม 1. กรุงเทพฯ : บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด, มปป.
พิมพันธ เดชุคุปต และคณะ. แผนการจัดการเรียนรูสองแนวทางที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ วิทยาศาสตร
      ม. 3. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จํากัด, มปป.
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน
      ชีวิตกับสิ่งแวดลอม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต กลุมสาระการเรียนรู
      วิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรสภา ลาดพราว, 2548.
                                           ุ
ชุดการเรียน

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
surapha97
 
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกแผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกKob Ying Ya
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1jamjuree_ben
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวงานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวUdom Tepprasit
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2supphawan
 
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4pageใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-1page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-1pageใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-1page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6supphawan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
Kobwit Piriyawat
 
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศหน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศkrupornpana55
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
Prachoom Rangkasikorn
 
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศคาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศkrupornpana55
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
นราพร ผิวขำ
 

What's hot (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกแผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยวงานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
งานวิทย์ฯ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
 
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4pageใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-4page
 
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-1page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-1pageใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-1page
ใบความรู้+สายใยอาหาร+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f27-1page
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศหน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
 
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศคาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
 

Similar to ชุดการเรียน

หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...Sirirat Faiubon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาsuchinmam
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาsuchinmam
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3tassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
เนาวรัตน์ กาบขุนทด
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะsuchinmam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
SAKANAN ANANTASOOK
 

Similar to ชุดการเรียน (20)

หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

ชุดการเรียน

  • 1. ชุดการเรียน ชีวิตกับสิ่งแวดลอม กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 นายสมศักดิ์ สวัสล้ํา โรงเรียนปะคําพิทยาคม อําเภอปะคํา จังหวัดบุรีรัมย สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. สารบัญ เรื่อง หนา คํานํา ก สารบัญ ข คําแนะนําสําหรับครู 1 ตัวชี้วัด 2 จุดประสงคการเรียนรู 2 คําชี้แจงสําหรับครู 3 คําชี้แจงสําหรับนักเรียน 3 แบบทดสอบกอนเรียน 4 กระดาษคําตอบ ชุดการเรียนชีวิตกับสิ่งแวดลอม 7 บัตรคําสัง ่ 8 บัตรเนือหา ้ 9 บัตรกิจกรรมที่ 2 14 แบบฝกหัดที่ 3 18 แบบทดสอบหลังเรียน 20 บัตรเฉลย แบบทดสอบกอนเรียน 23 แนวคําตอบ แบบฝกหัดที่ 3 24 บัตรเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน 26 บรรณานุกรม 27
  • 3. คํานํา ชุดการเรียนชีวิตกับสิ่งแวดลอม เลม 3 เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ เลมนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการจัดกิจกรรมเรียนการสอน รายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร 6 ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 ใหนักเรียนไดศึกษาคนควา มีความรูความเขาใจในเรื่องการถายทอดพลังงานใน ระบบนิเวศ ซึ่งจะชวยใหนักเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห สังเคราะห การคํานวณ ทักษะกระบวนการกลุมและยังสามารถศึกษาคนควาไดดวยตนเอง  ขอขอบคุณคณะผูเชียวชาญซึ่งประกอบดวย นายพเนาว นาคพงษ ผูอํานวยการเชี่ยวชาญ  โรงเรียนอนุบาลโนนดินแดง นายบรรจง ประสงคทรัพย ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนละหาน ทรายรัชดาภิเษก นางบุญเรือง อัมพาพัฒนะนันท ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนละหาน ทรายรัชดาภิเษก และนางวันดี ผมมา ครูชํานาญการพิเศษ โรเรียนอนุบาลโนนดินแดง ที่ให คําปรึกษา แนะนํา แกไขปรับปรุงจนทําใหชุดการเรียน เลมนี้เสร็จสมบูรณมีคุณคามากยิ่งขึ้น ขอขอบคุณนายวัชราบูรณ บุญชู ผูอํานวยการโรงเรียนปะคําพิทยาคม ตลอดจนคณะครู กลุมสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตรทกทานที่ใหการสนับสนุน สงเสริมและเปนกําลังใจจนทําใหการ ุ ทํางานลุลวงไปดวยดี หวังเปนอยางยิงวาชุดการเรียนชีวิตกับสิงแวดลอม เลมนี้จะเปนประโยชนในการจัดกิจกรรม ่ ่ การเรียนรู ทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น เปนสื่อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอํานวย ประโยชนตอการเรียนการสอนใหบรรลุตามวัตถุประสงคของหลักสูตรได สมศักดิ์ สวัสล้ํา
  • 4. 1 คําแนะนําสําหรับครู 1. ใชชุดการเรียนฉบับนี้ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 3 ในรายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 2. ใชชุดการเรียนฉบับนี้เสริมสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนดี และชวยนักเรียนที่เรียนเขาใจชาให ศึกษาและทบทวนจนเขาใจ 3. ชุดการเรียนฉบับนี้ใชเปนคูมือการศึกษาคนควาดวยตนเองของนักเรียนทังในเวลาเรียนและ ้ นอกเวลาเรียน 4. ศึกษาชุดการเรียนในแตละกรอบตังแตตัวชี้วัด จุดประสงคการเรียนรู แบบทดสอบกอน ้ เรียนและหลังเรียน กิจกรรมในแตละกรอบใหเขาใจกอน 5. ศึกษากิจกรรมในชุดการเรียนแลวใหคําปรึกษาและคอยแนะนําชวยเหลือนักเรียนอยาง ใกลชิด 6. ชี้แจงใหนักเรียนอานคําชี้แจงสําหรับนักเรียนและบัตรคําสั่ง แลวปฏิบัติตาม 7. กรณีนักเรียนที่ขาดเรียน ใหเตรียมชุดการเรียนไวสําหรับใหศึกษานอกเวลา 8. ปลูกฝงใหนักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค คือ รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสจริตมีุ วินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ และมีความซื่อสัตยตอตนเอง โดยพยายามศึกษาดวยตนเอง ไมดูเฉลยกอนตอบคําถาม 9. เนนย้ําใหนักเรียนทราบวา ใหนักเรียนพยายามทํากิจกรรมตางๆตามบทบาทและเต็มความ สารถของตนเอง เพื่อนักเรียนจะไดเปนผูที่มสมรรถนะสําคัญครบทั้ง 5 ประการ ไดแก ี 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแกปญหา  4) ความสามารถในการใชทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี 10. ปลูกฝงใหนักเรียนมีพรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา ตอเพื่อนนักเรียนดวยกันโดยนักเรียนที่เกง กวาคอยชวยเหลือนักเรียนที่เรียนชา มุทิตาหรือพลอยยินดีตอกันเมือประสบความสําเร็จ ่ และอุเบกขาหากความพยายามนั้นไมเปนอยางที่ตองการ
  • 5. 2 สาระการเรียนรู สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิงมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา ่ ศาสตรสอสารสิงทีเ่ รียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ื่ ่ ตัวชี้วัด วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธของการถายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปของโซอาหาร และสายใยอาหาร จุดประสงคการเรียนรู ดานความรู 1. อธิบายความหมายของโซอาหาร สายใยอาหาร และพีระมิดการถายทอดพลังงานได 2. ระบุผูผลิต ผูบริโภค และลําดับผูบริโภคในสายใยอาหารได 3. อธิบายพีระมิดถายทอดพลังงานจากโซอาหารได ดานทักษะกระบวนการ 1. กระบวนการกลุม 2. การนําเสนอ คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. มุงมั่นในการทํางาน 3. มีจิตสาธารณะ
  • 6. 3 ชุดการเรียนชีวิตกับสิ่งแวดลอม เลม 3 เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ รายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา 120 นาที คําชี้แจงสําหรับครู 1. เตรียมชุดการเรียนชีวิตกับสิงแวดลอม เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ่ เทากับจํานวนนักเรียน 2. เตรียมกระดาษแผนเล็ก 2 สี เทากับจํานวนนักเรียน 3. เตรียมกระดาษใหญเทากับจํานวนกลุมนักเรียน  4. เตรียมแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนเทากับจํานวนนักเรียน 5. เตรียมแบบประเมินนักเรียน 6. แบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 4 คน โดยแบงคละความสามารถ หากมีนักเรียนขาดหรือ เกิน 4 คนตอกลุมใหแจงรายละเอียดการทํากิจกรรมเพิ่มเติม คําชี้แจงสําหรับนักเรียน 1. นักเรียนนังเปนกลุมทีจัดไวแลวทําแบบทดสอบกอนเรียน ่ ่ 2. นักเรียนศึกษาบัตรคําสัง แลวปฏิบัติตามบัตรเนือหา บัตรกิจกรรม แบบฝกหัด ่ ้ และบัตรเฉลย โดยใชกระบวนการเรียนแบบรวมมือ 3. เมื่อศึกษาเรียบรอยแลวใหตรวจสอบคําตอบในบัตรเฉลย แลวใหเพือนตรวจใหคะแนน ่ 4. เมื่อศึกษาครบทุกหัวขอใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน พรอมตรวจใหคะแนนตาม บัตรเฉลย เพื่อนําคะแนนที่ไดมาเฉลี่ยเปนคะแนนกลุม
  • 7. 4 แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ รายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา 10 นาที ตัวชี้วัด วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธของการถายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปของสายใย อาหารและโซอาหาร จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายของโซอาหาร สายใยอาหาร และพีระมิดการถายทอดพลังงานได 2. ระบุผผลิต ผูบริโภค และลําดับผูบริโภคในสายใยอาหารได ู   3. อธิบายพีระมิดถายทอดพลังงานจากโซอาหารได คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกทีสุดเพียงขอเดียว แลวเขียนลงในกระดาษคําตอบ ่ 1. ขอใดกลาวถูกตอง ก. หวงโซอาหารยิ่งซับซอนหลายชวงจะยิ่งมีประสิทธิภาพในการสรางผลผลิตออกมาไดมาก ข. หวงโซอาหารสั้นจะมีประสิทธิภาพในการสรางผลผลิตออกมาไดมาก ค. หวงโซอาหารยิ่งสั้นจะมีประสิทธิภาพในการสรางผลผลิตต่ํากวาหวงโซอาหารชนิดยาวและ ซับซอน ง. สัตวที่กินสัตวจะใชพลังงานงานไดเทากับสัตวที่กินพืช 2. ผูผลิตจะตองมีคุณสมบัติทสําคัญทีสุด คือขอใด ี่ ่ ก. สามารถสรางอาหารเองได ข. ตองหาเลี้ยงตัวเองจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ค. ทําใหผูบริโภคสลายผุพงกลับไปเปนอินทรีสาร ั ง. สามารถเปลี่ยนพลังงานศักยใหเปนพลังงานจลน
  • 8. 5 3. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับสายใยอาหาร ก. ความสัมพันธระหวางสิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ่ ข. ความสัมพันธระหวางหวงโซอาหารหลาย ๆ หวงโซ ค. การพึ่งพาอาศัยกันระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิงแวดลอม ่ ง. การกินตอกันของสิงมีชีวิตในลักษณะเปนเสนตรงเสนเดียว ่ 4. พิจารณาแผนผังตอไปนี้ สิ่งมีชีวิตชนิดใดเปนทั้งผูลา และ เหยื่อ แพลงกตอนพืช ไรน้ํา ตัวออนแมลงปอ ปลา นกกระยาง ก. ไรน้ํา ปลา ข. นกกระยาง ตัวออนแมลงปอ ค. ไรน้ํา นกกระยาง ง. ตัวออนแมลงปอ ปลา 5. ผูผลิต ผูบริโภคอันดับ 1 ผูบริโภคอันดับ 2 ถาผูบริโภคอันดับ 2 มีพลังงานจากการบริโภคเทากับ 5 กิโลแคลอรี ผูผลิตจะมีพลังงานกี่  กิโลแคลออรี ก. 5 กิโลแคลออรี ข. 50 กิโลแคลออรี ค. 500 กิโลแคลออรี ง. 1,000 กิโลแคลออรี 6. จากแผนภาพสายใยอาหาร สัตวชนิดใดเปนผูบริโภคอันดับที่ 2  ก. งูและนกอินทรีย ข. จิงโจและหอยทาก ค. กระตายและตั๊กแตน ง. หอยทากและจิงเหลน ้
  • 9. 6 7. ตามภาพนี้ ถาหมายเลข 1 เปนพืชสีเขียว หมายเลข 3 ควรจะเปนอะไร ก. ผูผลิต ข. ที่กินพืช ค. ผูบริโภคที่กินสัตว ง. ผูบริโภคที่กินทั้งสัตวและพืชผูบริโภค 8. สิ่งที่ถายทอดในโซอาหารคืออะไร ก. อาหาร ข. น้ํา ค. พลังงาน ง. ความรอน 9. ขอใดกลาวถูกตอง ถาแมลงเปนอาหารที่นกชอบมากและถูกจับกินจนสูญพันธุไปจากระบบ นิเวศแหงนี้ ก. ประชากรกบลดลงจนอาจสูญพันธุไดเพราะขาดอาหาร ข. ประชากรพืชลดลงตามประชากรของแมลงเพื่อรักษาสมดุลนิเวศ ค. ประชากรเหยี่ยวเพิ่มขึ้นเพราะมีอาหารปริมาณมากขึ้น ง. ประชากรหนอนอาจสูญพันธุไดเพราะปริมาณอาหารลดลง 10. เหตุใดในหวงโซอาหารจึงตองมีการโยงดวยลูกศร ก. เพื่อแสดงทิศทางการถายทอดพลังงาน ข. เพื่อแสดงตําแหนงของเหยื่อ ค. เพื่อแสดงลักษณะของผูลาและเหยื่อ ง. เพื่อแสดงความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต
  • 10. 7 กระดาษคําตอบ ชุดการเรียนชีวิตกับสิ่งแวดลอม เลม 3 เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ทดสอบ ทดสอบ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน ข้อ ตอบ ข้อ ตอบ 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 ได้ ได้ เต็ม 10 คะแนน เต็ม 10 คะแนน ลงชือ………………………………ผูตรวจ ้ (……………………………..) วันที…….เดือน……………..พ.ศ……….
  • 11. 8 บัตรคําสั่ง ชุดการเรียนชีวิตกับสิ่งแวดลอม เลม 3 เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ 1. นักเรียนสมาชิกแตละกลุมแบงหนาที่รบผิดชอบชัดเจน ดังนี้ ั  คุณอํานวย มีหนาที่รับผิดชอบดานวัสดุอุปกรณ รับ-สง รวมทั้งดูแลความเรียบรอย  คุณประสาน มีหนาที่ดูแลใหสมาชิกทุกคนรวมมือกันทํางานใหลลวงตามเปาหมายและทันเวลา ุ และสอบถามครูถามีปญหา  คุณจัดการความรู มีหนาที่วางแผนสํารวจตรวจสอบ สืบคนขอมูลและสรุปองคความรู  คุณเสนอ มีหนาทีประสานงานกับคุณจัดการความรู เพื่อออกแบบการนําเสนอและรายงาน ่ ผลการเรียนรู 2. นักเรียนแตละกลุมศึกษาเนือหาเกี่ยวกับการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ้ 3. นักเรียนแตละกลุมศึกษาทํากิจกรรมที่ 2 เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ บันทึกขอมูล อภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม ตอบคําถามทายกิจกรรม แลวเขียนลงใน กระดาษแผนใหญ 4. นักเรียนนักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลการทํากิจกรรมโดยนําผลงานไปติดผนังบริเวณที่กําหนด แลวนักเรียนแตละกลุมเดินเวียนดูผลงานของเพือนกลุมอื่นอยางนอย 2 กลุมใชเวลากลุมละ 5 ่  นาที ขณะเดินชมผลงานใหแตละกลุมปฏิบัติดังนี้ (Gallery Walk)   เขียนคําถามหรือขอสงสัยบนผลงานที่ดู  ทําเครื่องหมาย  หรือ  หรือ  เมื่อนักเรียนเห็นดวย หรือไมเห็นดวย หรือสงสัย ตามลําดับ 5. นักเรียนแตละกลุมเดินกลับมาทีผลงานของกลุมตนเอง จากนั้นเจาของผลงานตอบคําถามที่เพื่อน ่  ถามไว และสรุปใหเพื่อนคนอื่นๆฟงทั้งชั้นเรียน นักเรียนในชั้นรวมแสดงความคิดเห็น 6. นักเรียนทําแบบฝกหัดที่ 3 โดยกลวิธีคิดเดี่ยว คิดคู( Think Pair Share) แลวจึงระดมความคิด เปนกลุมเพื่อใหไดคําตอบที่ถูกตอง 7. นักเรียนแตละกลุมตรวจคําตอบจากบัตรเฉลย พรอมทั้งบันทึกคะแนนที่ไดลงในชองคะแนน โดย มีคะแนนเต็ม 10 8. เกณฑการใหคะแนน แบบฝกหัดที่ 3 เปนดังนี้ 1) ถาตอบถูกไดครบทุกสวน ไดขอละ 1 คะแนน 2) ถาตอบถูกบางสวนไดขอละ 0.5 คะแนน 3) ถาตอบผิดไมไดคะแนน 9. ประเมินโดยใชแบบทดสอบ ดังนี้ 1) ขอที่ตอบถูกตองให 1 คะแนน 2) เกณฑการผานกิจกรรม 7 คะแนน 3) คะแนนแตละคนเทากับคะแนนเฉลี่ยของกลุม 10.กลุมที่ไดคะแนนเฉลี่ยสูงสุดไดรับรางวัลพิเศษ
  • 12. 9 บัตรเนื้อหา เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ รายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา 40 นาที จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายของโซอาหาร สายใยอาหาร และพีระมิดการถายทอดพลังงานได 2. ระบุผผลิต ผูบริโภค และลําดับผูบริโภคในสายใยอาหารได ู   3. อธิบายพีระมิดถายทอดพลังงานจากโซอาหารได คําชี้แจง นักเรียนศึกษารายละเอียดตามบัตรเนื้อหา เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ตอไปนี้ แลวทํากิจกรรมที่ 2 เรื่องการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ และตอบคําถามใน แบบฝกหัดที่ 3 สาระการเรียนรู การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตที่มบทบาทเปนผูผลิต (producer) จะสามารถดูดกลืนพลังงานจากแสงอาทิตยมาใช ี  ในกระบวนการสังเคราะหแสง เพื่อสรางอาหารได สวนสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทเปนผูบริโภค  (consumer) จะไมสามารถสรางอาหารเองได จึงตองบริโภคสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นเพื่อนําเอาพลังงานจาก อาหารทีบริโภคมาใชในการดํารงชีวิตการบริโภคที่ตอเนื่องกันเปนทอดๆ นี้ ทําใหเกิดการถายทอด ่ พลังงานระหวางสิงมีชีวิต ที่เรียกวา โซอาหาร (food chain) โดยสิ่งมีชีวิตในโซอาหารอาจเกี่ยวพัน ่ กับโซอาหารอื่นไดมากกวา 1 โซอาหาร ทําใหเกิดความสัมพันธที่ซับซอนเรียกวา สายใยอาหาร (food web) โซอาหาร (food chain) พืชและสัตวจําเปนตองไดรับพลังงานเพื่อใชในการดํารงชีวิต โดยพืชจะไดรับพลังงานจาก ดวงอาทิตย โดยใชรงควัตถุสีเขียวที่เรียกวา คลอโรฟลล (chlorophyll) เปนตัวดูดกลืนพลังงานแสง เพื่อนํามาใชในการสรางอาหารพืชจึงเปนสิงมีชีวิตอันอับแรงในการถายทอดพลังงานในโซอาหาร ่ สําหรับสัตวเปนสิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถสรางอาหารเองได จําเปนตองไดรบพลังงานจากการ ั บริโภคสิงมีชีวิตอื่นเปนอาหาร สัตวจึงถือวาเปนผูบริโภค ซึงเปนออกไดเปน ่  ่
  • 13. 10 ผูบริโภคอันดับที่หนึ่ง (primary consumer) หมายถึง ผูบริโภคที่กินผูผลิตเปนอาหาร 1) ผูบริโภคอับดับที่สอง (secondary consumer) หมายถึง ผูบริโภคทีกินผูบริโภค ่  อันดับที่หนึงเปนอาหาร ่ 2) ผูบริโภคอับดับสูงสุด (top consumer) หมายถึง ผูบริโภคที่กินผูบริโภคที่ปลายสุด  ของโซอาหาร ซึ่งไมมีสงมีชีวิตชนิดอื่นมากินตอ โดยอาจเรียกวาผูบริโภคลําดับสุดทาย ิ่ ภาพ 1 แผนผังแสดงโซอาหาร (ที่มา : หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ชีวิตกับสิงแวดลอม สิงมีชีวิตกับกระบวนการ ่ ่ ดํารงชีวิต. 2548 : 9) การถายทอดพลังงานในโซอาหารสูผบริโภคแตละลําดับขั้นจะอยูแคเพียง 10% ของ ู พลังงานทีผานเขามา สวนพลังงานอีก 90% จะสูญสลายไปในรูปของพลังงานรูปอื่นๆ เชน ่ การหายใจ เหงื่อ เปนตน หรือกลาวไดวาหากผูบริโภคบริโภคพลังงานเขาสูรางกาย 100 กรัม   จะมีเพียง 100 กรัม (10%) เทานั้นที่จะถูกนําไปสรางเปนเนื้อเยื่อ สวนอีก 90% จะสูญสลายไป หรือในกรณีอาหารทีสัตวกินเขาไปก็ไมไดเปลี่ยนเปนเนื้อเยื่อทั้งหมด เนื่องจากสวนหนึงจะ ่ ่ ถูกเผาผลาญและเปลี่ยนไปเปนพลังงานเพื่อใชในการเคลื่อนไหวและการทํากิจกรรมตางๆ พลังงาน บางสวนถูกนําไปในในการรักษาอุณหภูมิของรางกายใหคงที่ และบางสานจะถูกขับถายออกมา มี อาหารเพียงบางสวนเทานั้นทีจะถูกนําไปใชในการสรางเนื้อเยื่อของรางกาย ซึ่งมวลของเนื้อเยื่อสวนที่ ่ ถูกสรางจากอาหารนีเ้ รียกวา มวลชีวภาพ (biomass) จากภาพ 1 การกินตอกันเปนทอดๆ หรือการถายทอดพลังงาน โดยพืชใชพลังงานแสง จากดวงอาทิตยสรางอาหารเพือการเจริญเติบโต ตนขาว คือ ผูผลิต (producer) หนูกินตนขาวเก็บ ่ สะสมพลังงาน พลังงานถายทอดจากตนขาวมายังหนู หนู คือ ผูบริโภคอันดับทีหนึ่ง (primary ่ consumer) นกฮูกกินหนูเปนอาหาร นกฮูกเปนผูบริโภคอันดับที่สอง (secondary consumer) ดังนั้นจึงมีการถายทอดพลังงานจากนกฮูกมาสูหนู หนู คือ ผูบริโภคอันดับสูงสุด (top consumer) จากขอมูลการกินตอกันเปนทอดๆ ไปเขียนเปนแผนผังตั้งแตตนขาว คือ พืชซึ่งสะสมเปนอาหาร เริ่มตน แลวเขียนลูกศร ( ) ใหหัวลูกศรชี้ไปยังผูกินหรือผูลาจนถึงงู
  • 14. 11 สายใยอาหาร (food web) ในกลุมสิ่งมีชีวิตหนึงๆ โซอาหารไมไดดําเนินไปเพียงโซเดียวเทานั้นแตละโซอาหารอาจมี ่ ความสัมพันธกับโซอาหารอื่นอีก โดยเปนความสัมพันธทสลับซับซอน เชน สิ่งมีชีวิตหนึ่งในโซ ี่ อาหารหนึ่ง อาจเปนอาหารของสิงมีชีวิตอีกชนิดหนึ่งในโซอาหารอื่นก็ได เรียกลักษณะโซอาหาร ่ หลายๆ โซที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกันอยางสลับซับซอนวา สายใยอาหาร (food web) สายใยอาหารของกลุมสิ่งมีชีวิตที่มีความสลับซับซอนมาก แสดงวาผูบริโภคมีทางเลือกในการ  กินอาหารไดหลายทาง มีผลทําใหกลุมสิงมีชีวิตนั้นมีความมันคงในการดํารงชีวิตตามไปดวย  ่ ่ ภาพ 2 แผนผังแสดงสายใยอาหาร (ที่มา : หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ชีวิตกับสิงแวดลอม สิงมีชีวิตกับกระบวนการ ่ ่ ดํารงชีวิต. 2548 : 11)
  • 15. 12 พลังงานในสิ่งมีชีวิต การถายทอดพลังงานระหวางสิงมีชีวิตดวยกันนั้น เปนความสัมพันธที่แสดงใหเห็นถึงระดับ ่ ของพลังงานที่ถูกถายทอดไปใหกับสิ่งมีชีวิตในระดับตอไปของโซอาหาร มักเขียนในรูปพีระมิด และ เรียกพีระมิดที่แสดงความสัมพันธแบบนี้วา พีระมิดนิเวศ (ecological pyramaid) ถาใชลักษณะ ของขอมูลเปนเกณฑ สามารถเขียนได 3 แบบ ดังนี้ 1) พีระมิดจํานวน พีระมิดจํานวน (pyramid of number) เปนพีระมิดทีบอกจํานวนของสิ่งมีชีวิต ใน ่ แตละขั้นแทนดวยจํานวนตน ตัวหรือเซลลตอหนวยพื้นทีหรือปริมาตร เปนวิธีวัดที่งาย ตัวอยางเชน ่ ขาว กระตาย งู เหยี่ยว 10,000 ตน 1,000 ตัว 10 ตัว 1 ตัว แสดงเปนแผนภาพพีระมิดไดดังนี้ ภาพ 4 แผนภาพพีระมิดจํานวน (ที่มา : สําฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.3 เลม 1. มปป : 151) 2) พีระมิดมวล พีระมิดมวล (pyramid of mass) เปนพีระมิดที่แสดงปริมาณของสิงมีชีวิตดวยมวล ่ หรือน้ําหนักตอหนวยพื้นที่ หรือหนวยปริมาตร ตัวอยางเชน หญา ตั๊กแตน แมงมุม นก 800 g/m2 37 g/m2 11 g/m2 1.5 g/m2
  • 16. 13 แสดงเปนแผนภาพไดดังนี้ ภาพ 5 แผนภาพพีระมิดมวล (ที่มา : สําฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.3 เลม 1. มปป : 152) 3) พีระมิดพลังงาน พีระมิดพลังงาน (pyramid of energy) เปนพีระมิดที่แสดงอัตราการถายทอด พลังงานในหนวยตอพื้นที่ (ปริมาตร) ตอเวลา เชน กิโลแคลรี/ตารางเมตร/ป เปนพีระมิดที่มีฐาน กวาง กลาวคือ ผูผลิตจะมีมากทีสุด และแคบลงตามลําดับของผูบริโภค โดยผูบริโภคอันดับสูงสุด ่  จะแคบมากที่สุด ตัวอยางเชน ตนไม เพลี้ย แมลงเตาทอง นก 10,000 kcal 1,000 kcal 100 kcal 10 kcal แสดงเปนแผนภาพพีระมิดไดดังนี้ ภาพ 6 แผนภาพพีระมิดพลังงาน (ที่มา : สําฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม.3 เลม 1. มปป : 151)
  • 17. 14 บัตรกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ รายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา 40 นาที จุดประสงคการเรียนรู 1. เขียนสายใยอาหารจากสถานการณที่กําหนดใหได 2. อธิบายวิธีเขียนสายใยอาหารได 3. บอกความหมายของสายใยอาหารได 4. ระบบผูผลิต ผูบริโภค และลําดับผูบริโภคในสายใยอาหารได เวลาที่ใช 30 นาที คําชี้แจง 1. นักเรียนสังเกตภาพสิงมีชีวิตทั้ง 12 ชนิด และพิจารณาวาสิ่งมีชีวิตแตละชนิดมี ่ ความสัมพันธกันอยางไร 2. เขียนสายใยอาหารที่แสดงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในภาพ 3. บันทึกผลการทํากิจกรรม และตอบคําถามหลังกิจกรรม โดยการตัดภาพสิ่งมีชีวิตทั้ง 12 ชนิด ติดภาพและตอบคําถามหลังกิจกรรมลงในกระดาษแผนใหญ สื่อและอุปกรณ/กลุม 1. ภาพสิ่งมีชีวิต 12 ภาพ 2. สีเมจิ 1 แทง 3. กรรไกรตัดกระดาษ 1 อัน 4. กาว 2 หนาบาง 1 มวน 5. กระดาษแผนใหญ 1 แผน
  • 20. 17 คําถามหลังกิจกรรม 1. วัตถุประสงคของการทดลองนี้คืออะไร............................................................................................. ......................................................................................................................................................... 2. สิ่งมีชีวิตที่เปนผูผลิต คือ ...................................................................................................................  3. สิ่งมีชีวิตที่เปนผูบริโภคอันดับที่หนึง มีอะไรบาง...............................................................................  ่ ......................................................................................................................................................... 4. สิ่งมีชีวิตชนิดใดเปนทั้งเหยือ และผูลา.............................................................................................. ่  ......................................................................................................................................................... 5. ผูบริโภคอันดับสูงสุด ของสายใยอาหารนี้คือ................................................................................... 6. สายใยอาหารที่นักเรียนเขียน ถานํามาวิเคราะหจะประกอบดวยโซอาหารอะไรบาง ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................
  • 21. 18 แบบฝกหัดที่ 3 เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ รายวิชา ว33102 วิทยาศาสตร 6 เวลา 30 นาที ชื่อ...................................................................................ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3…...กลุมที่............. จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายของโซอาหาร สายใยอาหาร และพีระมิดการถายทอดพลังงานได 2. ระบุผผลิต ผูบริโภค และลําดับผูบริโภคในสายใยอาหารได ู   3. อธิบายพีระมิดถายทอดพลังงานจากโซอาหารได คําชี้แจง เขียนคําตอบที่ถูกตอง ลงในชองวางที่กําหนดให 1. สายใยอาหาร คือ ……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การกินตอกันเปนทอดๆ ในโซอาหารทําใหเกิด ……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. สายใยอาหารเกิดจาก………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. นําสิ่งมีชีวิตที่กําหนดใหมาเขียนเปนโซอาหาร พรอมทังระบุวาสิงมีชีวิตเหลานั้นมีบทบาทอะไร ้ ่ ในโซอาหาร นกกระจอก เหยี่ยว ตั๊กแตน ตนขาว ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 22. 19 5. หนอน นกกระจอก เหยี่ยว ตนขาว ตั๊กแตน หนูนา แผนภาพแสดงสายใยอาหารในระบบนิเวศนาขาว 5.1 จากแผนภาพสายใยอาหารที่กําหนดให มีกโซอาหาร จงเขียนโซอาหารทังหมด ี่ ้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.2 สิ่งมีชีวิตใดเปนผูผลิต ...................................................................................................  5.3 สิ่งมีชีวิตใดเปนผูบริโภคอันดับที่ 1 ................................................................................  5.4 สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่เปนทั้งเหยื่อ และผูลา ........................................................................  5.5 ผูบริโภคอันดับสูงสุด คือ ................................................................................................ 6. ภาพแสดงโซอาหาร 6.1 จงเขียนพีระมิดจํานวน จากโซอาหารที่กําหนดให โดยกําหนดจํานวนสิงมีชีวิตแตละชนิด ่ ดังนี้ ตนขาว (10,000 ตน ), หนูนา (20,000 ตัว), นกฮูก (100 ตัว) และ งู (5 ตัว) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6.2 จากโซอาหาร ที่กําหนดให ถาบริโภคอันดับที่ 2 มีพลังงานสะสมอยู 500 กิโลแคลอรี ผูบริโภคอันดับ 3 จะไดรับการถายทอดพลังงานเทาใด …………………………………………………………..
  • 23. 20 แบบทดสอบหลังเรียน เรือง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ่ รายวิชา ว33102 วิทยาศาสตร 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา 10 นาที คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว แลวเขียนลงในกระดาษคําตอบ 1. ขอใดกลาวถูกตอง ก. หวงโซอาหารยิ่งซับซอนหลายชวงจะยิ่งมีประสิทธิภาพในการสรางผลผลิตออกมาไดมาก ข. หวงโซอาหารสั้นจะมีประสิทธิภาพในการสรางผลผลิตออกมาไดมาก ค. หวงโซอาหารยิ่งสั้นจะมีประสิทธิภาพในการสรางผลผลิตต่ํากวาหวงโซอาหารชนิดยาวและ ซับซอน ง. สัตวที่กินสัตวจะใชพลังงานงานไดเทากับสัตวที่กินพืช 2. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับสายใยอาหาร ก. ความสัมพันธระหวางสิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ่ ข. ความสัมพันธระหวางหวงโซอาหารหลาย ๆ หวงโซ ค. การพึ่งพาอาศัยกันระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิงแวดลอม ่ ง. การกินตอกันของสิงมีชีวิตในลักษณะเปนเสนตรงเสนเดียว ่ 3. ผูผลิตจะตองมีคุณสมบัติทสําคัญทีสุด คือขอใด ี่ ่ ก. สามารถสรางอาหารเองได ข. ตองหาเลี้ยงตัวเองจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ค. ทําใหผูบริโภคสลายผุพงกลับไปเปนอินทรีสาร ั ง. สามารถเปลี่ยนพลังงานศักยใหเปนพลังงานจลน 4. พิจารณาแผนผังตอไปนี้ สิ่งมีชีวิตชนิดใดเปนทั้งผูลา และ เหยื่อ แพลงกตอนพืช ไรน้ํา ตัวออนแมลงปอ ปลา นกกระยาง ก. ไรน้ํา ปลา ข. นกกระยาง ตัวออนแมลงปอ ค. ไรน้ํา นกกระยาง ง. ตัวออนแมลงปอ ปลา 5. สิ่งที่ถายทอดในโซอาหารคืออะไร ก. อาหาร ข. น้ํา ค. พลังงาน ง. ความรอน
  • 24. 21 6. จากแผนภาพสายใยอาหาร สัตวชนิดใดเปนผูบริโภคอันดับที่ 2  ก. งูและนกอินทรีย ข. จิงโจและหอยทาก ค. กระตายและตั๊กแตน ง. หอยทากและจิงเหลน ้ 7. ขอใดกลาวถูกตอง ถาแมลงเปนอาหารที่นกชอบมากและถูกจับกินจนสูญพันธุไปจากระบบ นิเวศแหงนี้ ก. ประชากรกบลดลงจนอาจสูญพันธุไดเพราะขาดอาหาร ข. ประชากรพืชลดลงตามประชากรของแมลงเพื่อรักษาสมดุลนิเวศ ค. ประชากรเหยี่ยวเพิ่มขึ้นเพราะมีอาหารปริมาณมากขึ้น ง. ประชากรหนอนอาจสูญพันธุไดเพราะปริมาณอาหารลดลง 8. เหตุใดในหวงโซอาหารจึงตองมีการโยงดวยลูกศร ก. เพื่อแสดงทิศทางการถายทอดพลังงาน ข. เพื่อแสดงตําแหนงของเหยื่อ ค. เพื่อแสดงลักษณะของผูลาและเหยื่อ ง. เพื่อแสดงความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต
  • 25. 22 9. ตามภาพนี้ ถาหมายเลข 1 เปนพืชสีเขียว หมายเลข 3 ควรจะเปนอะไร ข. ผูผลิต ข. ที่กินพืช ค. ผูบริโภคที่กินสัตว ง. ผูบริโภคที่กินทั้งสัตวและพืชผูบริโภค 10. ผูผลิต ผูบริโภคอันดับ 1 ผูบริโภคอันดับ 2 ถาผูบริโภคอันดับ 2 มีพลังงานจากการบริโภคเทากับ 5 กิโลแคลอรี ผูผลิตจะมีพลังงานกี่ กิโล  แคลออรี ก. 5 กิโลแคลออรี ข. 50 กิโลแคลออรี ค. 500 กิโลแคลออรี ง. 1,000 กิโลแคลออรี
  • 26. 23 บัตรเฉลย เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน ขอที่ คําตอบ ขอที่ คําตอบ 1 ข 6 ก 2 ก 7 ค 3 ข 8 ค 4 ง 9 ก 5 ข 10 ก
  • 27. 24 แนวคําตอบ แบบฝกหัดที่ 3 เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ คําชี้แจง เขียนคําตอบที่ถูกตอง ลงในชองวางที่กําหนดให 1. สายใยอาหาร คือ (โซอาหารมากมายในระบบนิเวศเดียวกันที่เชื่อมโยงสัมพันธกัน หรือ ความสัมพันธระหวางโซอาหารหลายๆ โซอาหาร) 2. การกินตอกันเปนทอดๆ ในโซอาหารทําใหเกิด (การถายทอดพลังงานในโมเลกุลของสารอาหาร เปนทอดๆ ดวย) 3. สายใยอาหารเกิดจาก (1. สิ่งมีชีวิตหลายชนิดอาศัยอยูรวมกัน 2. สัตวตางๆ มีการกินอาหารที่  เหมือนและตางกัน) 4. นําสิ่งมีชีวิตที่กําหนดใหมาเขียนเปนโซอาหาร พรอมทังระบุวาสิงมีชีวิตเหลานั้นมีบทบาทอะไร ้ ่ ในโซอาหาร นกกระจอก เหยี่ยว ตั๊กแตน ตนขาว ตนขาว ตั๊กแตน นกกระจอก เหยี่ยว ตนขาว เปนผูผลิตในระบบนิเวศ ตั๊กแตน เปนผูบริโภคอันดับที่ 1 นกกระจอก เปนผูบริโภคอันดับที่ 2 เหยี่ยว เปนผูบริโภคอันดับที่ 3 หรือผูบริโภคอันสูงสุด 
  • 28. 25 5. หนอน นกกระจอก เหยี่ยว ตนขาว ตั๊กแตน หนูนา แผนภาพแสดงสายใยอาหารในระบบนิเวศนาขาว 5.1 จากแผนภาพสายใยอาหารที่กําหนดให มีกโซอาหาร จงเขียนโซอาหารทังหมด ี่ ้ ( มีโซอาหาร 4 โซอาหาร ดังนี้ 1. ตนขาว หนอน นกกระจอก เหยี่ยว 2. ตนขาว นกกระจอก เหยี่ยว 3. ตนขาว ตั๊กแตน นกกระจอก เหยี่ยว 4. ตนขาว หนูนา เหยี่ยว ) 5.2 สิ่งมีชีวิตใดเปนผูผลิต (ตนขาว)  5.3 สิ่งมีชีวิตใดเปนผูบริโภคอันดับที่ 1 ( หนอน, นกกระจอก, ตั๊กแตน, หนูนา )  5.4 สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่เปนทั้งเหยื่อ และผูลา ( นกกระจอก )  5.5 ผูบริโภคอันดับสูงสุด คือ (เหยี่ยว) 5.6 หากนกกระจอกเกิดโรคระบาดและลดจํานวนลงอยาง จะมีผลกระทบตอสิงมีชีวิต ่ ใดบาง ( 1. หนอนและตั๊กแตนเพิ่มจํานวนขึ้น 2. เหยี่ยวลดจํานวนลง) 6. ภาพแสดงโซอาหาร 6.1 จงเขียนพีระมิดจํานวน จากโซอาหารที่กําหนดให โดยกําหนดจํานวนสิงมีชีวิตแตละชนิด ่ ดังนี้ ตนขาว (10,000 ตน ), ตั๊กแตน (20,000 ตัว), นกกระจอก (100 ตัว) และ แมว (5 ตัว) แมว นกกระจอก ตักแตน แมว 6.2 จากโซอาหาร ที่กําหนดให ถาบริโภคอันดับที่ 2 มีพลังงานสะสมอยู 500 กิโลแคลอรี ผูบริโภคอันดับ 3 จะไดรับการถายทอดพลังงานเทาใด ( 50 กิโลแคลอรี )
  • 29. 26 บัตรเฉลย เรื่อง การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ขอที่ คําตอบ ขอที่ คําตอบ 1 ข 6 ก 2 ข 7 ก 3 ก 8 ก 4 ง 9 ค 5 ค 10 ข
  • 30. 27 บรรณานุกรม ถนัด ศรีบุญเรือง และคณะ. สัมฤทธิ์มาตรฐาน วิทยาศาสตร ม. 3 เลม 1. นนทบุรี : บริษัทไทย รมเกลา จํากัด, มปป. ยุพา วรยศ. วิทยาศาสตร ม.3 เลม 1. กรุงเทพฯ : บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด, มปป. พิมพันธ เดชุคุปต และคณะ. แผนการจัดการเรียนรูสองแนวทางที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ วิทยาศาสตร ม. 3. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จํากัด, มปป. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ชีวิตกับสิ่งแวดลอม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรสภา ลาดพราว, 2548. ุ