SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การเจริญเติบโตของพืชดอก
(Flowering Plant Growth and Development)
จานวน 5 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 15 ชั่วโมง ประกอบด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของผล (Fruit) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (Seed) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
เรื่อง กระบวนการเกิดผลและเมล็ดในพืชดอก ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
เรื่อง การวัดการเจริญเติบโตของพืชดอก ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเจริญเติบโตของพืชดอก (Flowering Plant Growth and Development)
เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก เขียนสรุป
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้ง
สามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอก
แต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้
อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
>>> การเจริญเติบโตของพืช มี 3 กระบวนการต่าง ๆ เกิดขึ้นคือ
1. การแบ่งเซลล์ ทาให้มีจานวนเซลล์เพิ่มมากขึ้น เซลล์ที่เกิดขึ้นใหม่จะมีลักษณะเหมือนเดิม
แต่มีขนาดเล็กกว่า
2. การเพิ่มขนาดของเซลล์ เป็นการสร้างสะสมสาร ทาให้เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยทั่วไปแล้ว
เมื่อมีการแบ่งเซลล์แล้วก็จะเพิ่มขนาดของเซลล์ด้วยเสมอ
3. การเปลี่ยนรูปร่างของเซลล์ เพื่อให้เหมาะสมกับหน้าที่เฉพาะอย่าง
>>> ลักษณะที่แสดงว่าพืชมีการเจริญเติบโต มีดังนี้
1. รากจะยาวและใหญ่ขึ้น มีรากงอกเพิ่มขึ้น มีการแตกแขนงของรากมากขึ้น
2. ลาต้นจะสูงและใหญ่ขึ้น มีการผลิตทั้งตากิ่ง ตาใบ และตาดอก
3. ใบจะมีขนาดใหญ่ขึ้น จานวนใบเพิ่มขึ้น
4. ดอกจะใหญ่ขึ้น หรือดอกเปลี่ยนแปลงเป็นผล
5. เมล็ดจะมีการงอกต้นอ่อน
>>> ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่
1. อากาศ พืชใช้ก๊าซออกซิเจนในการหายใจ และใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในการสร้าง
อาหาร
2. น้า ใช้ในกระบวนการลาเลียงน้าและแร่ธาตุใช้ในการสร้างอาหารช่วยลดอุณหภูมิภายในลา
ต้น
3. แสง ใช้สร้างอาหารและคลอโรฟิลล์
4. แร่ธาตุ ใช้ช่วยในกระบวนการต่าง ๆ ในการดารงชีวิตของพืช ช่วยสร้างคลอโรฟิลล์
5. อุณหภูมิ อุณหภูมิที่พอเหมาะจาเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การงอกของเมล็ด
และการทางานของเอนไซม์
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ
เจริญเติบโตในพืชดอกแต่ละประเภท
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกต่อ
กระบวนการดารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกแต่ละชนิดมีความแตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไร
> กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกที่เราสามารถพบได้ทั่วไปจาแนกออกได้เป็นกี่ประเภท
อะไรบ้าง
> หากพืชดอกไม่มีกระบวนการเจริญเติบโตแล้วจะส่งผลอย่างไรต่อระบบนิเวศและการดารงชีวิต
ของมนุษย์บ้าง
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกมี
ความสัมพันธ์กับลักษณะโครงสร้างของพืชดอกที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมถิ่นที่อยู่อาศัยแตกต่างกันจะมีความแตกต่าง
กันหรือไม่ อย่างไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก” ว่า
* การเจริญเติบโตของพืช มี 3 กระบวนการต่าง ๆ เกิดขึ้นคือ
1. การแบ่งเซลล์ ทาให้มีจานวนเซลล์เพิ่มมากขึ้น เซลล์ที่เกิดขึ้นใหม่จะมีลักษณะเหมือนเดิมแต่มี
ขนาดเล็กกว่า
2. การเพิ่มขนาดของเซลล์ เป็นการสร้างสะสมสาร ทาให้เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยทั่วไปแล้ว
เมื่อมีการแบ่งเซลล์แล้วก็จะเพิ่มขนาดของเซลล์ด้วยเสมอ
3. การเปลี่ยนรูปร่างของเซลล์ เพื่อให้เหมาะสมกับหน้าที่เฉพาะอย่าง
* ลักษณะที่แสดงว่าพืชมีการเจริญเติบโต มีดังนี้
1. รากจะยาวและใหญ่ขึ้น มีรากงอกเพิ่มขึ้น มีการแตกแขนงของรากมากขึ้น
2. ลาต้นจะสูงและใหญ่ขึ้น มีการผลิตทั้งตากิ่ง ตาใบ และตาดอก
3. ใบจะมีขนาดใหญ่ขึ้น จานวนใบเพิ่มขึ้น
4. ดอกจะใหญ่ขึ้น หรือดอกเปลี่ยนแปลงเป็นผล
5. เมล็ดจะมีการงอกต้นอ่อน
* ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่
1. อากาศ พืชใช้ก๊าซออกซิเจนในการหายใจ และใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในการสร้างอาหาร
2. น้า ใช้ในกระบวนการลาเลียงน้าและแร่ธาตุใช้ในการสร้างอาหารช่วยลดอุณหภูมิภายในลาต้น
3. แสง ใช้สร้างอาหารและคลอโรฟิลล์
4. แร่ธาตุ ใช้ช่วยในกระบวนการต่าง ๆ ในการดารงชีวิตของพืช ช่วยสร้างคลอโรฟิลล์
5. อุณหภูมิ อุณหภูมิที่พอเหมาะจาเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การงอกของเมล็ดและการ
ทางานของเอนไซม์
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ
กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ
เจริญเติบโตในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโกระบวนการเจริญเติบโตในพืช
ดอกในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก การสรุป
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งการ
ประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอกในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm
9.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอก: www.google.com
9.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอก: www.youtube.com
9.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอก
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเจริญเติบโตของพืชดอก (Flowering Plant Growth and Development)
เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล
(fruit) เขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) ใน
พืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ
ดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) ได้
อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล
(fruit) ในพืชดอกแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) ต่อกระบวนการดารงชีวิตของ
พืชได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
>>> เมื่อรังไข่เปลี่ยนแปลงกลายเป็นผล ผนังรังไข่จะเปลี่ยนเป็นเพริคาร์ป (pericarp) ห่อหุ้มเมล็ดอยู่
ภายใน เพริคาร์ปของผลแต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่างกัน ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ได้แก่ เอกโซ
คาร์ป มีโซคาร์ปและเอนโดคาร์ป
1.1 เอกโซคาร์ป (exocarp)
1.2 มีโซคาร์ป (mesocarp)
1.3 เอนโดคาร์ป (endocarp)
>>> เพริคาร์ปของผลแต่ละชนิดจะแตกต่างกันไป
1. ผลบางชนิดมีเพริคาร์ปเชื่อมติดกันจนแยกไม่ออก
2. ผลบางชนิดส่วนเอกโซคาร์ปและมีโซคาร์ปเชื่อมติดกันหรือแยกกันไม่เด่นชัด
3. เพริคาร์ปของพืชอีกหลายชนิดสามารถแยกเป็น 3 ชั้นชัดเจน
>>> ผลที่กาเนิดมาจากรังไข่แบบอินฟีเรียมีเปลือกนอกเป็นผนังของฐานดอก ส่วนเพริคาร์ปจะอยู่พัด
เข้าไปและมักเชื่อมรวมกันจนสังเกตยาก ผลบางชนิดมีส่วนเนื้อที่รับประทานได้เจริญมาจากฐานดอก
ซึ่งอวบเต่งเจริญเป็นเนื้อผล ส่วนที่เป็นเพริคาร์ปจริง ๆ จะอยู่ข้างใน เนื้อของผลชนิดนี้เรียกว่า ซูโด
คาร์ป (seudocarp)
>>> เมล็ดพืชบางชนิด ส่วนที่เรียกว่าเมล็ดนั้นแท้จริงแล้วคือผลซึ่งเป็นผลที่มีขนาดเล็กมีเพริคาร์ปบาง
มากแนบสนิทกับเยื่อหุ้มเมล็ด ส่วนของแกลบก็คือเพริคาร์ปราคือส่วนเยื่อหุ้มเมล็ดและข้าวสารที่ใช้
รับประทานคือเอนโดสเปิร์ม
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของ
ผล (fruit)
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้าง
และองค์ประกอบของผล (fruit) ในพืชดอกแต่ละประเภท
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญโครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) ต่อ
กระบวนการดารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> โครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) เหมาะสมต่อการทาหน้าที่ในกระบวนการกระจาย
พันธุ์ของพืชดอกอย่างไร
> ประเภทของผล (fruit) สามารถแบ่งออกตามลักษณะโครงสร้างภายในที่เราพบเห็นได้ทั่วไปได้กี่
ประเภทอะไรบ้าง
> องค์ประกอบและโครงสร้างของผล (fruit) มีความสัมพันธ์กับความอยู่รอดของพืชดอกที่อาศัย
อยู่ในบริเวณสิ่งแวดล้อมที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกมี
ความสัมพันธ์กับองค์ประกอบและโครงสร้างของผล (fruit) ที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
กระบวนการสืบพันธุ์พืชดอกที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันโดยเฉพาะด้านโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับ
ผล (fruit) จะมีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “องค์ประกอบและโครงสร้างของผล (fruit)” ว่า
*** เมื่อรังไข่เปลี่ยนแปลงกลายเป็นผล ผนังรังไข่จะเปลี่ยนเป็นเพริคาร์ป (pericarp) ห่อหุ้ม
เมล็ดอยู่ภายใน เพริคาร์ปของผลแต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่างกัน ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ได้แก่ เอกโซ
คาร์ป มีโซคาร์ปและเอนโดคาร์ป
1.1 เอกโซคาร์ป (exocarp) เป็นชั้นนอกสุดของผลที่มักเรียกว่าเปลือก โดยทั่วไปประกอบด้วยเนื้อเยื่อเอพิ
เดอร์มิสเพียงชั้นเดียว แต่ก็มีผลบางชนิดที่เอกโซคาร์ประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลายชั้นและอาจมีปากใบด้วย เอก
โซคาร์ปของพืชแต่ละชนิดจะมีลักษณะแตกต่างกันไป เช่น เรียบเหนียว เป็นมัน ขรุขระ อาจมีหนาม มีขนหรือ
ต่อมน้ามัน
1.2 มีโซคาร์ป (mesocarp) เป็นชั้นกลางถัดจากเอกโซคาร์ปเข้ามา ผลบางชนิดนั้นมีโซคาร์ปหนา บาง
ชนิดบางมาก มีโซคาร์ปของผลบางชนิดเป็นเนื้ออ่อนนุ่มใช้รับประทานได้
1.3 เอนโดคาร์ป (endocarp) เป็นชั้นในสุดของเพริคาร์ป ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่มีความหนาชั้นเดียวหรือ
หลายชั้นจนมีลักษณะหนามาก บางชนิดเป็นเนื้อนุ่มใช้รับประทานได้
*** เพริคาร์ปของผลแต่ละชนิดจะแตกต่างกันไป ผลบางชนิดมีเพริคาร์ปเชื่อมติดกันจนแยก
ไม่ออก เช่น ข้าวโพด ถั่วเขียว ถั่วเหลือง บางชนิดส่วนเอกโซคาร์ปและมีโซคาร์ปเชื่อมติดกันหรือแยกกันไม่
เด่นชัด เช่น มะเขือเทศ มะละกอ ฟัก แต่เพริคาร์ปของพืชอีกหลายชนิดสามารถแยกเป็น 3 ชั้นชัดเจน เช่น
มะม่วง พุทรา มะพร้าว มะปราง
*** ผลที่กาเนิดมาจากรังไข่แบบอินฟีเรีย เช่น แตงกวา ฟักทอง ทับทิมและฝรั่ง มีเปลือกนอก
เป็นผนังของฐานดอก ส่วนเพริคาร์ปจะอยู่พัดเข้าไปและมักเชื่อมรวมกันจนสังเกตยาก ผลบางชนิดมีส่วนเนื้อที่
รับประทานได้เจริญมาจากฐานดอกซึ่งอวบเต่งเจริญเป็นเนื้อผล เช่น แอปเปิ้ล ส่วนที่เป็นเพริคาร์ปจริง ๆ จะ
อยู่ข้างใน เนื้อของผลชนิดนี้เรียกว่า ซูโดคาร์ป (seudocarp)
*** เมล็ดพืชบางชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด ทานตะวัน ดาวเรือง ผักกาดหอม ส่วนที่เรียกว่า
เมล็ดนั้นแท้จริงแล้วคือผล ซึ่งเป็นผลที่มีขนาดเล็ก มีเพริคาร์ปบางมากแนบสนิทกับเยื่อหุ้มเมล็ด ดังในกรณีของ
บัว ส่วนของแกลบก็คือเพริคาร์ป ราคือส่วนเยื่อหุ้มเมล็ดและข้าวสารที่ใช้รับประทานคือ เอนโดสเปิร์ม
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ
ความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของ
โครงสร้างและองค์ประกอบของผล อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและองค์ประกอบของ
ผล (fruit) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของ
ผล การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล อีกทั้งการ
ประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm
9.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit): www.google.com
9.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit): www.youtube.com
9.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit)
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเจริญเติบโตของพืชดอก (Flowering Plant Growth and Development)
เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด
(seed) เขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด
(seed) ในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
การดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) ได้
อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของ
เมล็ด (seed) ในพืชดอกแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) ต่อกระบวนการดารงชีวิต
ของพืชได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
>>> ส่วนประกอบของเมล็ดอาจแยกออกเป็น 3 ส่วนดังนี้
1. เปลือกหุ้มเมล็ด ( Seed coat หรือ Testa )
2. เอนโดสเปิร์ม ( Endosperm )
3. เอ็มบริโอ ( Embryo ) ส่วนนี้ประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ หลายส่วนคือ
3.1 ใบเลี้ยง ( Cotyledon )
3.2 เอพิคอทิล ( Epicoty )
3.3 ไฮโพคอทิล ( Hypocoty )
3.4 แรดิเคิล ( Radicle )
>>> สาหรับในเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเมื่อผ่าดูจะพบเยื่อหุ้มแรดิเคิล ( Coleorhiza ) กับเยื่อหุ้มเอพิคอทิล
( Coleoptil ) เป็นส่วนป้องกันอันตรายแก่ส่วนที่หุ้มเอาไว้ บางคนอธิบายว่าส่วนทั้งสองนี้ คือ ส่วนของใบเลี้ยง
อีกใบหนึ่งของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งตาแหน่งและหน้าที่ รวมทั้งใบเลี้ยงอีกใบหนึ่งที่เหลือนั้น
มักจะเรียกชื่อใหม่ว่า สคิวเตลลัม ( Scutellum )
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของ
เมล็ด (seed)
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้าง
และองค์ประกอบของเมล็ด (seed) ในพืชดอกแต่ละประเภท
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed)
ต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> โครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) เหมาะสมต่อการทาหน้าที่ในกระบวนการ
กระจายพันธุ์ของพืชดอกอย่างไร
> ประเภทของเมล็ด (seed) สามารถแบ่งออกตามลักษณะโครงสร้างภายในที่เราพบเห็นได้ทั่วไป
ได้กี่ประเภทอะไรบ้าง
> องค์ประกอบและโครงสร้างของเมล็ด (seed) มีความสัมพันธ์กับความอยู่รอดของพืชดอกที่
อาศัยอยู่ในบริเวณสิ่งแวดล้อมที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกมี
ความสัมพันธ์กับองค์ประกอบและโครงสร้างของเมล็ด (seed) ที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
กระบวนการสืบพันธุ์พืชดอกที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันโดยเฉพาะด้านโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับ
เมล็ด (seed) จะมีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “องค์ประกอบและโครงสร้างของเมล็ด (seed)” ว่า
*** ส่วนประกอบของเมล็ดอาจแยกออกเป็น 3 ส่วนดังนี้
1. เปลือกหุ้มเมล็ด ( Seed coat หรือ Testa ) ทาหน้าที่ป้องกันส่วนที่อยู่ภายใน โดยป้องกันอันตราย
และป้องกันการคายน้า หากมีเปลือก 2 ชั้น ชั้นนอกจะหนาแข็งแรงและเหนียว ส่วนชั้นในเป็นชั้นบาง ๆ ซึ่ง
บางครั้งชั้นในไม่มี หากเห็นก้านยึดเมล็ดติดกับรังไข่เรียกก้านนี้ว่า ฟันนิคิวลัส ( Funiculus ) เมื่อเมล็ดหลุด
ออกจากก้านจะเห็นเป็นรอยแผลเป็นเล็กๆเรียกว่า ไฮลัม ( Hilum ) ถ้าบริเวณรอยแผลเป็นนั้นมีเนื้อเข็ง ๆ ติด
มา เนื้อนั้นเรียกว่า คารังเคิล ( Caruncle ) ถ้าก้านนี้ติดอยู่กับเปลือกของเมล็ด และเป็นสันขึ้นมาเรียกสันนั้น
ว่า ราฟี ( Raphe ) สันนี้จะอยู่เหนือ รูไมโครไพล์ ( Micropyle ) รูนี้เป็นทางให้หลอดละอองเรณู ( Pollen
tube ) ผ่านเข้าไปตอ นก่อนเกิดการปฏิสนธิและเป็นทางให้รากอ่อน ( Radicle ) งอกออมาจากเมล็ด
2. เอนโดสเปิร์ม ( Endosperm ) เป็นอาหารสะสมสาหรับเอ็มบริโอส่วนใหญ่เป็นอาหารประเภทแป้ง
หรือคาร์โบไฮเดรต มีโปรตีนและไขมันปะปนอยู่ด้วย พบในเมล็ดของพืชใบเลี้ยงคู่บางชนิด เช่น ละหุ่ง ซึ่งมีเอน
โดสเปิร์มแข็ง ส่วนเมล็ดของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น มะพร้าว มีเอนโดสเปิร์มทั้งของแข็งและเหลว คือ
เนื้อมะพร้าว และน้ามะพร้าว ในเมล็ดถั่วเอนโดสเปิร์มจะรวมสะสมอยู่ในใบเลี้ยงจึงเห็นได้ว่าเมล็ดหถั่วสามารถ
แกะแยกออกเป็น 2 ซีกได้โดยง่ายแต่ละซีกนั้น คือ ใบเลี้ยง
3. เอ็มบริโอ ( Embryo ) คือส่วนที่จะเจริญเติบโตเป็นต้นไม้ต่อไป ส่วนนี้ประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ
หลายส่วน คือ
1. ใบเลี้ยง ( Cotyledon ) ในพืชใบเลี้ยงคู่มี 2 ใบ และในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีเพียงใบเดียว ใบเลี้ยง
นี้จะไม่ทาการสังเคราะห์ด้วยแสงและไม่เจริญเติบโตต่อไป
2. เอพิคอทิล ( Epicoty ) ส่วนที่อยู่เหนือตาแหน่งใบเลี้ยง เมื่อเมล็ดงอกเป็นต้นพืชส่วนนี้จะ
กลายเป็นลาต้น ใบ และดอกของพืช
3. ไฮโพคอทิล ( Hypocoty ) เป็นส่วนที่อยู่ใต้ตาแหน่งใบเลี้ยงลงมา เมื่อเจริญเติบโตต่อไปส่วนนี้
จะเป็นส่วนหนึ่งของลาต้น
4. แรดิเคิล ( Radicle ) ส่วนนี้อยู่ถัดจากส่วนของลาต้น คือ อยู่ใต้ไฮโพคอทิลลงมา ต่อไปจะ
เจริญไปเป็นรากแก้ว ซึ่งในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีรากแก้วอยู่ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากนั้นจะเป็นรากฝอย
ซึ่งต่างจากพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีรากแก้วอยู่ตลอด
*** สาหรับในเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเมื่อผ่าดูจะพบเยื่อหุ้มแรดิเคิล ( Coleorhiza ) กับเยื่อหุ้ม
เอพิคอทิล ( Coleoptil ) เป็นส่วนป้องกันอันตรายแก่ส่วนที่หุ้มเอาไว้ บางคนอธิบายว่าส่วนทั้งสองนี้ คือ ส่วน
ของใบเลี้ยงอีกใบหนึ่งของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งตาแหน่งและหน้าที่ รวมทั้งใบเลี้ยงอีกใบหนึ่งที่
เหลือนั้นมักจะเรียกชื่อใหม่ว่า สคิวเตลลัม ( Scutellum )
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ
ความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความ
แตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้าง
และองค์ประกอบของเมล็ด (seed) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของ
เมล็ด (seed) การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด
(seed) อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) ในการศึกษา
ชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm
9.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed):
www.google.com
9.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed): www.youtube.com
9.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด
(seed)
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครู คศ.1 (ชีววิทยา)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเจริญเติบโตของพืชดอก (Flowering Plant Growth and Development)
เรื่อง กระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอก เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอก เขียนสรุป
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้ง
สามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอกได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืช
ดอกแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอกต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช
ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
>>> หลังจากเกิดการปฏิสนธิซ้อนแล้ว รังไข่เจริญไปเป็นผล ส่วนออวูลเจริญไปเป็นเมล็ดซึ่งภายใน
ประกอบด้วยเอ็มบริโอและเอนโดสเปิร์ม โดยมีเปลือกหุ้มเมล็ดล้อมรอบ เมื่อพืชดอกมีการปฏิสนธิซ้อน ทาให้
ได้ทั้งไซโกตและเอนโดสเปิร์มซึ่งไซโกตจะมีการแบ่งเซลล์ต่อๆ ไปเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์กลายเป็น
เอ็มบริโอ ส่วนเอนโดสเปิร์มจะกลายเป็นอาหารให้เอ็มบริโอใช้ในการเจริญเติบโต
>>> การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเอ็มบริโอ เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์
แต่อัตราการแบ่งเซลล์ในแต่ละบริเวณจะไม่เท่ากัน จากนั้นเซลล์จะขยายขนาดเอ็มบริโอจึงเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
การเจริญเติบโตทั้งหมดนี้เกิดขึ้นภายในออวูล ออวูลจึงมีการเจริญเติบโตกลายเป็นเมล็ด รังไข่เจริญไปเป็นผล
>>> จากการศึกษาโครงสร้างของดอกและรังไข่พบว่า พืชดอกแต่ละชนิดมีลักษณะโครงสร้างของดอก
จานวนและตาแหน่งของรังไข่แตกต่างกันออกไป ถ้าหากจาแนกผลตามกระบวนการเกิดผลเป็นเกณฑ์สามารถ
จาแนกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. ผลเดี่ยว (simple fruit)
2. ผลกลุ่ม (aggregate fruit)
3. ผลรวม (multiple fruit)
>>> ลักษณะการงอกของเมล็ด
1. การงอกที่ชูใบเลี้ยงขึ้นมาเหนือดิน (Epigeal germination)
2. การงอกที่ฝังใบเลี้ยงไว้ใต้ดิน (Hypogeal germination)
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) การอธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอก
ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ
เกิดเมล็ดและผลในพืชดอกแต่ละประเภท
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอก
ต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> กระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอกแต่ละชนิดมีความแตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไร
> ลักษณะเมล็ดและผลในพืชดอกที่เราสามารถพบเห็นได้ทั่วไปนั้นจาแนกออกได้เป็นกี่ประเภท
อะไรบ้าง
> หากพืชดอกไม่มีกระบวนการเกิดเมล็ดและผลแล้วจะส่งผลอย่างไรต่อระบบนิเวศและการ
ดารงชีวิตของมนุษย์บ้าง
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืช
ดอกมีความสัมพันธ์กับลักษณะโครงสร้างของพืชดอกที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
กระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอกที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมถิ่นที่อยู่อาศัยแตกต่างกันจะมีความ
แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “กระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอก” ว่า
*** หลังจากเกิดการปฏิสนธิซ้อนแล้ว รังไข่เจริญไปเป็นผล ส่วนออวูลเจริญไปเป็นเมล็ดซึ่ง
ภายในประกอบด้วยเอ็มบริโอและเอนโดสเปิร์ม โดยมีเปลือกหุ้มเมล็ดล้อมรอบ เมื่อพืชดอกมีการปฏิสนธิซ้อน
ทาให้ได้ทั้งไซโกตและเอนโดสเปิร์มซึ่งไซโกตจะมีการแบ่งเซลล์ต่อๆไปเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์กลายเป็น
เอ็มบริโอ ส่วนเอนโดสเปิร์มจะกลายเป็นอาหารให้เอ็มบริโอใช้ในการเจริญเติบโต
*** การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเอ็มบริโอ เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเพื่อเพิ่มจานวน
เซลล์ แต่อัตราการแบ่งเซลล์ในแต่ละบริเวณจะไม่เท่ากัน จากนั้นเซลล์จะขยายขนาดเอ็มบริโอจึงเปลี่ยนแปลง
รูปร่าง การเจริญเติบโตทั้งหมดนี้เกิดขึ้นภายในออวูล ออวูลจึงมีการเจริญเติบโตกลายเป็นเมล็ด รังไข่เจริญไป
เป็นผล
*** จากการศึกษาโครงสร้างของดอกและรังไข่พบว่า พืชดอกแต่ละชนิดมีลักษณะโครงสร้าง
ของดอก จานวนและตาแหน่งของรังไข่แตกต่างกันออกไป ถ้าหากจาแนกผลตามกระบวนการเกิดผลเป็นเกณฑ์
สามารถจาแนกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. ผลเดี่ยว ( simple fruit ) คือผลที่เกิดมาจากรังไข่อันเดียวในดอกเดียวกัน ดอกอาจเป็นดอกเดี่ยว
หรือดอกช่อก็ได้ โดยลักษณะของดอกเดี่ยวที่จะกลายเป็นผลเดี่ยวนั้น จะ ต้องเป็นดอก 1 ดอก และมีรังไข่ 1
อัน เช่น ผลส้ม มะเขือ ฟักทอง แอปเปิ้ล
2. ผลกลุ่ม ( aggregate fruit ) คือ ผลที่เกิดจากรังไข่หลายรังไข่หรือกลุ่มของรังไข่ ในดอกเดียวกัน
ของดอกเดี่ยว รังไข่แต่ละอันก็จะกลายเปนผลย่อยหนึ่งผล เช่น ผลน้อยหน่า สตรอเบอรี เป็นต้น
3. ผลรวม ( multiple fruit ) คือผลที่เกิดจากรังไข่ ของดอกแต่ละดอกของ ดอกช่อซึ่งเชื่อมรวมกัน
แน่น รังไข่เหล่านี้จะกลายเป็นผลย่อย ๆ เชื่อมรวมกันแน่นจนคล้ายเป็นผลเดี่ยวโดยลักษณะของดอกที่จะ
กลายเป็นผลรวมนั้น จะเป็นดอกช่อที่มีรังไข่ของดอกย่อย แต่ละดอกมาเชื่อมรวมกัน ได้แก่ ผลสับปะรด ขนุน
สาเก ยอ หม่อน มะเดื่อ เป็นต้น
*** ลักษณะการงอกของเมล็ด
1. การงอกที่ชูใบเลี้ยงขึ้นมาเหนือดิน (Epigeal germination) รากอ่อนงอกโผล่พ้นเมล็ดออกทางรูไม
โครโพล์ (micropyle) เจริญสู่พื้นดินจากนั้น ไฮโปคอติล (hypocotyl) จะงอกและเจริญยึดยาวตามอย่าง
รวดเร็ว ดึงส่วนของใบเลี้ยง (cotyldon) กับ เอปิคอติล (epicotyl) ขึ้นมาเหนือดิน เช่น การงอกของพืชใน
เลี้ยงคู่ต่าง ๆ
2. การงอกที่ฝังใบเลี้ยงไว้ใต้ดิน (Hypogeal germination) พบใน พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชพวกนี้มีไฮโป
คอติล (hypocotyl) สั้น เจริญช้า ส่วนเอปิคอติล (epicotyl) และยอดอ่อน (plumule) เจริญยืดยาวได้อย่าง
รวดเร็ว เช่น เมล็ดข้าว ข้าวโพด หญ้า ฯลฯ
*** การพักตัวของเมล็ด (Dormancy) หมายถึง สภาพที่เอมบริโอในเมล็ดสามารถคงสภาพ
และมีชีวิตอยู่ได้โดยไม่เกิดการงอก
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth

More Related Content

What's hot

Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...Ketsarin Prommajun
 
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Wichai Likitponrak
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่aapiaa
 

What's hot (20)

Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
 
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
 
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
 
Lessonplan 4animalreproduce2
Lessonplan 4animalreproduce2Lessonplan 4animalreproduce2
Lessonplan 4animalreproduce2
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
 
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62
 
Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2
 
Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561
 
Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6
 
Contentbio4lesson4
Contentbio4lesson4Contentbio4lesson4
Contentbio4lesson4
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 

Similar to Lesson3 plantgrowth

แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101Kobwit Piriyawat
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงคุณครูพี่อั๋น
 
นาว
นาวนาว
นาวwisnun
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3sopa sangsuy
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้าkai kk
 
ส่งงงงงงงงงงงงงงงง
ส่งงงงงงงงงงงงงงงงส่งงงงงงงงงงงงงงงง
ส่งงงงงงงงงงงงงงงงGraciala Brigette
 
อบรมวิทยากรแกนนำ
อบรมวิทยากรแกนนำอบรมวิทยากรแกนนำ
อบรมวิทยากรแกนนำpoomarin
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 

Similar to Lesson3 plantgrowth (20)

05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ส่งงงงงงงงงงงงงงงง
ส่งงงงงงงงงงงงงงงงส่งงงงงงงงงงงงงงงง
ส่งงงงงงงงงงงงงงงง
 
อบรมวิทยากรแกนนำ
อบรมวิทยากรแกนนำอบรมวิทยากรแกนนำ
อบรมวิทยากรแกนนำ
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Lesson3 plantgrowth

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การเจริญเติบโตของพืชดอก (Flowering Plant Growth and Development) จานวน 5 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 15 ชั่วโมง ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของผล (Fruit) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (Seed) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง กระบวนการเกิดผลและเมล็ดในพืชดอก ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 เรื่อง การวัดการเจริญเติบโตของพืชดอก ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเจริญเติบโตของพืชดอก (Flowering Plant Growth and Development) เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก เขียนสรุป เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้ง สามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอก แต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืชได้ อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ >>> การเจริญเติบโตของพืช มี 3 กระบวนการต่าง ๆ เกิดขึ้นคือ 1. การแบ่งเซลล์ ทาให้มีจานวนเซลล์เพิ่มมากขึ้น เซลล์ที่เกิดขึ้นใหม่จะมีลักษณะเหมือนเดิม แต่มีขนาดเล็กกว่า 2. การเพิ่มขนาดของเซลล์ เป็นการสร้างสะสมสาร ทาให้เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยทั่วไปแล้ว เมื่อมีการแบ่งเซลล์แล้วก็จะเพิ่มขนาดของเซลล์ด้วยเสมอ 3. การเปลี่ยนรูปร่างของเซลล์ เพื่อให้เหมาะสมกับหน้าที่เฉพาะอย่าง >>> ลักษณะที่แสดงว่าพืชมีการเจริญเติบโต มีดังนี้ 1. รากจะยาวและใหญ่ขึ้น มีรากงอกเพิ่มขึ้น มีการแตกแขนงของรากมากขึ้น 2. ลาต้นจะสูงและใหญ่ขึ้น มีการผลิตทั้งตากิ่ง ตาใบ และตาดอก 3. ใบจะมีขนาดใหญ่ขึ้น จานวนใบเพิ่มขึ้น 4. ดอกจะใหญ่ขึ้น หรือดอกเปลี่ยนแปลงเป็นผล 5. เมล็ดจะมีการงอกต้นอ่อน
  • 3. >>> ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ 1. อากาศ พืชใช้ก๊าซออกซิเจนในการหายใจ และใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในการสร้าง อาหาร 2. น้า ใช้ในกระบวนการลาเลียงน้าและแร่ธาตุใช้ในการสร้างอาหารช่วยลดอุณหภูมิภายในลา ต้น 3. แสง ใช้สร้างอาหารและคลอโรฟิลล์ 4. แร่ธาตุ ใช้ช่วยในกระบวนการต่าง ๆ ในการดารงชีวิตของพืช ช่วยสร้างคลอโรฟิลล์ 5. อุณหภูมิ อุณหภูมิที่พอเหมาะจาเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การงอกของเมล็ด และการทางานของเอนไซม์ 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ เจริญเติบโตในพืชดอกแต่ละประเภท คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกต่อ กระบวนการดารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
  • 4. > กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกแต่ละชนิดมีความแตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไร > กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกที่เราสามารถพบได้ทั่วไปจาแนกออกได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง > หากพืชดอกไม่มีกระบวนการเจริญเติบโตแล้วจะส่งผลอย่างไรต่อระบบนิเวศและการดารงชีวิต ของมนุษย์บ้าง ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกมี ความสัมพันธ์กับลักษณะโครงสร้างของพืชดอกที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอกที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมถิ่นที่อยู่อาศัยแตกต่างกันจะมีความแตกต่าง กันหรือไม่ อย่างไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก” ว่า * การเจริญเติบโตของพืช มี 3 กระบวนการต่าง ๆ เกิดขึ้นคือ 1. การแบ่งเซลล์ ทาให้มีจานวนเซลล์เพิ่มมากขึ้น เซลล์ที่เกิดขึ้นใหม่จะมีลักษณะเหมือนเดิมแต่มี ขนาดเล็กกว่า 2. การเพิ่มขนาดของเซลล์ เป็นการสร้างสะสมสาร ทาให้เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยทั่วไปแล้ว เมื่อมีการแบ่งเซลล์แล้วก็จะเพิ่มขนาดของเซลล์ด้วยเสมอ 3. การเปลี่ยนรูปร่างของเซลล์ เพื่อให้เหมาะสมกับหน้าที่เฉพาะอย่าง
  • 5. * ลักษณะที่แสดงว่าพืชมีการเจริญเติบโต มีดังนี้ 1. รากจะยาวและใหญ่ขึ้น มีรากงอกเพิ่มขึ้น มีการแตกแขนงของรากมากขึ้น 2. ลาต้นจะสูงและใหญ่ขึ้น มีการผลิตทั้งตากิ่ง ตาใบ และตาดอก 3. ใบจะมีขนาดใหญ่ขึ้น จานวนใบเพิ่มขึ้น 4. ดอกจะใหญ่ขึ้น หรือดอกเปลี่ยนแปลงเป็นผล 5. เมล็ดจะมีการงอกต้นอ่อน * ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ 1. อากาศ พืชใช้ก๊าซออกซิเจนในการหายใจ และใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในการสร้างอาหาร 2. น้า ใช้ในกระบวนการลาเลียงน้าและแร่ธาตุใช้ในการสร้างอาหารช่วยลดอุณหภูมิภายในลาต้น 3. แสง ใช้สร้างอาหารและคลอโรฟิลล์ 4. แร่ธาตุ ใช้ช่วยในกระบวนการต่าง ๆ ในการดารงชีวิตของพืช ช่วยสร้างคลอโรฟิลล์ 5. อุณหภูมิ อุณหภูมิที่พอเหมาะจาเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การงอกของเมล็ดและการ ทางานของเอนไซม์
  • 6. นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ กระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ เจริญเติบโตในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโกระบวนการเจริญเติบโตในพืช ดอกในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของกระบวนการเจริญเติบโตของพืชดอก การสรุป เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งการ ประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอกในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm 9.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอก: www.google.com 9.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอก: www.youtube.com 9.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง กระบวนการเจริญเติบโตในพืชดอก 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 7. แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) ครูผู้สอน
  • 8. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเจริญเติบโตของพืชดอก (Flowering Plant Growth and Development) เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) เขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) ใน พืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ ดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) ได้ อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) ในพืชดอกแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) ต่อกระบวนการดารงชีวิตของ พืชได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ >>> เมื่อรังไข่เปลี่ยนแปลงกลายเป็นผล ผนังรังไข่จะเปลี่ยนเป็นเพริคาร์ป (pericarp) ห่อหุ้มเมล็ดอยู่ ภายใน เพริคาร์ปของผลแต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่างกัน ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ได้แก่ เอกโซ คาร์ป มีโซคาร์ปและเอนโดคาร์ป 1.1 เอกโซคาร์ป (exocarp) 1.2 มีโซคาร์ป (mesocarp) 1.3 เอนโดคาร์ป (endocarp) >>> เพริคาร์ปของผลแต่ละชนิดจะแตกต่างกันไป 1. ผลบางชนิดมีเพริคาร์ปเชื่อมติดกันจนแยกไม่ออก 2. ผลบางชนิดส่วนเอกโซคาร์ปและมีโซคาร์ปเชื่อมติดกันหรือแยกกันไม่เด่นชัด 3. เพริคาร์ปของพืชอีกหลายชนิดสามารถแยกเป็น 3 ชั้นชัดเจน >>> ผลที่กาเนิดมาจากรังไข่แบบอินฟีเรียมีเปลือกนอกเป็นผนังของฐานดอก ส่วนเพริคาร์ปจะอยู่พัด
  • 9. เข้าไปและมักเชื่อมรวมกันจนสังเกตยาก ผลบางชนิดมีส่วนเนื้อที่รับประทานได้เจริญมาจากฐานดอก ซึ่งอวบเต่งเจริญเป็นเนื้อผล ส่วนที่เป็นเพริคาร์ปจริง ๆ จะอยู่ข้างใน เนื้อของผลชนิดนี้เรียกว่า ซูโด คาร์ป (seudocarp) >>> เมล็ดพืชบางชนิด ส่วนที่เรียกว่าเมล็ดนั้นแท้จริงแล้วคือผลซึ่งเป็นผลที่มีขนาดเล็กมีเพริคาร์ปบาง มากแนบสนิทกับเยื่อหุ้มเมล็ด ส่วนของแกลบก็คือเพริคาร์ปราคือส่วนเยื่อหุ้มเมล็ดและข้าวสารที่ใช้ รับประทานคือเอนโดสเปิร์ม 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของ ผล (fruit) ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้าง และองค์ประกอบของผล (fruit) ในพืชดอกแต่ละประเภท คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญโครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) ต่อ กระบวนการดารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > โครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) เหมาะสมต่อการทาหน้าที่ในกระบวนการกระจาย พันธุ์ของพืชดอกอย่างไร
  • 10. > ประเภทของผล (fruit) สามารถแบ่งออกตามลักษณะโครงสร้างภายในที่เราพบเห็นได้ทั่วไปได้กี่ ประเภทอะไรบ้าง > องค์ประกอบและโครงสร้างของผล (fruit) มีความสัมพันธ์กับความอยู่รอดของพืชดอกที่อาศัย อยู่ในบริเวณสิ่งแวดล้อมที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกมี ความสัมพันธ์กับองค์ประกอบและโครงสร้างของผล (fruit) ที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น กระบวนการสืบพันธุ์พืชดอกที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันโดยเฉพาะด้านโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับ ผล (fruit) จะมีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “องค์ประกอบและโครงสร้างของผล (fruit)” ว่า *** เมื่อรังไข่เปลี่ยนแปลงกลายเป็นผล ผนังรังไข่จะเปลี่ยนเป็นเพริคาร์ป (pericarp) ห่อหุ้ม เมล็ดอยู่ภายใน เพริคาร์ปของผลแต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่างกัน ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ได้แก่ เอกโซ คาร์ป มีโซคาร์ปและเอนโดคาร์ป 1.1 เอกโซคาร์ป (exocarp) เป็นชั้นนอกสุดของผลที่มักเรียกว่าเปลือก โดยทั่วไปประกอบด้วยเนื้อเยื่อเอพิ เดอร์มิสเพียงชั้นเดียว แต่ก็มีผลบางชนิดที่เอกโซคาร์ประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลายชั้นและอาจมีปากใบด้วย เอก โซคาร์ปของพืชแต่ละชนิดจะมีลักษณะแตกต่างกันไป เช่น เรียบเหนียว เป็นมัน ขรุขระ อาจมีหนาม มีขนหรือ ต่อมน้ามัน 1.2 มีโซคาร์ป (mesocarp) เป็นชั้นกลางถัดจากเอกโซคาร์ปเข้ามา ผลบางชนิดนั้นมีโซคาร์ปหนา บาง ชนิดบางมาก มีโซคาร์ปของผลบางชนิดเป็นเนื้ออ่อนนุ่มใช้รับประทานได้ 1.3 เอนโดคาร์ป (endocarp) เป็นชั้นในสุดของเพริคาร์ป ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่มีความหนาชั้นเดียวหรือ หลายชั้นจนมีลักษณะหนามาก บางชนิดเป็นเนื้อนุ่มใช้รับประทานได้ *** เพริคาร์ปของผลแต่ละชนิดจะแตกต่างกันไป ผลบางชนิดมีเพริคาร์ปเชื่อมติดกันจนแยก ไม่ออก เช่น ข้าวโพด ถั่วเขียว ถั่วเหลือง บางชนิดส่วนเอกโซคาร์ปและมีโซคาร์ปเชื่อมติดกันหรือแยกกันไม่
  • 11. เด่นชัด เช่น มะเขือเทศ มะละกอ ฟัก แต่เพริคาร์ปของพืชอีกหลายชนิดสามารถแยกเป็น 3 ชั้นชัดเจน เช่น มะม่วง พุทรา มะพร้าว มะปราง *** ผลที่กาเนิดมาจากรังไข่แบบอินฟีเรีย เช่น แตงกวา ฟักทอง ทับทิมและฝรั่ง มีเปลือกนอก เป็นผนังของฐานดอก ส่วนเพริคาร์ปจะอยู่พัดเข้าไปและมักเชื่อมรวมกันจนสังเกตยาก ผลบางชนิดมีส่วนเนื้อที่ รับประทานได้เจริญมาจากฐานดอกซึ่งอวบเต่งเจริญเป็นเนื้อผล เช่น แอปเปิ้ล ส่วนที่เป็นเพริคาร์ปจริง ๆ จะ อยู่ข้างใน เนื้อของผลชนิดนี้เรียกว่า ซูโดคาร์ป (seudocarp) *** เมล็ดพืชบางชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด ทานตะวัน ดาวเรือง ผักกาดหอม ส่วนที่เรียกว่า เมล็ดนั้นแท้จริงแล้วคือผล ซึ่งเป็นผลที่มีขนาดเล็ก มีเพริคาร์ปบางมากแนบสนิทกับเยื่อหุ้มเมล็ด ดังในกรณีของ บัว ส่วนของแกลบก็คือเพริคาร์ป ราคือส่วนเยื่อหุ้มเมล็ดและข้าวสารที่ใช้รับประทานคือ เอนโดสเปิร์ม นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ ความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของ โครงสร้างและองค์ประกอบของผล อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและองค์ประกอบของ ผล (fruit) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของ ผล การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของผล อีกทั้งการ ประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 12. 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm 9.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit): www.google.com 9.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit): www.youtube.com 9.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของผล (fruit) 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) ครูผู้สอน
  • 13. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเจริญเติบโตของพืชดอก (Flowering Plant Growth and Development) เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) เขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) ในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้งสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน การดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) ได้ อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของ เมล็ด (seed) ในพืชดอกแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) ต่อกระบวนการดารงชีวิต ของพืชได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ >>> ส่วนประกอบของเมล็ดอาจแยกออกเป็น 3 ส่วนดังนี้ 1. เปลือกหุ้มเมล็ด ( Seed coat หรือ Testa ) 2. เอนโดสเปิร์ม ( Endosperm ) 3. เอ็มบริโอ ( Embryo ) ส่วนนี้ประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ หลายส่วนคือ 3.1 ใบเลี้ยง ( Cotyledon ) 3.2 เอพิคอทิล ( Epicoty ) 3.3 ไฮโพคอทิล ( Hypocoty ) 3.4 แรดิเคิล ( Radicle ) >>> สาหรับในเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเมื่อผ่าดูจะพบเยื่อหุ้มแรดิเคิล ( Coleorhiza ) กับเยื่อหุ้มเอพิคอทิล ( Coleoptil ) เป็นส่วนป้องกันอันตรายแก่ส่วนที่หุ้มเอาไว้ บางคนอธิบายว่าส่วนทั้งสองนี้ คือ ส่วนของใบเลี้ยง อีกใบหนึ่งของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งตาแหน่งและหน้าที่ รวมทั้งใบเลี้ยงอีกใบหนึ่งที่เหลือนั้น มักจะเรียกชื่อใหม่ว่า สคิวเตลลัม ( Scutellum )
  • 14. 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของ เมล็ด (seed) ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้าง และองค์ประกอบของเมล็ด (seed) ในพืชดอกแต่ละประเภท คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) ต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > โครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) เหมาะสมต่อการทาหน้าที่ในกระบวนการ กระจายพันธุ์ของพืชดอกอย่างไร > ประเภทของเมล็ด (seed) สามารถแบ่งออกตามลักษณะโครงสร้างภายในที่เราพบเห็นได้ทั่วไป ได้กี่ประเภทอะไรบ้าง > องค์ประกอบและโครงสร้างของเมล็ด (seed) มีความสัมพันธ์กับความอยู่รอดของพืชดอกที่ อาศัยอยู่ในบริเวณสิ่งแวดล้อมที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการสืบพันธุ์ในพืชดอกมี ความสัมพันธ์กับองค์ประกอบและโครงสร้างของเมล็ด (seed) ที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
  • 15. นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น กระบวนการสืบพันธุ์พืชดอกที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันโดยเฉพาะด้านโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับ เมล็ด (seed) จะมีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “องค์ประกอบและโครงสร้างของเมล็ด (seed)” ว่า *** ส่วนประกอบของเมล็ดอาจแยกออกเป็น 3 ส่วนดังนี้ 1. เปลือกหุ้มเมล็ด ( Seed coat หรือ Testa ) ทาหน้าที่ป้องกันส่วนที่อยู่ภายใน โดยป้องกันอันตราย และป้องกันการคายน้า หากมีเปลือก 2 ชั้น ชั้นนอกจะหนาแข็งแรงและเหนียว ส่วนชั้นในเป็นชั้นบาง ๆ ซึ่ง บางครั้งชั้นในไม่มี หากเห็นก้านยึดเมล็ดติดกับรังไข่เรียกก้านนี้ว่า ฟันนิคิวลัส ( Funiculus ) เมื่อเมล็ดหลุด ออกจากก้านจะเห็นเป็นรอยแผลเป็นเล็กๆเรียกว่า ไฮลัม ( Hilum ) ถ้าบริเวณรอยแผลเป็นนั้นมีเนื้อเข็ง ๆ ติด มา เนื้อนั้นเรียกว่า คารังเคิล ( Caruncle ) ถ้าก้านนี้ติดอยู่กับเปลือกของเมล็ด และเป็นสันขึ้นมาเรียกสันนั้น ว่า ราฟี ( Raphe ) สันนี้จะอยู่เหนือ รูไมโครไพล์ ( Micropyle ) รูนี้เป็นทางให้หลอดละอองเรณู ( Pollen tube ) ผ่านเข้าไปตอ นก่อนเกิดการปฏิสนธิและเป็นทางให้รากอ่อน ( Radicle ) งอกออมาจากเมล็ด 2. เอนโดสเปิร์ม ( Endosperm ) เป็นอาหารสะสมสาหรับเอ็มบริโอส่วนใหญ่เป็นอาหารประเภทแป้ง หรือคาร์โบไฮเดรต มีโปรตีนและไขมันปะปนอยู่ด้วย พบในเมล็ดของพืชใบเลี้ยงคู่บางชนิด เช่น ละหุ่ง ซึ่งมีเอน โดสเปิร์มแข็ง ส่วนเมล็ดของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น มะพร้าว มีเอนโดสเปิร์มทั้งของแข็งและเหลว คือ เนื้อมะพร้าว และน้ามะพร้าว ในเมล็ดถั่วเอนโดสเปิร์มจะรวมสะสมอยู่ในใบเลี้ยงจึงเห็นได้ว่าเมล็ดหถั่วสามารถ แกะแยกออกเป็น 2 ซีกได้โดยง่ายแต่ละซีกนั้น คือ ใบเลี้ยง 3. เอ็มบริโอ ( Embryo ) คือส่วนที่จะเจริญเติบโตเป็นต้นไม้ต่อไป ส่วนนี้ประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ หลายส่วน คือ 1. ใบเลี้ยง ( Cotyledon ) ในพืชใบเลี้ยงคู่มี 2 ใบ และในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีเพียงใบเดียว ใบเลี้ยง นี้จะไม่ทาการสังเคราะห์ด้วยแสงและไม่เจริญเติบโตต่อไป 2. เอพิคอทิล ( Epicoty ) ส่วนที่อยู่เหนือตาแหน่งใบเลี้ยง เมื่อเมล็ดงอกเป็นต้นพืชส่วนนี้จะ กลายเป็นลาต้น ใบ และดอกของพืช
  • 16. 3. ไฮโพคอทิล ( Hypocoty ) เป็นส่วนที่อยู่ใต้ตาแหน่งใบเลี้ยงลงมา เมื่อเจริญเติบโตต่อไปส่วนนี้ จะเป็นส่วนหนึ่งของลาต้น 4. แรดิเคิล ( Radicle ) ส่วนนี้อยู่ถัดจากส่วนของลาต้น คือ อยู่ใต้ไฮโพคอทิลลงมา ต่อไปจะ เจริญไปเป็นรากแก้ว ซึ่งในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีรากแก้วอยู่ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากนั้นจะเป็นรากฝอย ซึ่งต่างจากพืชใบเลี้ยงคู่ที่มีรากแก้วอยู่ตลอด *** สาหรับในเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเมื่อผ่าดูจะพบเยื่อหุ้มแรดิเคิล ( Coleorhiza ) กับเยื่อหุ้ม เอพิคอทิล ( Coleoptil ) เป็นส่วนป้องกันอันตรายแก่ส่วนที่หุ้มเอาไว้ บางคนอธิบายว่าส่วนทั้งสองนี้ คือ ส่วน ของใบเลี้ยงอีกใบหนึ่งของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งตาแหน่งและหน้าที่ รวมทั้งใบเลี้ยงอีกใบหนึ่งที่ เหลือนั้นมักจะเรียกชื่อใหม่ว่า สคิวเตลลัม ( Scutellum ) นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและ ความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความ แตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้าง และองค์ประกอบของเมล็ด (seed) ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map และทาใบงานเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของโครงสร้างและองค์ประกอบของ เมล็ด (seed) การสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) ในการศึกษา ชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30243 ชีววิทยา 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
  • 17. 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 แหล่งเรียนรู้สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.6 เว็ปไซต์งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ): http://www.rspg.or.th/botanical_school/index.htm 9.7 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed): www.google.com 9.8 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed): www.youtube.com 9.9 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและองค์ประกอบของเมล็ด (seed) 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครู คศ.1 (ชีววิทยา) ครูผู้สอน
  • 18. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเจริญเติบโตของพืชดอก (Flowering Plant Growth and Development) เรื่อง กระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอก เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาเอกชีววิทยา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอก เขียนสรุป เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอกแต่ละประเภท อีกทั้ง สามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอกได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืช ดอกแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอกต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ >>> หลังจากเกิดการปฏิสนธิซ้อนแล้ว รังไข่เจริญไปเป็นผล ส่วนออวูลเจริญไปเป็นเมล็ดซึ่งภายใน ประกอบด้วยเอ็มบริโอและเอนโดสเปิร์ม โดยมีเปลือกหุ้มเมล็ดล้อมรอบ เมื่อพืชดอกมีการปฏิสนธิซ้อน ทาให้ ได้ทั้งไซโกตและเอนโดสเปิร์มซึ่งไซโกตจะมีการแบ่งเซลล์ต่อๆ ไปเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์กลายเป็น เอ็มบริโอ ส่วนเอนโดสเปิร์มจะกลายเป็นอาหารให้เอ็มบริโอใช้ในการเจริญเติบโต >>> การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเอ็มบริโอ เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ แต่อัตราการแบ่งเซลล์ในแต่ละบริเวณจะไม่เท่ากัน จากนั้นเซลล์จะขยายขนาดเอ็มบริโอจึงเปลี่ยนแปลงรูปร่าง การเจริญเติบโตทั้งหมดนี้เกิดขึ้นภายในออวูล ออวูลจึงมีการเจริญเติบโตกลายเป็นเมล็ด รังไข่เจริญไปเป็นผล >>> จากการศึกษาโครงสร้างของดอกและรังไข่พบว่า พืชดอกแต่ละชนิดมีลักษณะโครงสร้างของดอก จานวนและตาแหน่งของรังไข่แตกต่างกันออกไป ถ้าหากจาแนกผลตามกระบวนการเกิดผลเป็นเกณฑ์สามารถ จาแนกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ผลเดี่ยว (simple fruit) 2. ผลกลุ่ม (aggregate fruit) 3. ผลรวม (multiple fruit)
  • 19. >>> ลักษณะการงอกของเมล็ด 1. การงอกที่ชูใบเลี้ยงขึ้นมาเหนือดิน (Epigeal germination) 2. การงอกที่ฝังใบเลี้ยงไว้ใต้ดิน (Hypogeal germination) 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) การอธิบายความหมายและความสาคัญของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอก ทักษะ / กระบวนการ (P) การเขียนสรุปเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกระบวนการ เกิดเมล็ดและผลในพืชดอกแต่ละประเภท คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอก ต่อกระบวนการดารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > กระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอกแต่ละชนิดมีความแตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไร > ลักษณะเมล็ดและผลในพืชดอกที่เราสามารถพบเห็นได้ทั่วไปนั้นจาแนกออกได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง > หากพืชดอกไม่มีกระบวนการเกิดเมล็ดและผลแล้วจะส่งผลอย่างไรต่อระบบนิเวศและการ ดารงชีวิตของมนุษย์บ้าง
  • 20. ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืช ดอกมีความสัมพันธ์กับลักษณะโครงสร้างของพืชดอกที่มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น กระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอกที่มีการปรับตัวในสิ่งแวดล้อมถิ่นที่อยู่อาศัยแตกต่างกันจะมีความ แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “กระบวนการเกิดเมล็ดและผลในพืชดอก” ว่า *** หลังจากเกิดการปฏิสนธิซ้อนแล้ว รังไข่เจริญไปเป็นผล ส่วนออวูลเจริญไปเป็นเมล็ดซึ่ง ภายในประกอบด้วยเอ็มบริโอและเอนโดสเปิร์ม โดยมีเปลือกหุ้มเมล็ดล้อมรอบ เมื่อพืชดอกมีการปฏิสนธิซ้อน ทาให้ได้ทั้งไซโกตและเอนโดสเปิร์มซึ่งไซโกตจะมีการแบ่งเซลล์ต่อๆไปเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์กลายเป็น เอ็มบริโอ ส่วนเอนโดสเปิร์มจะกลายเป็นอาหารให้เอ็มบริโอใช้ในการเจริญเติบโต *** การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเอ็มบริโอ เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเพื่อเพิ่มจานวน เซลล์ แต่อัตราการแบ่งเซลล์ในแต่ละบริเวณจะไม่เท่ากัน จากนั้นเซลล์จะขยายขนาดเอ็มบริโอจึงเปลี่ยนแปลง รูปร่าง การเจริญเติบโตทั้งหมดนี้เกิดขึ้นภายในออวูล ออวูลจึงมีการเจริญเติบโตกลายเป็นเมล็ด รังไข่เจริญไป เป็นผล *** จากการศึกษาโครงสร้างของดอกและรังไข่พบว่า พืชดอกแต่ละชนิดมีลักษณะโครงสร้าง ของดอก จานวนและตาแหน่งของรังไข่แตกต่างกันออกไป ถ้าหากจาแนกผลตามกระบวนการเกิดผลเป็นเกณฑ์ สามารถจาแนกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ผลเดี่ยว ( simple fruit ) คือผลที่เกิดมาจากรังไข่อันเดียวในดอกเดียวกัน ดอกอาจเป็นดอกเดี่ยว หรือดอกช่อก็ได้ โดยลักษณะของดอกเดี่ยวที่จะกลายเป็นผลเดี่ยวนั้น จะ ต้องเป็นดอก 1 ดอก และมีรังไข่ 1 อัน เช่น ผลส้ม มะเขือ ฟักทอง แอปเปิ้ล 2. ผลกลุ่ม ( aggregate fruit ) คือ ผลที่เกิดจากรังไข่หลายรังไข่หรือกลุ่มของรังไข่ ในดอกเดียวกัน ของดอกเดี่ยว รังไข่แต่ละอันก็จะกลายเปนผลย่อยหนึ่งผล เช่น ผลน้อยหน่า สตรอเบอรี เป็นต้น 3. ผลรวม ( multiple fruit ) คือผลที่เกิดจากรังไข่ ของดอกแต่ละดอกของ ดอกช่อซึ่งเชื่อมรวมกัน แน่น รังไข่เหล่านี้จะกลายเป็นผลย่อย ๆ เชื่อมรวมกันแน่นจนคล้ายเป็นผลเดี่ยวโดยลักษณะของดอกที่จะ
  • 21. กลายเป็นผลรวมนั้น จะเป็นดอกช่อที่มีรังไข่ของดอกย่อย แต่ละดอกมาเชื่อมรวมกัน ได้แก่ ผลสับปะรด ขนุน สาเก ยอ หม่อน มะเดื่อ เป็นต้น *** ลักษณะการงอกของเมล็ด 1. การงอกที่ชูใบเลี้ยงขึ้นมาเหนือดิน (Epigeal germination) รากอ่อนงอกโผล่พ้นเมล็ดออกทางรูไม โครโพล์ (micropyle) เจริญสู่พื้นดินจากนั้น ไฮโปคอติล (hypocotyl) จะงอกและเจริญยึดยาวตามอย่าง รวดเร็ว ดึงส่วนของใบเลี้ยง (cotyldon) กับ เอปิคอติล (epicotyl) ขึ้นมาเหนือดิน เช่น การงอกของพืชใน เลี้ยงคู่ต่าง ๆ 2. การงอกที่ฝังใบเลี้ยงไว้ใต้ดิน (Hypogeal germination) พบใน พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชพวกนี้มีไฮโป คอติล (hypocotyl) สั้น เจริญช้า ส่วนเอปิคอติล (epicotyl) และยอดอ่อน (plumule) เจริญยืดยาวได้อย่าง รวดเร็ว เช่น เมล็ดข้าว ข้าวโพด หญ้า ฯลฯ *** การพักตัวของเมล็ด (Dormancy) หมายถึง สภาพที่เอมบริโอในเมล็ดสามารถคงสภาพ และมีชีวิตอยู่ได้โดยไม่เกิดการงอก