SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทที่ 1 : ที่มาและความสาคัญ

บทที่ 4 : ผลการดาเนินงาน
บทที่ 5 : สรุ ปผลและอภิปรายการทดลอง

บทที่ 2 : เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ภาคผนวก

บทที่ 3 : วิธีการดาเนินงาน

เอกสารอ้างอิง
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชิ้นนี้ สาเร็จลุล่วงได้ ด้วยความกรุ ณาของโรงเรียนยุพราช
วิทยาลัย กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและ
เทคโนโลยี โดยมีครู ที่ปรึ กษา คือ คุ ณครู เชษฐา แซ่ เต็งและ คุ ณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ที่ช่ว ยให้ คาปรึ กษาแนะแนวทางในการแก้ ปัญญา การดาเนิ นการโครงงาน การให้ การ
สนับสนุ น จนโครงงานชิ้นนี้สาเร็ จลุล่วงไปด้ วยดี และขอขอบคุณ ผู้ปกครองของคณะ
ผู้จัดทาทุกท่ าน ที่คอยให้ การสนับสนุนในการทาโครงงานชิ้นนี้ ขอบคุณเพื่อนและรุ่ นพี่ที่
ช่ วยให้ คาแนะนาและความสะดวกในการปฏิบัติการทดลอง จึ งขอขอบคุ ณทุ กท่ านมา
ณ ทีนี้ ที่ได้ ให้ ความช่ วยเหลือ และได้ ให้ กาลังใจมาตลอด
่
คณะผู้จัดทา
บทที่ 1 : ที่มาและความสาคัญ
ข้า ว เป็ นสิ่ ง ที่ คู่ ค วรกับ คนไทยมาช้า นาน ไม่ ว่า จะด้า นการด ารงชี วิ ต
เกษตรกรรม เศรษฐกิจ ก็ตาม จึงเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นอย่างยิง แต่ในสภาพปั จจุบน สภาพ
ั
่
อากาศที่ เปลี่ยนแปลง อุณหภูมิสูงขึ้น ฝนไม่ตกตามฤดูกาล เกิดพายุ ปรากฏการณ์
่
ทางธรรมชาติ เป็ นต้นอันเนื่องมาจากปั ญหาสภาวะโลกร้อน และในปี 2554 ที่ผาน
มานี้ ทางภาคกลางและปริ มณฑลของประเทศไทย ได้ประสบปั ญหาน้ าท่วม ส่ งผล
ให้เครื่ องอุปโภค บริ โภคนั้น ขาดแคลน และข้าวก็เป็ นสิ่ งหนึ่ งที่ทุกชีวิตต้องการเพื่อ
ความอยู่ร อด ถึ ง แม้ข ้า วปลาอาหารที่ ไ ด้รั บ การบริ จ าคมานั้น จะเพี ย งพอก็ต าม
แต่ก็ตองเก็บไว้เผื่อวันอื่นๆด้วย จึงอาจเกิดปั ญหาข้าวบูดได้และต้องทิ้งไป ข้าวเป็ น
้
สารอาหารประเภทคาร์ โ บไฮเดรต ซึ่ งประกอบด้ว ยแป้ ง ชนิ ด อะไมโลสและ
อะไมโลแพกติน
จากภูมิปัญญาท้องถิ่ น ในการหุ งข้าวนั้น จะเติมน้ าส้มสายชูลงไปด้วย
แล้วสามารถถนอมข้าวได้นาน 4-5 วัน โดยไม่บูด น้ าส้มสายชูซ่ ึ งเป็ นกรดน้ าส้ม
ได้จากการหมักน้ าผลไม้และพบแบคทีเรี ย Acetobacter ที่สามารถเปลี่ยนเอทิลแอ
กอฮอล์ให้เป็ นน้ าส้มสายชูได้ การเกิดข้าวบูดนั้น อาจเกิดขึ้นมาจาก อุณหภูมิที่สูง
จุ ลิ น ทรี ย์ เอนไซม์ ความชื้ น เป็ นต้น จากข้า งต้น ทางกลุ่ ม เราจึ ง ได้แ นวคิ ด
โครงงานเกี่ ย วกับ การถนอมข้า วบู ด ให้เ ก็บ ไว้ไ ด้น าน จึ ง ลองน าสารที่ พ บใน
ชีวิตประจาวัน เช่น น้ ามะนาว น้ ามะขาม มาศึกษาเช่นเดียวกับน้ าส้มสายชู โดยมี
การควบคุมตัวแปรทั้ง 3 พร้ อมทั้งเปรี ยบเที ยบประสิ ทธิ ของระยะเวลาในการ
ั
ชะลอข้าวบูดด้วย เพื่อประโยชน์ในการนาไปประยุกต์ใช้กบการดารงชีวตต่อไป
ิ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาประสิ ทธิ ภาพของน้ ามะนาว น้ ามะขามเปี ยกและน้ าส้มสายชูที่ใช้
ในการชะลอการบูดของข้าว
ขอบเขตการศึกษา
ตัวแปรต้น : น้ าส้มสายชู น้ ามะนาว น้ ามะขาม
ตัวแปรตาม : ระยะเวลาที่ขาวอยูได้นานที่สุด
้ ่
ตัวแปรควบคุม : ชนิดหม้อหุ งข้าวและภาชนะที่เก็บ เก็บข้าวอุณหภูมิหอง
้
ระยะเวลาในการหุ งข้าว
ประโยชน์
1.เพื่อศึกษาประสิ ทธิ ภาพของกรดที่พบได้ทวไปมาใช้ในการชะลอข้าวบูด
ั่
ั
2.เพื่อเป็ นการนาสารในชีวิตประจาวันมาประยุกต์ใช้กบในชีวตประจาวัน
ิ
3.เพื่อสามารถเก็บข้าวให้ได้นานที่สุด
4.เป็ นการลดปั ญหาขยะจากเศษอาหารก่อได้เกิดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม
สมมติฐาน
1.ถ้าน้ าส้มสายชูซ่ ึ งมีความเป็ นกรด สามารถถนอมข้าวบูดให้เก็บไว้ได้นาน
็
ดังนั้น กรดชนิดอื่นที่สามารถรับประทานได้กสามารถชะลอการบูดของข้าวได้
บทที่ 2 : เอกสารที่เกียวข้ อง
่
1.ข้ าวหอมมะลิ (อังกฤษ: Thai jasmine rice) เป็ นสายพันธุ์ขาวที่มีถิ่นกาเนิ ดใน
้
ประเทศไทยมีลกษณะกลิ่นหอมคล้ายใบเตย เป็ นพันธุ์ขาวที่ทาให้ขาวไทยเป็ น
ั
้
้
สิ นค้าส่ งออกที่รู้จกไปทัวโลก
ั
่
1.1 ลักษณะจาเพาะของข้าวหอมมะลิ ความหอมของข้าวหอมมะลิ เกิดจากสาร
ระเหยชื่อ 2-acetyl-1-pyroline ซึ่ งเป็ นสารที่ระเหยหายไปได้ การรักษาความ
่
หอมของข้าวหอมมะลิให้คงอยูนานนั้นจึงควรเก็บข้าวไว้ในที่เย็น อุณหภูมิ
ประมาณ 15 องศาเซลเซี ยส เก็บข้าวเปลือกที่มีความชื้นต่า 14-15% ลดความชื้น
ข้าวเปลือกที่อุณหภูมิไม่สูงเกินไป นักการเกษตรกรบางท่านกล่าวว่า การใช้ปุ๋ย
โปตัสเซี ยมในการปลูก มีแนวโน้มช่วยให้ขาวมีกลิ่นหอมมากขึ้น
้
1.2 คุณสมบัติของข้าวหอมมะลิ ข้าวหอมมะลิที่นิยมปลูกและบริ โภคกัน
อย่างแพร่ หลายคือพันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 และ พันธุ์ กข.15 ความหอมของ
ข้าวหอมมะลิ เกิดจากสารระเหยชื่อ 2-acetyl-1-pyroline ซึ่ งเป็ นสารที่ระเหย
หายไปได้ การรั กษาความหอมของข้าวหอมที่ ดีตองเริ่ มตั้งแต่ การเก็บเกี่ ยว
้
การเก็บรักษาข้าวเปลือกการสี ขาว และการเก็บรักษาข้าวที่สีเรี ยบร้อยแล้วการ
้
จะรักษาความหอมของข้าวเอาไว้ตองพยายามหลีกเลี่ยงภาวะแวดล้อมที่ร้อน
้
อบอ้าวและมีความชื้นสู ง การตากแดดหรื อใกล้สถานที่ร้อนจัดเป็ นเวลานานๆ
เป็ น สิ่ งที่ ควรหลีกเลี่ยงอย่างยิ่งสภาวะที่ เหมาะสมคือที่ ที่มีอากาศค่อนข้าง
เย็น มีการถ่ายเทของอากาศดี ความชื้นไม่สูง
2. มะนาว (อังกฤษ: lime)
่
มะนาว (อังกฤษ: Lime) เป็ นไม้ผลชนิดหนึ่ ง ผลมีรสเปรี้ ยวจัด จัดอยูในสกุล
ส้ม (Citrus) ผลสี เขียว เมื่อสุ กจัดจะเป็ นสี เหลือง เปลือกบาง ภายในมีเนื้อแบ่งกลีบๆ
ชุ่มน้ ามาก นับเป็ นผลไม้ที่มีคุณค่า นิ ยมใช้เป็ นเครื่ องปรุ งรส นอกจากนี้ยงถือว่ามีคุณค่า
ั
ทางโภชนาการและทางการแพทย์ดวย
้
2.1 ลักษณะทัวไป ผลมะนาวโดยทัวไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ
่
่
่
4 – 4.5 ซม. ต้นมะนาวเป็ นไม้พุมเตี้ย สู งเต็มที่ราว 5 เมตร ก้านมีหนามเล็กน้อย มักมีขน
ดก ใบยาวเรี ยวเล็กน้อย คล้ายใบส้ม ส่ วนดอกสี ขาวอมเหลือง ปกติจะมีดอกผลตลอด
ทั้งปี แต่ในช่วงหน้าหนาว จะออกผลน้อย และมีน้ าน้อย
มะนาวเป็ นพืชพื้นเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ผูคนในภูมิภาคนี้ รู้จก
้
ั
และใช้ประโยชน์จากมะนาวมาช้านาน น้ ามะนาวนอกจากใช้ปรุ งรสเปรี้ ยวในอาหาร
หลายประเภทแล้ว ยังนามาใช้เป็ นเครื่ องดื่ ม ผสมเกลือ และน้ าตาล เป็ นน้ ามะนาว
ซึ่ งเป็ นที่รู้จกกันดีท้ งในประเทศไทย และต่างประเทศทัวโลก นอกจากนี้ เครื่ องดื่ ม
ั
ั
่
ั
แอลกอฮอล์บางชนิ ดยังนิ ยมฝานมะนาวเป็ นชิ้ นบางๆ เสี ยบไว้กบขอบแก้ว เพื่อใช้
แต่งรส
ในผลมะนาวมีน้ ามันหอมระเหยถึง 7% แต่กลิ่นไม่ฉุนอย่างมะกรู ด น้ ามะนาว
จึ งมี ประโยชน์สาหรั บใช้เป็ นส่ วนผสมน้ ายาทาความสะอาด เครื่ องหอม และการ
บาบัดด้วยกลิ่น (aromatherapy) หรื อน้ ายาล้างจาน ส่ วนคุณสมบัติที่สาคัญ ทว่าเพิ่ง
ได้ทราบเมื่ อไม่ชานานมานี้ ก็คือ การส่ งเสริ มโรคลักปิ ดลักเปิ ด ซึ่ งเคยเป็ นปั ญหา
้
ของนักขายโรตี มาช้านาน ภายหลังได้มีการค้นพบว่าสาเหตุที่มะนาวสามารถช่วย
ป้ องกันโรคลักปิ ดลักเปิ ด เพราะในมะนาวมีไวตามินซี เป็ นปริ มาณมาก
3.นาส้ มสายชู กรดน้ าส้ม (Acetic acid) มีคุณสมบัติที่ให้รสเปรี้ ยว เพราะไม่มีพิษ
้
ต่อร่ างกายใช้หมักดองถนอมอาหาร ด้วยการดองและใช้ปรับอาหารให้เป็ นกรด ประเภทของ
น้ าส้มสายชูแบ่งออกเป็ น 3 ชนิด ได้แก่
1.น้ าส้มสายชูหมัก คือ การหมักน้ าตาล ให้เกิดแอลกอฮอล์(alcoholic fermentation) โดยใช้
ยีสต์ (yeast) ตามด้วยการหมักแอลกอฮอล์ให้เกิดกรด อะซิ กติก (acetic acid fermentation)
ด้วยแบคทีเรี ยในกลุ่ม Acetobacter และ Gluconobacter
2. น้ าส้มสายชูกลัน เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาเอทธิ ลอัลกอฮอล์กลันเจือจางมาหมักกับ
่
่
เชื้อน้ าส้มสายชู หรื อเมื่อหมักแล้วนาไปกลัน (distillation)
่
3. น้ าส้มสายชูเทียม เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาเอากรดน้ าส้ม (Acetic acid) ซึ่ งสังเคราะห์
ขึ้นทางเคมี เป็ นกรดอินทรี ยมีฤทธิ์ เป็ นกรดอ่อนมีความเข้มข้นประมาณ 95 % มาเจือจางจน
์
ได้ปริ มาณกรด 4 - 7% ลักษณะใส ไม่มีสี กรดน้ าส้มที่นามาเจือจางจะต้องมีความบริ สุทธิ์ สู ง
เหมาะสมที่จะนามาเป็ นอาหารได้และน้ าที่ใช้เจือจางต้องเหมาะสมที่จะใช้ดื่มได้
4.มะขาม (Tamarindus indica L.)
4.1ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tamarindus indica L.
4.2ชื่อสามัญ : Tamarind, Indian date
4.3วงศ์ : Leguminosae - Caesalpinioideae
4.4 ลัก ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต ้น ขนาดกลางจนถึ ง ขนาดใหญ่ แ ตก
กิ่ งก้านสาขามาก เปลื อกต้นขรุ ขระและหนา สี น้ าตาลอ่อน ใบ เป็ นใบประกอบ
ใบเล็กออกตามกิ่งก้านใบเป็ นคู่ ใบย่อยเป็ นรู ปขอบขนาน ปลายใบและโคนใบมน
ดอก ออกเป็ นช่อเล็กๆ ตามปลายกิ่ง หนึ่ งช่อมี 10-15 ดอก ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบ
ดอกสี เหลืองและมี จุดประสี แดงอยู่กลางดอก ผล เป็ นฝั กยาว รู ปร่ างยาวหรื อโค้ง
ยาว 3-20 ซม. ฝั กอ่อนมีเปลือกสี เขียวอมเทา สี น้ าตาลเกรี ยม เนื้ อในติดกับเปลือก
เมื่อแก่ฝักเปลี่ยนเป็ นเปลือกแข็งกรอบหักง่าย สี น้ าตาล เนื้ อในกลายเป็ นสี น้ าตาล
หุ มเมล็ด เนื้อมีรสเปรี้ ยวและหวาน
้
่
5.ราหรือเชื้อรา เป็ นจุลินทรี ย ์ เป็ นเซลล์ยแคริ โอตที่อยูในอาณาจักรเห็ดรามี
ู
โครโมโซมเพียงชุดเดียว (haploid) มีผนังเซลล์ ส่ วนใหญ่ประกอบด้วยไคติน(chitin) ไม่
มีคลอโรฟิ ลล์ ดารงชีพแบบ saprophyte คือ หลังเอนไซม์ออกนอกเซลล์ เพื่อย่อยสลาย
่
สารอินทรี ยที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อนให้ได้เป็ นโมเลกุลที่เล็กที่สุดแล้วจึงดูดซับ
์
เข้าไปภายในเซลล์ เชื้อรา มีความหลากหลายมาก พบทั้งที่สิ่งมีชีวตเซลล์เดียว เช่น ยีสต์
ิ
เส้นใย (hypha) และดอกเห็ด (mushroom) เส้นใยหรื อไฮฟา (hypha) เมื่อรวมกลุ่มจานวน
มาก เรี ยกว่า mycelium เส้นใยแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
1. เส้นใยแบบมีผนังกั้น (septate hypha) สามารถเห็นนิวเคลียสและไซโตพลาสซึ ม
เป็ นช่องๆได้อย่างชัดเจน
2. เส้นใยแบบไม่มีผนังกั้น (nonseptate hypha หรื อ coenocytic hypha) นิวเคลียส
่ ั
และไซโตพลาสซึ มจะอยูกนอย่างกระจัดกระจาย
เชื้ อราส่ วนใหญ่มีการดารงชี พทั้งที่เป็ นอิสระหรื อ saprophyte และก่อให้เกิด
โรคกับพืชและสัตว์ เชื้ อราแบ่งตามแหล่งกาเนิ ด อาจมีท้ งที่เป็ นเชื้ อราบกพบทัวไป
ั
่
ในดิน (terrestrial fungi) เชื้อราน้ า (aquatic fungi) ทั้งเชื้อราน้ าจืด (fresh water
่
fungi) และเชื้ อราน้ าเค็ม (marine fungi) ในบรรดาเชื้ อราที่เจริ ญอยูตามแหล่ง
ธรรมชาติเหล่านี้ มีเชื้อราจานวนมาก ที่สามารถนามาเลี้ยงให้เจริ ญบนอาหารที่เจริ ญ
อยู่ตามแหล่งธรรมชาติ เหล่านี้ มีเชื้ อราจานวนมากที่ สามาถนามาเลี้ ยงให้เจริ ญบน
อาหารเลี้ยงเชื้อในห้องปฏิบติการได้
ั
5.1 การสื บพันธุ์ของเชื้อรา
5.1.1 แบบไม่อาศัยเพศโดยอาจจะเกิดจาก
-การสร้างสปอร์ ซึ่ งจะไปงอกเป็ นไมซี เลียมที่มีนิวเคลียสเป็ น n
-เส้นใยแตกหักออกไปแล้วเจริ ญเป็ นไมซี เลียมอันใหม่
-การแบ่งออกเป็ นสองส่ วนหรื อการแตกหน่อ
5.1.2 แบบอาศัยเพศได้โดยเส้นใยที่เป็ น n หลอมรวมกันแล้วรวมนิ วเคลียสเป็ น 2n เกิด
่
ั
่
จากการรวมตัวของนิ วเคลียส (nucleus) จากสองเซลล์ที่อยูใกล้กนหรื ออยูคนละ hypha
แล้วมีการแบ่งเซลล์แบบ meiosis เจริ ญเป็ น sexual spore ซึ่ งมีรูปร่ างต่างๆ กัน โดยมี
่
จานวนสปอร์ ภายในเครื่ องห่อหุ มหรื ออยูบนโครงสร้างพิเศษจานวนจากัด
้
บทที่ 3 : วิธีการดาเนินงาน
ในการจัดทาโครงงาน เรื่ อง การศึกษากรดกับประสิ ทธิ ภาพการชะลอข้าวบูด ผูจดทามี
้ั
วิธีการดาเนิน โครงงาน ดังหัวข้อ ต่อไปนี้
3. 1 อุปกรณ์ สารเคมี และเครื่องมือทีใช้
่
1. ข้าวหอมมะลิ 1 ถ้วยตวง ต่อการทดลองแต่ละครั้ง
2. หม้อหุงข้าวยีหอ
่ ้
3. น้ าส้มสายชู 1 ช้อนชา
4. น้ ามะนาวสด 1 ช้อนชา และ 10 ลูกบาศก์เซนติเมตรในการทดลองหาความเข้มข้น
5. น้ ามะขามเปี ยก 1 ช้อนชา และ 10 ลูกบาศก์เซนติเมตรในการทดลองหาความเข้มข้น
อุปกรณ์ สารเคมี และเครื่องมือที่ใช้ (ต่ อ)
6. น้ าเปล่า
7. ภาชนะเก็บ
8. เทอร์โมมิเตอร์
9.บิกเกอร์
10.ปิ เปต
11.ขาตั้ ง
12.จุกยาง
่
13.ขาดลูกชมพูขนาด 250 และ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
14.กระดาษกรอง
3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอกับครู ที่ปรึ กษา
2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน เรื่ อง การชะลอข้าวบูดด้วยกรด ว่า ข้าว
บูด เกิดจากอะไร เชื้อจุลินทรี ยชื่อไร แล้วเมื่อหุ งข้าวที่เติมน้ าส้มสายชูน้ น สามารถเก็บข้าวโดย
์
ั
ไม่ใส่ ตเู ้ ย็นนานกว่าหุ งข้าวแบบปกติ และจะทดลองว่า สารที่เป็ นกรดที่สามารถรับประทานได้
จะสามารถชะลอข้าวบูดได้เหมือนกับน้ าส้มสายชูและเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทาเนื้อหาต่อไป
3. นาข้อมูลที่ได้มาปรึ กษาครู ที่ปรึ กษาเพื่อที่จะนามาจัดทาโครงร่ างโครงงานต่อไป
4. ทาการทดลองเกี่ยวกับเรื่ องที่จะศึกษา ถึงความเป็ นไปของกรดที่จะสามารถชะลอข้าวบูด
่
ได้เช่นเดียวกับน้ าส้มสายชู ซึ่ งเป็ นภูมิปัญญาพื้นบ้านอยูแล้ว
5. นาเสนอความคืบหน้าเป็ นระยะๆ และปรึ กษากับปั ญหาที่เกิดขึ้น การดาเนิ นวานเพื่อจัดทา
เป็ นรู ปเล่มสมบูรณ์ต่อไป
6. จัดพิมพ์รูปเล่มที่สมบูรณ์และงาน Power Point
7.นาเสนอผลงานกับครู ที่ปรึ กษา
3.3 วิธีการทดลอง
เพื่อศึกษาการชะลอข้าวบูดโดยการใช้สารที่มีสมบัติความเป็ นกรด
1. หุ งข้าวด้วยน้ าเปล่าปกติ จานวน ½ ถ้วยตวง จัดเป็ นชุดควบคุม เมื่อข้าว
สุ กแล้วเก็บข้าวใส่ ในภาชนะ ณ อุณหภูมิหอง
้
2. ทาการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 1 แต่เติม โดยมีอตราส่ วน น้ าที่ใช้หุงต่อ
ั
น้ าส้มสายชู,น้ ามะนาวสด,น้ ามะขาม เป็ น 1:1เมื่อข้าวสุ ก เก็บข้าวใส่ ในภาชนะ ณ
อุณหภูมิหอง จัดเป็ นการทดลอง ชุดที่ 1 2 และ 3 ตามลาดับ
้
3. วัดอุณหภูมิที่มีผลต่อการศึกษาทาให้ขาวบูดทุก 8 ชัวโมง บันทึกผลและ
้
่
สังเกตลักษณะที่เปลี่ยนแปลงหลังหุ งข้าวเสร็ จและสังเกต สี กลิ่น รสชาติ ทุกวัน
เป็ นเวลา 5 วัน บันทึกผลการทดลอง
3.4. การไทเทรตเพือหาความเข้ มข้ นของสาร
่
3.3.1 วิธีการไทเทรต
1. ล้างบิวเรตต์ให้สะอาดแล้วตั้งบิวเรตต์เข้ากับตัวหนีบ
2. ละลาย NaOH จานวน 2 กรัม ลงในบิกเกอร์ คนให้สารละลายละลายหมด
จากนั้นปิ เปตต์ดูดสารละลายNaOH 10 ลูกษาศก์เซนติเมตรใส่ ลงในขวดลูกชมพู
ขนาด 250 ลูกบาศก์เซนติเมตรจากนั้นเติมน้ าจนครบ250 ลูกบาศก์เซนติเมตร
จากนั้นเทสารละลายลงในบิเรตโดยใช้กรวยกรอง
3. คั้นน้ ามะนาวจานวน 1 ลูก น้ ามะขามจานวน 2 กรัม จากนั้นกรองให้เหลือ
แต่น้ าโดยใช้กระดาษกรอง
4. ใช้ปิเปตต์ดูดน้ ามะนาวและน้ ามะขามอย่างล่ะ 10 ลูกบาศก์เซนติเมตรใส่ ลงในขวด
ลูกชมพูขนาดเล็ก
5. หยดอินดิเคเตอร์ 2-3 หยดเพื่อใช้เป็ นตัวบอกจุดยุติ
่
6. หยดสารละลายในบิวเรตต์ลงในขวดลูกชมพูอย่างช้า ๆ พร้อมทั้งแกว่งขวดลูกชมพู่
ด้วยมือขวาให้วนไปในทิศทางเดียวกัน จนกระทังถึงจุดยุติ
่
7.ทาการทดลองทั้ง 2 สาร อย่างล่ะ 3 ครั้ง จากนั้นคานวณเพื่อหาค่าเฉลี่ย
8. คานวณหาความเข้มข้นของสารโดยใช้สูตร
บทที่ 4 : ผลการดาเนินงาน
การจัดทาโครงงานชิ้นนี้ มีวตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิ ทธิภาพของกรดที่ใช้ในการชะลอข้าวบูดและเพื่อ
ั
เปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพของกรดที่จะชะลอข้าวบูดได้นานที่สุด เพื่อสามารถนาข้อสรุ ปที่ได้นาไปใช้ใน
ชีวตประจาวัน ซึ่งมีผลการดาเนินโครงงานต่อไปนี้
ิ
4.1 ตางรางบันทึกผลการทดลอง
ลักษณะของข้าวที่หุงเสร็จ
ระดับที่ 1 มีเชื้อราเกิดที่ผวด้านบนของข้าว ขนาด0.5-2 ซม. จานวน 1-3 จุด
ิ
ระดับที่ 2 มีเชื้อราเกิดบริ เวณผิวและผิวด้านข้างของข้าวที่ติดกับภาชนะ ขนาด 2-3 ซม. จานวน 3-5 จุด
ระดับที่ 3 มีเชื้อราเกิดเป็ นแผ่นกว้างด้านบนและด้านข้างของข้าวที่ติดกับภาชนะขนาดกว้าง 3-5 ซม. มาก
กกว่า 5จุด มีกลิ่นเหม็น
ระดับที่ 4 มีเชื้อราเกิดขึ้นเต็มด้านบนของข้าวและด้านในบางส่ วน มีกลิ่นเหม็น ข้าวแฉะ
ระดับที่ 5 มีเชื้อราเกิดขึ้นทุกส่ วนของข้าวในภาชนะ มีกลิ่นเหม็น ข้าวแฉะ
ตารางการทดลอง
ตารางที่ 1 แสดงผลการทดลอง เปรี ยบเทียบลักษณะของข้าวก่อนหุ งและหลังหุ งเสร็ จ

ชุดที่

สารที่ใช้/วิธีการ

อุณหภูมิ

ลักษณะของข้าวก่อนหุง

ลักษณะของข้าวหลังจากหุงเสร็จ

1
2

หุงข้าวปกติ
เติมน้ าส้มสายชู

26 °C
26 °C

คล้ายข้าวหุงปกติ
มีกลิ่นฉุนของน้ าส้มสายชู

คล้ายข้าวหุงปกติ
มีกลิ่นฉุ นของน้ าส้มสายชู

3

เติมน้ ามะนาว

26 °C

มีกลิ่นฉุนของน้ ามะนาว

มีกลิ่นฉุ นของน้ ามะนาว

4

เติมน้ ามะขาม

26 °C

สี ของน้ าข้าวเป็ นสี น้ าตาล

มีกลิ่นฉุนของน้ ามะขาม
ตางรางที่ 2 การทดลองวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 (วันที่ 4) อุณหภูมิ 26 °C
ลักษณะของข้าวที่หุง

ประเภทของน้ าที่ใช้
ในการหุ งข้าว

1

1.น้ าส้มสายชู

/

2.น้ ามะขาม

2

/

3.น้ ามะนาว

/

4.น้ าเปล่า(ตัวแปรควบคุม)

/

3

4

5
ตางรางที่ 7 การทดลองวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 (วันที่ 7) อุณหภูมิ 24 °C
ประเภทของน้ าที่ใช้
ในการหุ งข้าว

1.น้ าส้มสายชู
2.น้ ามะขาม
3.น้ ามะนาว
4.น้ าเปล่า(ตัวแปรควบคุม)

1

2

ลักษณะของข้าวที่หุง
3
4

5

/
/
/
/
บทที่ 5 : สรุ ปผลและอภิปรายการทดลอง
อภิปรายผลการทดลอง
จากการทดลอง เรื่ อง การชะลอข้าวบูดโดยใช้สารที่ พบในห้องครั ว เช่ น น้ า
มะนาว น้ ามะขาม น้ าส้มสายชู โดยมีน้ าเปล่าเป็ นตัวควบคุมการทดลอง ในการทดลองนี้
ทาโดยวิธีการหุงข้าวขนาด 1 ลิตรด้วยน้ าเปล่า ให้เป็ นตัวควบคุม และหุ งข้าวขนาด 1 ลิตร
ผสมกับน้ ามะนาว น้ ามะขาม น้ าส้มสายชู ให้เป็ นการทดลองที่ 2 3 และ 4 ตามลาดับ
โดยการตรวจสอบผลการทดลอง โดยการดมกลิ่ น ดูสีของข้าว ดูลกษณะของข้าวแฉะ
ั
และการดูการเกิดเชื้อราจากตารางในบทที่ 4
สรุ ปผลการทดลอง
่
จากตารางบันทึกผลการทดลอง สรุ ปได้วา ข้าวที่ผสมน้ าส้มสายชูเกิดเชื้อราขึ้น
น้อยที่สุดอันดับ 1 รองลงมา คือ น้ ามะขาม น้ ามะนาวและหุ งด้วยน้ าเปล่าปกติ ตามลาดับ
ปัญหาและอุปสรรค
1.สภาพอากาศ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปมีผลต่อผลการทดลอง
ข้ อเสนอแนะ
1. การทดลองในขั้นต่อไป คือ การหาปริ มาณที่พอเมาะของน้ าส้มสายชูของการบูดของ
ข้าวนานที่สุด
เอกสารอ้างอิง
www.yesspathailand.com/น้ ามันหอมระเหย/การผลิตการสกัด
www.patomsit.net/index.php
http://plantscience.igetweb.com/index.php?mo=3&art=167525
http://plantscience.igetweb.com/index.php?mo=3&art=167525
www.lemonfarm.com/lmf/index.php
brrd.in.th/rvdb/index.php?option=com_content&view
www.foodnetworksolution.com/vocab/.../barley-ข้าวบาร์เลย์
http://www.patomsit.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=539236403
ภาคผนวก
ข้าวที่หุงด้วยน้ าปกติ(ตัวแปรควบคุม)
เมื่อเวลาผ่านไป 4 วัน

ข้าวที่หุงด้วยน้ าปกติ(ตัวแปรควบคุม)
เมื่อเวลาผ่านไป 7 วัน
ภาคผนวก
ข้าวที่หุงด้วยน้ ามะนาว
เมื่อเวลาผ่านไป 4 วัน

ข้าวที่หุงด้วยน้ ามะนาว
เมื่อเวลาผ่านไป 7 วัน
ข้าวที่หุงด้วยน้ ามะขาม
เมื่อเวลาผ่านไป 4 วัน

ข้าวที่หุงด้วยน้ ามะขาม
เมื่อเวลาผ่านไป 7 วัน
ข้าวที่หุงด้วยน้ าส้มสายชู
เมื่อเวลาผ่านไป 4 วัน

ข้าวที่หุงด้วยน้ าส้มสายชู
เมื่อเวลาผ่านไป 7 วัน
บรรณานุกรม
www.yesspathailand.com/น้ ามันหอมระเหย/การผลิตการสกัด
www.patomsit.net/index.php
http://plantscience.igetweb.com/index.php?mo=3&art=167525
http://plantscience.igetweb.com/index.php?mo=3&art=167525
www.lemonfarm.com/lmf/index.php
brrd.in.th/rvdb/index.php?option=com_content&view
www.foodnetworksolution.com/vocab/.../barley-ข้าวบาร์เลย์
http://www.patomsit.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=539236403
Home

More Related Content

What's hot

เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
Enormity_tung
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
Bio Beau
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
Tanyarad Chansawang
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Sarocha Makranit
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
พัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
Champ Wachwittayakhang
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 

What's hot (20)

เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 

Viewers also liked

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
kasetpcc
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
พัน พัน
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
พัน พัน
 

Viewers also liked (7)

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 

Similar to โครงงาน เพาว์เวอร์พอย

โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
Theyok Tanya
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Kaka619
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
korakate
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
korakate
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
พัน พัน
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
Wichai Likitponrak
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
Wasan Yodsanit
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
korakate
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
Wichai Likitponrak
 

Similar to โครงงาน เพาว์เวอร์พอย (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 

โครงงาน เพาว์เวอร์พอย

  • 1.
  • 2.
  • 3. สารบัญ กิตติกรรมประกาศ บทที่ 1 : ที่มาและความสาคัญ บทที่ 4 : ผลการดาเนินงาน บทที่ 5 : สรุ ปผลและอภิปรายการทดลอง บทที่ 2 : เอกสารที่เกี่ยวข้อง ภาคผนวก บทที่ 3 : วิธีการดาเนินงาน เอกสารอ้างอิง
  • 4. กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ ชิ้นนี้ สาเร็จลุล่วงได้ ด้วยความกรุ ณาของโรงเรียนยุพราช วิทยาลัย กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและ เทคโนโลยี โดยมีครู ที่ปรึ กษา คือ คุ ณครู เชษฐา แซ่ เต็งและ คุ ณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ที่ช่ว ยให้ คาปรึ กษาแนะแนวทางในการแก้ ปัญญา การดาเนิ นการโครงงาน การให้ การ สนับสนุ น จนโครงงานชิ้นนี้สาเร็ จลุล่วงไปด้ วยดี และขอขอบคุณ ผู้ปกครองของคณะ ผู้จัดทาทุกท่ าน ที่คอยให้ การสนับสนุนในการทาโครงงานชิ้นนี้ ขอบคุณเพื่อนและรุ่ นพี่ที่ ช่ วยให้ คาแนะนาและความสะดวกในการปฏิบัติการทดลอง จึ งขอขอบคุ ณทุ กท่ านมา ณ ทีนี้ ที่ได้ ให้ ความช่ วยเหลือ และได้ ให้ กาลังใจมาตลอด ่ คณะผู้จัดทา
  • 5. บทที่ 1 : ที่มาและความสาคัญ ข้า ว เป็ นสิ่ ง ที่ คู่ ค วรกับ คนไทยมาช้า นาน ไม่ ว่า จะด้า นการด ารงชี วิ ต เกษตรกรรม เศรษฐกิจ ก็ตาม จึงเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นอย่างยิง แต่ในสภาพปั จจุบน สภาพ ั ่ อากาศที่ เปลี่ยนแปลง อุณหภูมิสูงขึ้น ฝนไม่ตกตามฤดูกาล เกิดพายุ ปรากฏการณ์ ่ ทางธรรมชาติ เป็ นต้นอันเนื่องมาจากปั ญหาสภาวะโลกร้อน และในปี 2554 ที่ผาน มานี้ ทางภาคกลางและปริ มณฑลของประเทศไทย ได้ประสบปั ญหาน้ าท่วม ส่ งผล ให้เครื่ องอุปโภค บริ โภคนั้น ขาดแคลน และข้าวก็เป็ นสิ่ งหนึ่ งที่ทุกชีวิตต้องการเพื่อ ความอยู่ร อด ถึ ง แม้ข ้า วปลาอาหารที่ ไ ด้รั บ การบริ จ าคมานั้น จะเพี ย งพอก็ต าม แต่ก็ตองเก็บไว้เผื่อวันอื่นๆด้วย จึงอาจเกิดปั ญหาข้าวบูดได้และต้องทิ้งไป ข้าวเป็ น ้ สารอาหารประเภทคาร์ โ บไฮเดรต ซึ่ งประกอบด้ว ยแป้ ง ชนิ ด อะไมโลสและ อะไมโลแพกติน
  • 6. จากภูมิปัญญาท้องถิ่ น ในการหุ งข้าวนั้น จะเติมน้ าส้มสายชูลงไปด้วย แล้วสามารถถนอมข้าวได้นาน 4-5 วัน โดยไม่บูด น้ าส้มสายชูซ่ ึ งเป็ นกรดน้ าส้ม ได้จากการหมักน้ าผลไม้และพบแบคทีเรี ย Acetobacter ที่สามารถเปลี่ยนเอทิลแอ กอฮอล์ให้เป็ นน้ าส้มสายชูได้ การเกิดข้าวบูดนั้น อาจเกิดขึ้นมาจาก อุณหภูมิที่สูง จุ ลิ น ทรี ย์ เอนไซม์ ความชื้ น เป็ นต้น จากข้า งต้น ทางกลุ่ ม เราจึ ง ได้แ นวคิ ด โครงงานเกี่ ย วกับ การถนอมข้า วบู ด ให้เ ก็บ ไว้ไ ด้น าน จึ ง ลองน าสารที่ พ บใน ชีวิตประจาวัน เช่น น้ ามะนาว น้ ามะขาม มาศึกษาเช่นเดียวกับน้ าส้มสายชู โดยมี การควบคุมตัวแปรทั้ง 3 พร้ อมทั้งเปรี ยบเที ยบประสิ ทธิ ของระยะเวลาในการ ั ชะลอข้าวบูดด้วย เพื่อประโยชน์ในการนาไปประยุกต์ใช้กบการดารงชีวตต่อไป ิ
  • 7. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาประสิ ทธิ ภาพของน้ ามะนาว น้ ามะขามเปี ยกและน้ าส้มสายชูที่ใช้ ในการชะลอการบูดของข้าว ขอบเขตการศึกษา ตัวแปรต้น : น้ าส้มสายชู น้ ามะนาว น้ ามะขาม ตัวแปรตาม : ระยะเวลาที่ขาวอยูได้นานที่สุด ้ ่ ตัวแปรควบคุม : ชนิดหม้อหุ งข้าวและภาชนะที่เก็บ เก็บข้าวอุณหภูมิหอง ้ ระยะเวลาในการหุ งข้าว
  • 8. ประโยชน์ 1.เพื่อศึกษาประสิ ทธิ ภาพของกรดที่พบได้ทวไปมาใช้ในการชะลอข้าวบูด ั่ ั 2.เพื่อเป็ นการนาสารในชีวิตประจาวันมาประยุกต์ใช้กบในชีวตประจาวัน ิ 3.เพื่อสามารถเก็บข้าวให้ได้นานที่สุด 4.เป็ นการลดปั ญหาขยะจากเศษอาหารก่อได้เกิดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม สมมติฐาน 1.ถ้าน้ าส้มสายชูซ่ ึ งมีความเป็ นกรด สามารถถนอมข้าวบูดให้เก็บไว้ได้นาน ็ ดังนั้น กรดชนิดอื่นที่สามารถรับประทานได้กสามารถชะลอการบูดของข้าวได้
  • 9. บทที่ 2 : เอกสารที่เกียวข้ อง ่ 1.ข้ าวหอมมะลิ (อังกฤษ: Thai jasmine rice) เป็ นสายพันธุ์ขาวที่มีถิ่นกาเนิ ดใน ้ ประเทศไทยมีลกษณะกลิ่นหอมคล้ายใบเตย เป็ นพันธุ์ขาวที่ทาให้ขาวไทยเป็ น ั ้ ้ สิ นค้าส่ งออกที่รู้จกไปทัวโลก ั ่ 1.1 ลักษณะจาเพาะของข้าวหอมมะลิ ความหอมของข้าวหอมมะลิ เกิดจากสาร ระเหยชื่อ 2-acetyl-1-pyroline ซึ่ งเป็ นสารที่ระเหยหายไปได้ การรักษาความ ่ หอมของข้าวหอมมะลิให้คงอยูนานนั้นจึงควรเก็บข้าวไว้ในที่เย็น อุณหภูมิ ประมาณ 15 องศาเซลเซี ยส เก็บข้าวเปลือกที่มีความชื้นต่า 14-15% ลดความชื้น ข้าวเปลือกที่อุณหภูมิไม่สูงเกินไป นักการเกษตรกรบางท่านกล่าวว่า การใช้ปุ๋ย โปตัสเซี ยมในการปลูก มีแนวโน้มช่วยให้ขาวมีกลิ่นหอมมากขึ้น ้
  • 10. 1.2 คุณสมบัติของข้าวหอมมะลิ ข้าวหอมมะลิที่นิยมปลูกและบริ โภคกัน อย่างแพร่ หลายคือพันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 และ พันธุ์ กข.15 ความหอมของ ข้าวหอมมะลิ เกิดจากสารระเหยชื่อ 2-acetyl-1-pyroline ซึ่ งเป็ นสารที่ระเหย หายไปได้ การรั กษาความหอมของข้าวหอมที่ ดีตองเริ่ มตั้งแต่ การเก็บเกี่ ยว ้ การเก็บรักษาข้าวเปลือกการสี ขาว และการเก็บรักษาข้าวที่สีเรี ยบร้อยแล้วการ ้ จะรักษาความหอมของข้าวเอาไว้ตองพยายามหลีกเลี่ยงภาวะแวดล้อมที่ร้อน ้ อบอ้าวและมีความชื้นสู ง การตากแดดหรื อใกล้สถานที่ร้อนจัดเป็ นเวลานานๆ เป็ น สิ่ งที่ ควรหลีกเลี่ยงอย่างยิ่งสภาวะที่ เหมาะสมคือที่ ที่มีอากาศค่อนข้าง เย็น มีการถ่ายเทของอากาศดี ความชื้นไม่สูง
  • 11. 2. มะนาว (อังกฤษ: lime) ่ มะนาว (อังกฤษ: Lime) เป็ นไม้ผลชนิดหนึ่ ง ผลมีรสเปรี้ ยวจัด จัดอยูในสกุล ส้ม (Citrus) ผลสี เขียว เมื่อสุ กจัดจะเป็ นสี เหลือง เปลือกบาง ภายในมีเนื้อแบ่งกลีบๆ ชุ่มน้ ามาก นับเป็ นผลไม้ที่มีคุณค่า นิ ยมใช้เป็ นเครื่ องปรุ งรส นอกจากนี้ยงถือว่ามีคุณค่า ั ทางโภชนาการและทางการแพทย์ดวย ้ 2.1 ลักษณะทัวไป ผลมะนาวโดยทัวไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ่ ่ ่ 4 – 4.5 ซม. ต้นมะนาวเป็ นไม้พุมเตี้ย สู งเต็มที่ราว 5 เมตร ก้านมีหนามเล็กน้อย มักมีขน ดก ใบยาวเรี ยวเล็กน้อย คล้ายใบส้ม ส่ วนดอกสี ขาวอมเหลือง ปกติจะมีดอกผลตลอด ทั้งปี แต่ในช่วงหน้าหนาว จะออกผลน้อย และมีน้ าน้อย
  • 12. มะนาวเป็ นพืชพื้นเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ผูคนในภูมิภาคนี้ รู้จก ้ ั และใช้ประโยชน์จากมะนาวมาช้านาน น้ ามะนาวนอกจากใช้ปรุ งรสเปรี้ ยวในอาหาร หลายประเภทแล้ว ยังนามาใช้เป็ นเครื่ องดื่ ม ผสมเกลือ และน้ าตาล เป็ นน้ ามะนาว ซึ่ งเป็ นที่รู้จกกันดีท้ งในประเทศไทย และต่างประเทศทัวโลก นอกจากนี้ เครื่ องดื่ ม ั ั ่ ั แอลกอฮอล์บางชนิ ดยังนิ ยมฝานมะนาวเป็ นชิ้ นบางๆ เสี ยบไว้กบขอบแก้ว เพื่อใช้ แต่งรส ในผลมะนาวมีน้ ามันหอมระเหยถึง 7% แต่กลิ่นไม่ฉุนอย่างมะกรู ด น้ ามะนาว จึ งมี ประโยชน์สาหรั บใช้เป็ นส่ วนผสมน้ ายาทาความสะอาด เครื่ องหอม และการ บาบัดด้วยกลิ่น (aromatherapy) หรื อน้ ายาล้างจาน ส่ วนคุณสมบัติที่สาคัญ ทว่าเพิ่ง ได้ทราบเมื่ อไม่ชานานมานี้ ก็คือ การส่ งเสริ มโรคลักปิ ดลักเปิ ด ซึ่ งเคยเป็ นปั ญหา ้ ของนักขายโรตี มาช้านาน ภายหลังได้มีการค้นพบว่าสาเหตุที่มะนาวสามารถช่วย ป้ องกันโรคลักปิ ดลักเปิ ด เพราะในมะนาวมีไวตามินซี เป็ นปริ มาณมาก
  • 13. 3.นาส้ มสายชู กรดน้ าส้ม (Acetic acid) มีคุณสมบัติที่ให้รสเปรี้ ยว เพราะไม่มีพิษ ้ ต่อร่ างกายใช้หมักดองถนอมอาหาร ด้วยการดองและใช้ปรับอาหารให้เป็ นกรด ประเภทของ น้ าส้มสายชูแบ่งออกเป็ น 3 ชนิด ได้แก่ 1.น้ าส้มสายชูหมัก คือ การหมักน้ าตาล ให้เกิดแอลกอฮอล์(alcoholic fermentation) โดยใช้ ยีสต์ (yeast) ตามด้วยการหมักแอลกอฮอล์ให้เกิดกรด อะซิ กติก (acetic acid fermentation) ด้วยแบคทีเรี ยในกลุ่ม Acetobacter และ Gluconobacter 2. น้ าส้มสายชูกลัน เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาเอทธิ ลอัลกอฮอล์กลันเจือจางมาหมักกับ ่ ่ เชื้อน้ าส้มสายชู หรื อเมื่อหมักแล้วนาไปกลัน (distillation) ่ 3. น้ าส้มสายชูเทียม เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาเอากรดน้ าส้ม (Acetic acid) ซึ่ งสังเคราะห์ ขึ้นทางเคมี เป็ นกรดอินทรี ยมีฤทธิ์ เป็ นกรดอ่อนมีความเข้มข้นประมาณ 95 % มาเจือจางจน ์ ได้ปริ มาณกรด 4 - 7% ลักษณะใส ไม่มีสี กรดน้ าส้มที่นามาเจือจางจะต้องมีความบริ สุทธิ์ สู ง เหมาะสมที่จะนามาเป็ นอาหารได้และน้ าที่ใช้เจือจางต้องเหมาะสมที่จะใช้ดื่มได้
  • 14. 4.มะขาม (Tamarindus indica L.) 4.1ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tamarindus indica L. 4.2ชื่อสามัญ : Tamarind, Indian date 4.3วงศ์ : Leguminosae - Caesalpinioideae 4.4 ลัก ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต ้น ขนาดกลางจนถึ ง ขนาดใหญ่ แ ตก กิ่ งก้านสาขามาก เปลื อกต้นขรุ ขระและหนา สี น้ าตาลอ่อน ใบ เป็ นใบประกอบ ใบเล็กออกตามกิ่งก้านใบเป็ นคู่ ใบย่อยเป็ นรู ปขอบขนาน ปลายใบและโคนใบมน ดอก ออกเป็ นช่อเล็กๆ ตามปลายกิ่ง หนึ่ งช่อมี 10-15 ดอก ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบ ดอกสี เหลืองและมี จุดประสี แดงอยู่กลางดอก ผล เป็ นฝั กยาว รู ปร่ างยาวหรื อโค้ง ยาว 3-20 ซม. ฝั กอ่อนมีเปลือกสี เขียวอมเทา สี น้ าตาลเกรี ยม เนื้ อในติดกับเปลือก เมื่อแก่ฝักเปลี่ยนเป็ นเปลือกแข็งกรอบหักง่าย สี น้ าตาล เนื้ อในกลายเป็ นสี น้ าตาล หุ มเมล็ด เนื้อมีรสเปรี้ ยวและหวาน ้
  • 15. ่ 5.ราหรือเชื้อรา เป็ นจุลินทรี ย ์ เป็ นเซลล์ยแคริ โอตที่อยูในอาณาจักรเห็ดรามี ู โครโมโซมเพียงชุดเดียว (haploid) มีผนังเซลล์ ส่ วนใหญ่ประกอบด้วยไคติน(chitin) ไม่ มีคลอโรฟิ ลล์ ดารงชีพแบบ saprophyte คือ หลังเอนไซม์ออกนอกเซลล์ เพื่อย่อยสลาย ่ สารอินทรี ยที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อนให้ได้เป็ นโมเลกุลที่เล็กที่สุดแล้วจึงดูดซับ ์ เข้าไปภายในเซลล์ เชื้อรา มีความหลากหลายมาก พบทั้งที่สิ่งมีชีวตเซลล์เดียว เช่น ยีสต์ ิ เส้นใย (hypha) และดอกเห็ด (mushroom) เส้นใยหรื อไฮฟา (hypha) เมื่อรวมกลุ่มจานวน มาก เรี ยกว่า mycelium เส้นใยแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ 1. เส้นใยแบบมีผนังกั้น (septate hypha) สามารถเห็นนิวเคลียสและไซโตพลาสซึ ม เป็ นช่องๆได้อย่างชัดเจน 2. เส้นใยแบบไม่มีผนังกั้น (nonseptate hypha หรื อ coenocytic hypha) นิวเคลียส ่ ั และไซโตพลาสซึ มจะอยูกนอย่างกระจัดกระจาย
  • 16. เชื้ อราส่ วนใหญ่มีการดารงชี พทั้งที่เป็ นอิสระหรื อ saprophyte และก่อให้เกิด โรคกับพืชและสัตว์ เชื้ อราแบ่งตามแหล่งกาเนิ ด อาจมีท้ งที่เป็ นเชื้ อราบกพบทัวไป ั ่ ในดิน (terrestrial fungi) เชื้อราน้ า (aquatic fungi) ทั้งเชื้อราน้ าจืด (fresh water ่ fungi) และเชื้ อราน้ าเค็ม (marine fungi) ในบรรดาเชื้ อราที่เจริ ญอยูตามแหล่ง ธรรมชาติเหล่านี้ มีเชื้อราจานวนมาก ที่สามารถนามาเลี้ยงให้เจริ ญบนอาหารที่เจริ ญ อยู่ตามแหล่งธรรมชาติ เหล่านี้ มีเชื้ อราจานวนมากที่ สามาถนามาเลี้ ยงให้เจริ ญบน อาหารเลี้ยงเชื้อในห้องปฏิบติการได้ ั
  • 17. 5.1 การสื บพันธุ์ของเชื้อรา 5.1.1 แบบไม่อาศัยเพศโดยอาจจะเกิดจาก -การสร้างสปอร์ ซึ่ งจะไปงอกเป็ นไมซี เลียมที่มีนิวเคลียสเป็ น n -เส้นใยแตกหักออกไปแล้วเจริ ญเป็ นไมซี เลียมอันใหม่ -การแบ่งออกเป็ นสองส่ วนหรื อการแตกหน่อ 5.1.2 แบบอาศัยเพศได้โดยเส้นใยที่เป็ น n หลอมรวมกันแล้วรวมนิ วเคลียสเป็ น 2n เกิด ่ ั ่ จากการรวมตัวของนิ วเคลียส (nucleus) จากสองเซลล์ที่อยูใกล้กนหรื ออยูคนละ hypha แล้วมีการแบ่งเซลล์แบบ meiosis เจริ ญเป็ น sexual spore ซึ่ งมีรูปร่ างต่างๆ กัน โดยมี ่ จานวนสปอร์ ภายในเครื่ องห่อหุ มหรื ออยูบนโครงสร้างพิเศษจานวนจากัด ้
  • 18. บทที่ 3 : วิธีการดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงาน เรื่ อง การศึกษากรดกับประสิ ทธิ ภาพการชะลอข้าวบูด ผูจดทามี ้ั วิธีการดาเนิน โครงงาน ดังหัวข้อ ต่อไปนี้ 3. 1 อุปกรณ์ สารเคมี และเครื่องมือทีใช้ ่ 1. ข้าวหอมมะลิ 1 ถ้วยตวง ต่อการทดลองแต่ละครั้ง 2. หม้อหุงข้าวยีหอ ่ ้ 3. น้ าส้มสายชู 1 ช้อนชา 4. น้ ามะนาวสด 1 ช้อนชา และ 10 ลูกบาศก์เซนติเมตรในการทดลองหาความเข้มข้น 5. น้ ามะขามเปี ยก 1 ช้อนชา และ 10 ลูกบาศก์เซนติเมตรในการทดลองหาความเข้มข้น
  • 19. อุปกรณ์ สารเคมี และเครื่องมือที่ใช้ (ต่ อ) 6. น้ าเปล่า 7. ภาชนะเก็บ 8. เทอร์โมมิเตอร์ 9.บิกเกอร์ 10.ปิ เปต 11.ขาตั้ ง 12.จุกยาง ่ 13.ขาดลูกชมพูขนาด 250 และ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 14.กระดาษกรอง
  • 20. 3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอกับครู ที่ปรึ กษา 2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน เรื่ อง การชะลอข้าวบูดด้วยกรด ว่า ข้าว บูด เกิดจากอะไร เชื้อจุลินทรี ยชื่อไร แล้วเมื่อหุ งข้าวที่เติมน้ าส้มสายชูน้ น สามารถเก็บข้าวโดย ์ ั ไม่ใส่ ตเู ้ ย็นนานกว่าหุ งข้าวแบบปกติ และจะทดลองว่า สารที่เป็ นกรดที่สามารถรับประทานได้ จะสามารถชะลอข้าวบูดได้เหมือนกับน้ าส้มสายชูและเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทาเนื้อหาต่อไป 3. นาข้อมูลที่ได้มาปรึ กษาครู ที่ปรึ กษาเพื่อที่จะนามาจัดทาโครงร่ างโครงงานต่อไป 4. ทาการทดลองเกี่ยวกับเรื่ องที่จะศึกษา ถึงความเป็ นไปของกรดที่จะสามารถชะลอข้าวบูด ่ ได้เช่นเดียวกับน้ าส้มสายชู ซึ่ งเป็ นภูมิปัญญาพื้นบ้านอยูแล้ว 5. นาเสนอความคืบหน้าเป็ นระยะๆ และปรึ กษากับปั ญหาที่เกิดขึ้น การดาเนิ นวานเพื่อจัดทา เป็ นรู ปเล่มสมบูรณ์ต่อไป 6. จัดพิมพ์รูปเล่มที่สมบูรณ์และงาน Power Point 7.นาเสนอผลงานกับครู ที่ปรึ กษา
  • 21. 3.3 วิธีการทดลอง เพื่อศึกษาการชะลอข้าวบูดโดยการใช้สารที่มีสมบัติความเป็ นกรด 1. หุ งข้าวด้วยน้ าเปล่าปกติ จานวน ½ ถ้วยตวง จัดเป็ นชุดควบคุม เมื่อข้าว สุ กแล้วเก็บข้าวใส่ ในภาชนะ ณ อุณหภูมิหอง ้ 2. ทาการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 1 แต่เติม โดยมีอตราส่ วน น้ าที่ใช้หุงต่อ ั น้ าส้มสายชู,น้ ามะนาวสด,น้ ามะขาม เป็ น 1:1เมื่อข้าวสุ ก เก็บข้าวใส่ ในภาชนะ ณ อุณหภูมิหอง จัดเป็ นการทดลอง ชุดที่ 1 2 และ 3 ตามลาดับ ้ 3. วัดอุณหภูมิที่มีผลต่อการศึกษาทาให้ขาวบูดทุก 8 ชัวโมง บันทึกผลและ ้ ่ สังเกตลักษณะที่เปลี่ยนแปลงหลังหุ งข้าวเสร็ จและสังเกต สี กลิ่น รสชาติ ทุกวัน เป็ นเวลา 5 วัน บันทึกผลการทดลอง
  • 22. 3.4. การไทเทรตเพือหาความเข้ มข้ นของสาร ่ 3.3.1 วิธีการไทเทรต 1. ล้างบิวเรตต์ให้สะอาดแล้วตั้งบิวเรตต์เข้ากับตัวหนีบ 2. ละลาย NaOH จานวน 2 กรัม ลงในบิกเกอร์ คนให้สารละลายละลายหมด จากนั้นปิ เปตต์ดูดสารละลายNaOH 10 ลูกษาศก์เซนติเมตรใส่ ลงในขวดลูกชมพู ขนาด 250 ลูกบาศก์เซนติเมตรจากนั้นเติมน้ าจนครบ250 ลูกบาศก์เซนติเมตร จากนั้นเทสารละลายลงในบิเรตโดยใช้กรวยกรอง 3. คั้นน้ ามะนาวจานวน 1 ลูก น้ ามะขามจานวน 2 กรัม จากนั้นกรองให้เหลือ แต่น้ าโดยใช้กระดาษกรอง
  • 23. 4. ใช้ปิเปตต์ดูดน้ ามะนาวและน้ ามะขามอย่างล่ะ 10 ลูกบาศก์เซนติเมตรใส่ ลงในขวด ลูกชมพูขนาดเล็ก 5. หยดอินดิเคเตอร์ 2-3 หยดเพื่อใช้เป็ นตัวบอกจุดยุติ ่ 6. หยดสารละลายในบิวเรตต์ลงในขวดลูกชมพูอย่างช้า ๆ พร้อมทั้งแกว่งขวดลูกชมพู่ ด้วยมือขวาให้วนไปในทิศทางเดียวกัน จนกระทังถึงจุดยุติ ่ 7.ทาการทดลองทั้ง 2 สาร อย่างล่ะ 3 ครั้ง จากนั้นคานวณเพื่อหาค่าเฉลี่ย 8. คานวณหาความเข้มข้นของสารโดยใช้สูตร
  • 24. บทที่ 4 : ผลการดาเนินงาน การจัดทาโครงงานชิ้นนี้ มีวตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิ ทธิภาพของกรดที่ใช้ในการชะลอข้าวบูดและเพื่อ ั เปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพของกรดที่จะชะลอข้าวบูดได้นานที่สุด เพื่อสามารถนาข้อสรุ ปที่ได้นาไปใช้ใน ชีวตประจาวัน ซึ่งมีผลการดาเนินโครงงานต่อไปนี้ ิ 4.1 ตางรางบันทึกผลการทดลอง ลักษณะของข้าวที่หุงเสร็จ ระดับที่ 1 มีเชื้อราเกิดที่ผวด้านบนของข้าว ขนาด0.5-2 ซม. จานวน 1-3 จุด ิ ระดับที่ 2 มีเชื้อราเกิดบริ เวณผิวและผิวด้านข้างของข้าวที่ติดกับภาชนะ ขนาด 2-3 ซม. จานวน 3-5 จุด ระดับที่ 3 มีเชื้อราเกิดเป็ นแผ่นกว้างด้านบนและด้านข้างของข้าวที่ติดกับภาชนะขนาดกว้าง 3-5 ซม. มาก กกว่า 5จุด มีกลิ่นเหม็น ระดับที่ 4 มีเชื้อราเกิดขึ้นเต็มด้านบนของข้าวและด้านในบางส่ วน มีกลิ่นเหม็น ข้าวแฉะ ระดับที่ 5 มีเชื้อราเกิดขึ้นทุกส่ วนของข้าวในภาชนะ มีกลิ่นเหม็น ข้าวแฉะ
  • 25. ตารางการทดลอง ตารางที่ 1 แสดงผลการทดลอง เปรี ยบเทียบลักษณะของข้าวก่อนหุ งและหลังหุ งเสร็ จ ชุดที่ สารที่ใช้/วิธีการ อุณหภูมิ ลักษณะของข้าวก่อนหุง ลักษณะของข้าวหลังจากหุงเสร็จ 1 2 หุงข้าวปกติ เติมน้ าส้มสายชู 26 °C 26 °C คล้ายข้าวหุงปกติ มีกลิ่นฉุนของน้ าส้มสายชู คล้ายข้าวหุงปกติ มีกลิ่นฉุ นของน้ าส้มสายชู 3 เติมน้ ามะนาว 26 °C มีกลิ่นฉุนของน้ ามะนาว มีกลิ่นฉุ นของน้ ามะนาว 4 เติมน้ ามะขาม 26 °C สี ของน้ าข้าวเป็ นสี น้ าตาล มีกลิ่นฉุนของน้ ามะขาม
  • 26. ตางรางที่ 2 การทดลองวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 (วันที่ 4) อุณหภูมิ 26 °C ลักษณะของข้าวที่หุง ประเภทของน้ าที่ใช้ ในการหุ งข้าว 1 1.น้ าส้มสายชู / 2.น้ ามะขาม 2 / 3.น้ ามะนาว / 4.น้ าเปล่า(ตัวแปรควบคุม) / 3 4 5
  • 27. ตางรางที่ 7 การทดลองวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 (วันที่ 7) อุณหภูมิ 24 °C ประเภทของน้ าที่ใช้ ในการหุ งข้าว 1.น้ าส้มสายชู 2.น้ ามะขาม 3.น้ ามะนาว 4.น้ าเปล่า(ตัวแปรควบคุม) 1 2 ลักษณะของข้าวที่หุง 3 4 5 / / / /
  • 28. บทที่ 5 : สรุ ปผลและอภิปรายการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง จากการทดลอง เรื่ อง การชะลอข้าวบูดโดยใช้สารที่ พบในห้องครั ว เช่ น น้ า มะนาว น้ ามะขาม น้ าส้มสายชู โดยมีน้ าเปล่าเป็ นตัวควบคุมการทดลอง ในการทดลองนี้ ทาโดยวิธีการหุงข้าวขนาด 1 ลิตรด้วยน้ าเปล่า ให้เป็ นตัวควบคุม และหุ งข้าวขนาด 1 ลิตร ผสมกับน้ ามะนาว น้ ามะขาม น้ าส้มสายชู ให้เป็ นการทดลองที่ 2 3 และ 4 ตามลาดับ โดยการตรวจสอบผลการทดลอง โดยการดมกลิ่ น ดูสีของข้าว ดูลกษณะของข้าวแฉะ ั และการดูการเกิดเชื้อราจากตารางในบทที่ 4
  • 29. สรุ ปผลการทดลอง ่ จากตารางบันทึกผลการทดลอง สรุ ปได้วา ข้าวที่ผสมน้ าส้มสายชูเกิดเชื้อราขึ้น น้อยที่สุดอันดับ 1 รองลงมา คือ น้ ามะขาม น้ ามะนาวและหุ งด้วยน้ าเปล่าปกติ ตามลาดับ ปัญหาและอุปสรรค 1.สภาพอากาศ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปมีผลต่อผลการทดลอง ข้ อเสนอแนะ 1. การทดลองในขั้นต่อไป คือ การหาปริ มาณที่พอเมาะของน้ าส้มสายชูของการบูดของ ข้าวนานที่สุด
  • 31. ภาคผนวก ข้าวที่หุงด้วยน้ าปกติ(ตัวแปรควบคุม) เมื่อเวลาผ่านไป 4 วัน ข้าวที่หุงด้วยน้ าปกติ(ตัวแปรควบคุม) เมื่อเวลาผ่านไป 7 วัน
  • 32. ภาคผนวก ข้าวที่หุงด้วยน้ ามะนาว เมื่อเวลาผ่านไป 4 วัน ข้าวที่หุงด้วยน้ ามะนาว เมื่อเวลาผ่านไป 7 วัน
  • 33. ข้าวที่หุงด้วยน้ ามะขาม เมื่อเวลาผ่านไป 4 วัน ข้าวที่หุงด้วยน้ ามะขาม เมื่อเวลาผ่านไป 7 วัน
  • 34. ข้าวที่หุงด้วยน้ าส้มสายชู เมื่อเวลาผ่านไป 4 วัน ข้าวที่หุงด้วยน้ าส้มสายชู เมื่อเวลาผ่านไป 7 วัน
  • 36. Home