SlideShare a Scribd company logo
1
มหาโมรชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๘. มหาโมรชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๙๑)
ว่าด้วยพญานกยูง
(พญานกยูงร้องขอชีวิตว่า)
[๑๔๓] ถ้าหากท่านจับข้าพเจ้าเพราะเหตุแห่งทรัพย์
ท่านอย่าได้ฆ่าข้าพเจ้าเลย
จงจับเป็นแล้วนาข้าพเจ้าไปยังสานักพระราชาเถิดเพื่อน
ท่านคงจะได้ทรัพย์มิใช่น้อย
(บุตรนายพรานปลอบว่า)
[๑๔๔] ลูกธนูที่สอดอยู่ในแล่งนี้ ข้าพเจ้าตั้งใจจะฆ่าท่านในวันนี้ก็หาไม่
แต่จะตัดบ่วงให้แก่ท่าน ด้วยมีความประสงค์ว่า
ขอพญายูงทองจงบินไปตามสบายเถิด
(พญานกยูงกล่าวว่า)
[๑๔๕] ข้าพเจ้าขอถามท่าน
เพราะเหตุที่ท่านสู้อดกลั้นความหิวกระหายตลอดทั้งคืนทั้งวัน
เฝ้ าติดตามข้าพเจ้าอยู่ตลอด ๗ ปี เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุอะไร
ท่านจึงประสงค์จะปล่อยข้าพเจ้า ผู้ติดบ่วงให้พ้นเสียจากเครื่องผูกเล่า
[๑๔๖] วันนี้ ท่านงดเว้นจากปาณาติบาตแล้วหรือหนอ
หรือว่าท่านให้อภัยแก่สัตว์ทั้งปวงแล้ว เพราะเหตุใด
ท่านจึงประสงค์จะปล่อยข้าพเจ้าผู้ติดบ่วง ให้พ้นเสียจากเครื่องผูกเล่า
(บุตรนายพรานถามว่า)
[๑๔๗] พญานกยูง ขอท่านจงบอกถึงผล
ของบุคคลผู้งดเว้นจากปาณาติบาตและให้อภัยหมู่สัตว์ทั้งปวง
ความข้อนี้ที่ข้าพเจ้าถามท่าน เขาจุติจากโลกนี้ไปแล้วจะได้รับความสุขอย่างไร
(พญานกยูงตอบว่า)
[๑๔๘] ข้าพเจ้าขอบอกผลของบุคคลผู้งดเว้นจากปาณาติบาต
และผู้ให้อภัยหมู่สัตว์ทั้งปวงว่า เขาย่อมได้รับการสรรเสริญในปัจจุบัน
และเมื่อตายย่อมไปสู่สวรรค์
(บุตรนายพรานกล่าวว่า)
[๑๔๙] สมณะและพราหมณ์พวกหนึ่งกล่าวว่า เทวดาไม่มี
ชีวะย่อมถึงความขาดสูญในภพนี้เท่านั้น ผลของกรรมดีกรรมชั่วก็เหมือนกัน
ย่อมขาดสูญ และกล่าวสอนว่า ทานคนโง่บัญญัติไว้
2
ข้าพเจ้าเชื่อวาจาของพระอรหันต์เหล่านั้น เพราะเหตุนั้น
ข้าพเจ้าจึงเบียดเบียนนกทั้งหลาย
(พระโพธิสัตว์กล่าวว่า)
[๑๕๐] ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ เห็นได้ชัดเจน
ส่องโลกให้สว่างไสว โคจรไปในอากาศ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ทั้ง ๒
นั้นมีอยู่ในโลกนี้หรือโลกอื่น ในมนุษยโลก พวกเขากล่าวถึงดวงจันทร์
และดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ นั้นอย่างไรหนอ
(บุตรนายพรานกล่าวว่า)
[๑๕๑] ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ เห็นได้ชัดเจน
ส่องโลกให้สว่างไสว โคจรไปในอากาศ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ทั้ง ๒
นั้นมีอยู่ในโลกอื่น ไม่ใช่โลกนี้ ในมนุษยโลก
พวกเขากล่าวถึงดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ ทั้ง ๒ นั้นว่า เทวดา
(ต่อมาพระโพธิสัตว์ได้กล่าวกับเขาว่า)
[๑๕๒] สมณะและพราหมณ์เหล่าใดเป็นอเหตุกทิฏฐิ (อเหตุกทิฏฐิ
คือพวกมีความเห็นผิดกล่าวอย่างนี้ว่า
กรรมที่เป็ นเหตุแห่งความบริสุทธิ์และความเศร้าหมองไม่มี) ไม่พูดถึงกรรม
ไม่พูดถึงผลของกรรมดีกรรมชั่วด้วยเหมือนกัน แต่สอนว่า ทานคนโง่บัญญัติไว้
สมณะและพราหมณ์เหล่านั้นผู้มีทิฏฐิเลวทราม
ถูกกาจัดแล้วในเพราะการพยากรณ์เพียงเท่านี้
(บุตรนายพรานกาหนดได้แล้วจึงกล่าวว่า)
[๑๕๓] คาของท่านนั้นเป็ นคาสัตย์อย่างแท้จริง
ทานจะไม่พึงมีผลได้อย่างไร กรรมดีกรรมชั่วก็เหมือนกัน
จะไม่พึงมีผลได้อย่างไร และทานคนโง่จะพึงบัญญัติขึ้นได้อย่างไร
[๑๕๔] พญานกยูง ข้าพเจ้ากระทากรรมอย่างไร กระทาเพราะอะไร
ประพฤติอย่างไร จะคบใคร ผู้มีตบะคุณอย่างไร
ขอท่านจงบอกเนื้อความนั้นแก่ข้าพเจ้าโดยที่ข้าพเจ้าจะไม่ต้องตกนรก
(พระโพธิสัตว์กล่าวว่า)
[๑๕๕] บนพื้นแผ่นดินยังมีสมณะพวกใดพวกหนึ่งอยู่
สมณะเหล่านั้นนุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์ เป็นบรรพชิต
เที่ยวบิณฑบาตเฉพาะเวลาเช้า งดเว้นการบริโภคในเวลาวิกาล เป็นสัตบุรุษ
[๑๕๖] ท่านจงเข้าไปหาสมณะเหล่านั้นตามกาลอันสมควร
แล้วจงถามข้อความตามที่ท่านพอใจ
สมณะเหล่านั้นจะชี้แจงข้อความอันเป็นประโยชน์
ทั้งในโลกนี้และโลกหน้าแก่ท่านตามที่รู้มา
(พระปัจเจกพุทธเจ้าเปล่งอุทานว่า)
3
[๑๕๗] ความเป็นพรานนี้ข้าพเจ้าละได้แล้ว
เหมือนงูลอกคราบเก่าแก่ทิ้งไป เหมือนต้นไม้สลัดใบเหลืองทิ้ง เขียวชะอุ่มอยู่
ข้าพเจ้าละทิ้งความเป็นพรานได้ในวันนี้
(ท่านทาสัจจกิริยาว่า)
[๑๕๘] นกเหล่าใดที่ข้าพเจ้ากักขังไว้หลายร้อยตัวในเรือนของข้าพเจ้า
วันนี้ ข้าพเจ้าให้ทานชีวิตแก่นกเหล่านั้น ขอให้นกเหล่านั้นจงหลุดพ้น
กลับไปยังที่อยู่ของตนเถิด
(พระศาสดาเมื่อจะทรงประกาศว่า
นกเหล่านั้นพ้นจากทุกข์ได้เพราะอาศัยพญานกยูง จึงตรัสพระคาถาสุดท้ายว่า)
[๑๕๙] นายพรานถือบ่วงเที่ยวไปในป่า
เพื่อจะจับพญานกยูงทองผู้เรืองยศ ครั้นจับพญานกยูงทองผู้เรืองยศได้แล้ว
เขาได้พ้นจากทุกข์เหมือนเราตถาคตได้พ้นแล้ว
มหาโมรชาดกที่ ๘ จบ
-------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
มหาโมรชาดก
ว่าด้วย พญานกยูงพ้นจากบ่วง
พระศาสดาเสด็จประทับ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงพระปรารภภิกษุผู้กระสันรูปหนึ่ง ตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
เรื่องย่อมีว่า พระศาสดาตรัสถามภิกษุนั้นว่า
จริงหรือที่ข่าวว่าเธอกระสันจะสึก ครั้นเธอรับสารภาพว่า จริงพระเจ้าข้า. ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุ ความกาหนัดด้วยความสามารถชื่นใจนี้ ไฉนจักไม่ให้บุคคลอย่างเธอ
วุ่นวายได้เล่า มีอย่างหรือ ลมที่จะสามารถพลิกภูเขาสุเนรุได้ ไม่ทาให้ใบไม้เก่าๆ
ใกล้ๆ กระจัดกระเจิงไป ในปางก่อนนั่นนะ แม้สัตว์ผู้บริสุทธิ์คอยหักห้าม
ความฟุ้ งซ่านของกิเลสในภายใน อยู่ ๗๐๐ ปี ก็ยังโดนความกาหนัด
ด้วยสามารถความชื่นใจนี้ ทาให้วุ่นวายได้เลย.
ทรงนาอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี้
ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัต เสวยราชสมบัติ ณ
พระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์ได้ถือปฏิสนธิในท้องนางนกยูง
ในประเทศชายแดน. เมื่อครรภ์แก่เต็มที่แล้ว นางนกยูงผู้มารดาตกฟอง ณ
ที่หากิน แล้วบินไป ก็ธรรมดาว่า ฟองไข่ เมื่อมารดาไม่มีโรค
และไม่มีอันตรายอื่นๆ เป็นต้นว่า ทีฆชาติรบกวน ย่อมไม่เสีย. เหตุนั้น
ฟองไข่นั้นจึงเป็ นเหมือนดอกกรรณิการ์ตูมๆ มีสีเหมือนสีทอง.
เมื่อเวลาครบกาหนดก็แตกโดยธรรมดาของตน. ลูกนกยูงมีสีเป็นทอง
ออกมาแล้ว. ลูกนกยูงทองนั้น มีนัยน์ตาทั้งคู่ คล้ายผลกระพังโหม
4
มีจะงอยปากสีเหมือนแก้วประพาฬ มีสร้อยสีแดงสามชั้นวงรอบคอ
ผ่านไปกลางหลัง. ครั้นยูงทองเจริญวัย มีร่างกายเติบใหญ่ขนาดดุมเกวียน
รูปงามยิ่งนัก. ฝูงนกยูงเขียวๆ ทั้งหมด ประชุมกันยกให้ นกยูงทองเป็นเจ้านาย
พากันแวดล้อมเป็ นบริวาร.
วันหนึ่ง นกยูงทองดื่มน้าในกระพังน้า เห็นรูปสมบัติของตน คิดว่า
เรามีรูปงามล้าเลิศกว่านกยูงทั้งหมด ถ้าเราจักอยู่ในแดนมนุษย์กับฝูงนกยูงเหล่านี้
อันตรายคงบังเกิดแก่เรา เราต้องไปป่าหิมพานต์อาศัยอยู่ ณ ที่อันสาราญ
ลาพังผู้เดียวจึงจะดี. เมื่อฝูงนกยูงพากันแนบรังนอน ในราตรีกาล
ก็มิได้บอกให้ตัวอะไรรู้เลย โผขึ้นบินเข้าป่าหิมพานต์ ผ่านทิวเขาไป ๓ ทิว
ถึงทิวที่ ๔ มีสระธรรมชาติขนาดใหญ่ ดาดาษไปด้วยปทุม อยู่ในป่าตอนหนึ่ง
ไม่ไกลสระนั้น มีต้นไทรใหญ่เกิดอาศัยภูเขาลูกหนึ่ง ก็ลงเร้นกายถึงกิ่งไทรนั้น.
อนึ่งเล่า ที่ตรงกลางภูเขานั้น ยังมีถ้าอันน่าเจริญใจ.
พญายูงทองมุ่งจะอยู่ในถ้านั้น จึงลงเกาะที่พื้นภูเขาตรงหน้าถ้านั้น. ก็แลที่ตรงนั้น
ผู้อยู่ข้างล่างไม่อาจขึ้นไปได้เลย ผู้อยู่ข้างบนเล่าก็ไม่อาจลงไปได้
เป็นที่ปลอดภัยจากแมว งู มนุษย์. พญานกยูงทองดาริว่า
ตรงนี้เป็ นที่อันสาราญของเรา คงพักอยู่ตรงนั้นเอง ตลอดวันนั้น ต่อรุ่งขึ้น
ก็ลุกออกจากถ้า เกาะที่ยอดเขา หันหน้าไปทางทิศตะวันออก
เห็นสุริยมณฑลกาลังอุทัย ก็สวดปริตร เพื่อขอความคุ้มครองป้ องกันตน
ในเวลากลางวันว่า อุเทตยญฺจกฺขุมา เอกราชา พระเจ้าองค์เอก
ทรงพระจักษุพระองค์นี้ กาลังอุทัยดังนี้เป็ นต้น แล้วร่อนลง ณ ที่หากิน เที่ยวหากิน
ตอนเย็น จึงมาเกาะที่ยอดเขาบ่ายหน้าทางทิศตะวันตก
เพ่งดูสุริยมณฑลอันอัสดง สวดพระปริตร เพื่อขอความคุ้มครองป้ องกัน
ในเวลากลางคืนว่า อเปตยญฺจกฺขุมา เอกราชา พระเจ้าองค์เอก
ทรงพระจักษุพระองค์นี้ กาลังเสด็จออกไป ดังนี้เป็ นต้น พานักอยู่ด้วยอุบายนี้.
ครั้น ณ วันหนึ่ง ลูกนายพรานผู้หนึ่งท่องเที่ยวไปในราวป่า
เห็นพญายูงทองนั้นจับอยู่เหนือยอดเขา จึงมาที่อยู่ของตน
เมื่อจวนจะตายบอกลูกไว้ว่า พ่อเอ๋ย ในราวป่าตรงทิวเขาที่ ๔ มีนกยูงทอง
ถ้าพระราชาตรัสถาม ก็กราบทูลให้ทรงทราบ.
อยู่มาวันหนึ่ง พระอัครมเหสีของพระเจ้าพาราณสี
ทรงพระนามว่าเขมา ทรงเห็นพระสุบินในเวลาใกล้รุ่ง
พระสุบินได้มีเรื่องราวอย่างนี้. นกยูงมีสีเหมือนสีทอง กาลังแสดงธรรม.
พระนางทรงให้สาธุการสดับธรรม. นกยูง ครั้นแสดงธรรมเสร็จก็ลุกขึ้นบินไป.
พระนางทอดพระเนตรเห็นพญายูงทองกาลังบินไป
ก็ตรัสสั่งให้คนทั้งหลายช่วยกันจับพญานกยูงนั้นให้ได้
ขณะที่กาลังตรัสอยู่นั่นแหละ ทรงตื่นเสีย
5
ครั้นทรงตื่นแล้วจึงทรงทราบว่าเป็นความฝัน ทรงดาริต่อไปว่า ครั้นจะกราบทูลว่า
ฝันไป ที่ไหนพระราชาจะทรงเอาพระหฤทัยเอื้อเฟื้อแล้วทรงบรรทม
ประหนึ่งทรงแพ้พระครรภ์.
ครั้งนั้น พระราชาเสด็จเข้ามาใกล้พระนาง ตรัสถามว่า นางผู้เจริญใจ
เธอไม่สบาย เป็ นอะไรไปเล่า. กราบทูลว่า ความแพ้ครรภ์บังเกิดขึ้นแก่หม่อมฉัน
พระเจ้าค่ะ. ตรัสถามว่า เธอต้องการสิ่งใดเล่า จ๊ะ นางผู้เจริญ. กราบทูลว่า
ข้าแต่ทูลกระหม่อม เกล้ากระหม่อมฉันปรารถนาจะฟังธรรมของพญานกยูงทอง
พระเจ้าค่ะ. รับสั่งว่า นางผู้เจริญใจเอ๋ย ฉันจักหาพญายูงทองอย่างนี้
ได้จากไหนเล่า. กราบทูลว่า ข้าแต่ทูลกระหม่อม
แม้เกล้ากระหม่อมฉันมิได้สมปรารถนา ชีวิตของเกล้ากระหม่อมฉัน
เป็นอันไม่มีละ พระเจ้าค่ะ. ตรัสปลอบว่า นางผู้เจริญใจ อย่าเสียใจเลยนะ
ถ้ามันมีอยู่ ณ ที่ไหน เธอต้องได้แน่นอน แล้วเสด็จประทับนั่งเหนือพระราชอาสน์
ตรัสถามหมู่อามาตย์ว่า แน่ะพ่อเอ๋ย เทวีปรารถนาจะฟังธรรมของนกยูงทอง
อันนกยูงมีสีเหมือนสีทองน่ะ มีอยู่หรือไม่.
พวกอามาตย์กราบทูลว่า ขอเดชะ พวกพราหมณ์คงจักทราบ
พระเจ้าข้า.
พระราชาตรัสให้หาพวกพราหมณ์มาเฝ้ าแล้ว มีพระดารัสถาม.
พวกพราหมณ์พากันกราบทูลอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระมหาราช
สัตว์เดียรัจฉานเหล่านี้คือ ในจาพวกสัตว์น้า ปลา เต่า ปู ในจาพวกสัตว์บก มฤค
หงส์ นกยูง นกกระทา มีสีเหมือนสีทอง มีอยู่.
แม้มนุษย์ทั้งหลายเล่าก็มีสีเหมือนสีทองมีอยู่
ทั้งนี้มีมาในคัมภีร์ลักษณมนต์ของข้าพระองค์ทั้งหลาย พระเจ้าข้า.
พระราชาทรงเรียกพวกบุตรพรานในแว่นแคว้นของพระองค์
มาประชุมกัน. รับสั่งว่า นกยูงทองพวกเธอเคยเห็นบ้างไหม.
คนที่บิดาเคยเล่าให้ฟัง กราบทูลว่า ถึงข้าพระองค์จะไม่เคยเห็น
แต่บิดาของข้าพระองค์บอกไว้ว่า นกยูงทองมีอยู่ในสถานที่ตรงโน้น พระเจ้าข้า.
ครั้งนั้น พระราชาตรัสกะเขาว่า สหายเอ๋ย
เธอจักเป็นคนให้ชีวิตแก่ฉันและเทวีได้ละ เพราะฉะนั้น เธอจงไปที่นั้น
จับมัดนกยูงทองนั้นนามาเถิด ประทานทรัพย์เป็นอันมาก ส่งไป.
เขาให้ทรัพย์แก่ลูกเมียแล้วไป ณ ที่นั้น เห็นพระมหาสัตว์ ก็ทาบ่วงดักรอว่า
วันนี้คงติด วันนี้คงติด ก็ไม่ติดสักที จนตายไป. พระเทวีเล่า
เมื่อไม่ได้ดังพระปรารถนา ก็สิ้นพระชนม์ไป.
พระราชาทรงกริ้วว่า เพราะอาศัยนกยูงทองตัวนี้เป็นเหตุ
เมียรักของเราต้องสิ้นพระชนม์ ทรงมีพระหฤทัยเป็นไปในอานาจแห่งเวร
ทรงให้จารึกไว้ในแผ่นทองว่า ที่ทิวเขาที่สี่ในป่าหิมพานต์ มีนกยูงทองอาศัยอยู่
6
บุคคลได้กินเนื้อของยูงทองแล้วนั้น จะไม่แก่ไม่ตาย
แล้วบรรจุหนังสือนั้นไว้ในหีบไม้แก่น เสด็จสวรรคตไป.
ครั้นกษัตริย์องค์อื่นได้เป็นพระราชาแล้ว
ท้าวเธอทอดพระเนตรเห็นอักษรในแผ่นทอง ก็ทรงดาริว่า
เราจักเป็ นผู้ไม่แก่ไม่ตาย ทรงส่งให้พรานผู้หนึ่งไปเพื่อจับพญายูงทองนั้น.
แม้พรานผู้นั้นก็ตายเสียที่นั้น ดุจกัน. โดยทานองนี้ ล่วงไปถึง ๖ รัชกาลแล้ว
ลูกพรานทั้ง ๖ ตายในป่าหิมพานต์นั้นเอง.
ถึงพรานคนที่ ๗ ซึ่งพระราชาองค์ที่ ๗ ทรงใช้ไป คิดว่า
เราจักจับนกยูงทองนั้นได้ในวันนี้ ในวันนี้แน่นอน ล่วงไปถึง ๗ ปี
ก็ไม่สามารถจะจับนกยูงทองตัวนั้นได้ ดาริว่า ทาไมเล่าหนอ
บ่วงจึงไม่รูดรัดเท้าของพญายูงทองนี้ คอยกาหนดดูพญานกยูงทองนั้น
เห็นเจริญพระปริตร ทุกเย็นทุกเช้า ก็กาหนดได้โดยนัยว่า ในสถานที่นี้
นกยูงตัวอื่นไม่มีเลย. อันพญายูงทองตัวนี้คงประพฤติพรหมจรรย์
ด้วยอานุภาพแห่งพรหมจรรย์ และด้วยอานุภาพแห่งพระปริตร
บ่วงจึงไม่ติดเท้าของพญายูงทอง แล้วจึงไปสู่ปัจจันตชนบท ดักนางยูงได้ตัวหนึ่ง
ฝึกฝนให้ขันในเวลาดีดนิ้วมือ ให้ฟ้ อนในเวลาตบมือ แล้วพาไป
ก่อนเวลาที่พระโพธิสัตว์จะเจริญปริตรทีเดียว ดักบ่วงไว้ ดีดนิ้วมือให้นางยูงขัน.
เมื่อพญายูงทองได้ฟังเสียงของนางยูง กิเลสที่ราบเรียบไปตลอดเวลา ๗๐๐ ปี
ก็ฟุ้ งขึ้น ทันทีทันใด เป็ นเหมือนอสรพิษที่ถูกตีด้วยท่อนไม้ แผ่พังพาน ฉะนั้น.
เธอกระวนกระวายด้วยอานาจกิเลส จนไม่สามารถจะเจริญพระปริตรได้ทีเดียว
บินไปยังสานักนางยูงโดยเร็ว ถลาลงโดยอากาศ สอดเท้าเข้าไปในบ่วงเสียเลย.
บ่วงที่ไม่เคยรูด ตลอด ๗๐๐ ปี ก็รูดรัดเท้า ในขณะนั้นแล.
ทีนั้น ลูกนายพรานเห็นพญายูงทองนั้นห้อยต่องแต่ง อยู่ที่ปลายคัน
แล้วคิดว่า ลูกนายพราน ๖ คน ไม่สามารถที่จะดักพญายูงทองนี้ได้
ถึงตัวเราก็ไม่สามารถดักได้ ๗ ปี. วันนี้เวลาอาหารเช้า พญายูงอาศัยนางยูง
เป็นสัตว์กระวนกระวายด้วยอานาจกิเลส ถึงไม่อาจเจริญปริตร
มาติดบ่วงแขวนต่องแต่ง เอาหัวลงอยู่ เป็ นสัตว์มีศีล เห็นปานฉะนี้
ถูกเรากระทาให้ลาบากเสียแล้ว การน้อมนาสัตว์เช่นนี้
เข้าไปเพื่อเป็นบรรณาการแด่พระราชา ไม่ควรเลย เราจะต้องการอะไร
ด้วยสักการะที่พระราชาทรงพระราชทาน จักปล่อยเธอเสียเถอะ
หวนคิดว่า พญายูงนี้มีกาลังดังช้างสาร สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง
เมื่อเราเข้าไปใกล้ คงคิดว่า ผู้นี้จักมาฆ่าเรา แล้วเลยกลัวตายอย่างเหลือล้น
ดิ้นรนไป ทาลายเท้าหรือปีกเสียได้ ก็ครั้นเราไม่เข้าไปใกล้
คงซุ่มตัดบ่วงให้ขาดด้วยคมศร แต่นั้น เธอก็จักไปตามพอใจ โดยลาพังตนเอง.
เขาคงยืนอยู่ในที่ซ่อน ยกธนูขึ้นสอดลูกศร ยืนจ้องอยู่.
7
ฝ่ายพญายูงดาริว่า พรานผู้นี้ทราบการที่ต้องทาให้
เรากระวนกระวายด้วยอานาจกิเลสแล้ว จึงดักได้ง่ายดาย ไม่เห็นกระตือรือร้นเลย
เขาซุ่มอยู่ตรงไหนเล่านะ มองดูรอบๆ ข้าง เห็นยืนจ้องธนู สาคัญว่า
คงจักปรารถนาฆ่าเราให้ตาย แล้วก็สะดุ้งกลัวต่อความตาย เป็ นล้นพ้น.
เมื่อจะวอนขอชีวิต จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า
ดูก่อนสหาย ก็ถ้าแหละท่านจับข้าพเจ้า เพราะเหตุแห่งทรัพย์แล้ว
ท่านอย่าฆ่าข้าพเจ้าเลย จงจับเป็ น นาข้าพเจ้าไปถวายพระราชาเถิด เข้าใจว่า
ท่านจักได้ทรัพย์มิใช่น้อยเลย.
ลูกนายพรานได้ยินคานั้นแล้วดาริว่า พญายูงคงเข้าใจว่า
พรานนี้สอดใส่ลูกศรเพื่อต้องการจะยิง ต้องปลอบเธอเถอะ เมื่อจะปลอบ
จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า
เราผูกสอดลูกธนูใส่เข้าในแล่ง มิได้หมายมั่นว่า จะฆ่าท่านในวันนี้เลย
แต่เราจักตัดบ่วงที่ผูกรัดเท้าท่าน พญายูงจงไปตามสบายเถิด.
ลาดับนั้น พญายูงได้กล่าวสองคาถาว่า
เหตุไร ท่านจึงเพียรดักข้าพเจ้ามาถึง ๗ ปี
สู้อดกลั้นความหิวกระหายทั้งกลางคืนและกลางวัน เมื่อเป็ นเช่นนั้น
ท่านปรารถนาจะปลดปล่อยข้าพเจ้า ผู้ติดบ่วงเสียจากบ่วง เพื่ออะไร
วันนี้ ท่านงดเว้นจากปาณาติบาตหรือ
หรือว่าท่านให้อภัยในสัตว์ทั้งปวง เหตุไร ท่านจึงปรารถนาจะปลดปล่อยข้าพเจ้า
ผู้ติดบ่วงออกจากบ่วง เสียเล่า.
ต่อจากนี้ไป พึงทราบความสัมพันธ์แห่งการโต้ตอบ ดังนี้.
นายพรานถามว่า
ดูก่อนพญายูง ขอท่านจงบอกว่า ผู้ใดเป็นผู้งดเว้นจากปาณาติบาต
และให้อภัยในสัตว์ทั้งปวง ข้าพเจ้าขอถามความนั้นกะท่าน ผู้นั้นจุติจากโลกนี้แล้ว
จะได้ความสุขอะไร.
ข้าพเจ้าขอบอกว่า ผู้ใดเป็นผู้งดเว้นจากปาณาติบาต
และให้อภัยในสัตว์ทั้งปวง ผู้นั้นย่อมได้รับความสรรเสริญในปัจจุบัน
และเมื่อตายไปย่อมไปสู่สวรรค์.
สมณพราหมณ์พวกหนึ่งกล่าวว่า เทวดาทั้งหลายไม่มี
ชีพย่อมเข้าถึงความเป็นต่างๆ กันในโลกนี้
ผลของกรรมดีและกรรมชั่วก็ไม่มีเหมือนกัน และกล่าวว่า ทานอันคนโง่บัญญัติไว้
ข้าพเจ้าเชื่อถ้อยคาของพระอรหันต์เหล่านั้น ฉะนั้น จึงเบียดเบียนนกทั้งหลาย.
ได้ยินว่า พวกชีเปลือยผู้มีวาทะว่าขาดสูญ
เป็นพวกใกล้ชิดสกุลของนายพรานนั้น พวกเหล่านั้นพากันชวนนายพราน
ผู้เป็นสัตว์แม้จะพร้อมด้วยอุปนิสัยแห่งปัจเจกโพธิญาณ
8
ให้ยึดถืออุจเฉทวาทเสียได้ เพราะสังสรรค์กับพวกชีเปลือยนั้น
นายพรานนั้นจึงยึดเอาว่า ผลแห่งกุศลและอกุศลไม่มี
จึงฆ่าฝูงนกเสียนักหนา อันการคบหากับคนผู้มิใช่สัตบุรุษนี้
มีโทษใหญ่หลวงถึงเพียงนี้ และพรานนี้สาคัญว่า พวกนั้นเท่านั้นเป็ นอรหันต์
จึงกล่าวอย่างนี้ (ข้าพเจ้าเชื่อถือถ้อยคาของพวกอรหันต์เหล่านั้น).
พระมหาสัตว์ฟังคานั้นแล้วดาริว่า
เราต้องกล่าวถึงความที่ปรโลกมีอยู่แก่เขา ทั้งๆ
ที่ห้อยศีรษะลงอยู่ปลายคันแล้วนั่นแหละ กล่าวคาถาว่า
ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ เห็นกันได้ง่ายๆ ส่องสว่างไปในอากาศ
ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ทั้งสองนั้นอยู่ในโลกนี้ หรือในโลกอื่น
สมณพราหมณ์เหล่านั้นกล่าวถึงดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ว่า เป็นเทวดาในมนุษยโลก
อย่างไรหรือ.
ลูกนายพรานกล่าวคาถาว่า
ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ เห็นกันได้ง่ายๆ ส่องสว่างไปในอากาศ
ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ นั้น มีอยู่ในโลกอื่นไม่มีในโลกนี้
สมณพราหมณ์เหล่านั้นกล่าวถึงดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ว่า เป็นเทวดาในมนุษยโลก.
ครั้งนั้น พระมหาสัตว์กล่าวคาถาว่า
สมณพราหมณ์เหล่าใด มีวาทะว่า หาเหตุมิได้ ไม่กล่าวถึงกรรม
ไม่กล่าวถึงผลแห่งกรรมดีกรรมชั่ว และกล่าวถึงทานว่า คนโง่บัญญัติไว้
สมณพราหมณ์เหล่านั้นเป็ นผู้มีวาทะเลวทราม
ถูกท่านกาจัดเสียแล้วเพราะการพยากรณ์นี้แหละ.
เมื่อพระมหาสัตว์กล่าวเรื่อยๆ ไป เขากาหนดได้แล้ว กล่าวคาถาว่า
คาของท่านนี้เป็ นคาจริงแท้ทีเดียว ไฉนทานจะไม่พึงมีผลเล่า
ผลของกรรมดีกรรมชั่วก็เหมือนกัน ไฉนจะไม่มีผล อนึ่ง
ทานนี้จะว่าคนโง่บัญญัติขึ้นอย่างไรได้.
ดูก่อนพญายูง ข้าพเจ้าจะทาอย่างไร จะทาอะไร ประพฤติอะไร
เสพสมาคมอะไร ด้วยตบะคุณอะไร อย่างไรจึงจะต้องไม่ไปตกนรก
ขอท่านจงบอกเนื้อความนี้แก่ข้าพเจ้าเถิด.
พระมหาสัตว์ฟังคานั้นแล้วดาริว่า ถ้าเราจักไม่กล่าวแก้ปัญหานี้
โลกมนุษย์จักเกิดเป็นดุจว่างเปล่า
เราจักกล่าวความที่สมณพราหมณ์ผู้ทรงธรรมมีอยู่ในโลกมนุษย์นั่นเองแก่เขา
ได้ภาษิตสองคาถาว่า
มีสมณะเหล่าใดเหล่าหนึ่ง นุ่งห่มผ้าย้อมด้วยน้าฝาด
ประพฤติเป็นผู้ไม่มีเรือน เที่ยวไปบิณฑบาตในเวลาเช้าในกาล
เว้นจากการเที่ยวไปในเวลาวิกาล ผู้สงบระงับอยู่ในแผ่นดินนี้แน่
9
ท่านจงเข้าไปหาสมณะเหล่านั้นในเวลาอันควร ณ ที่นั้น
แล้วจงถามข้อความตามความพอใจของท่าน
สมณะเหล่านั้นก็ชี้แจงประโยชน์ในโลกนี้ และโลกหน้าให้แก่ท่าน
ตามความรู้ความเห็น.
ก็แล ครั้นพญายูงกล่าวอย่างนี้แล้ว ขู่ให้กลัวภัยในนรก.
ก็เขาเป็นพระปัจเจกโพธิสัตว์ผู้มีบารมีบาเพ็ญเต็มแล้ว
มีญาณอันแก่กล้าแล้ว เป็ นเหมือนดอกปทุมที่แก่แล้ว
ชูก้านรอการถูกต้องของแสงอาทิตย์ฉะนั้น. เมื่อฟังธรรมกถาของพญายูง
ยืนอยู่ด้วยท่าเดิมนั้นแหละ กาหนดสังขารทั้งหลาย พิจารณาไตรลักษณ์
บรรลุปัจเจกโพธิญาณแล้ว.
การบรรลุของท่านและการพ้นจากบ่วงของพระมหาสัตว์
ได้มีในขณะเดียวกันแล. พระปัจเจกพุทธเจ้าทาลายกิเลสทั้งหลายแล้ว ดารงอยู่ ณ
สุดแดนของภพทีเดียว เมื่อจะเปล่งอุทาน จึงกล่าวคาถาว่า
ความเป็นพรานนี้ เราละได้แล้ว เหมือนงูลอกคราบเก่าของตน
หรือเหมือนต้นไม้อันเขียวชอุ่มผลัดใบเหลืองทิ้ง ฉะนั้น
วันนี้เราละความเป็ นพรานได้.
ครั้นท่านเปล่งอุทานนี้แล้ว ดาริว่า เราพ้นจากเครื่องพัวพัน
คือกิเลสทั้งปวงได้แน่นอน แต่ในที่อยู่ของเรายังมีนกถูกกักขังอยู่มาก
เราจักปลดปล่อยนกเหล่านั้นได้อย่างไร จึงถามพระมหาสัตว์ว่า พญายูงเอ๋ย
ในที่อยู่ของข้าพเจ้ามีนกถูกกักขังอยู่เป็นอันมาก
ข้าพเจ้าจักปลดปล่อยนกเหล่านั้นได้อย่างไรละ. อันที่จริง
ญาณในการกาหนดอุบายของพระสัพพัญญูโพธิสัตว์ทั้งหลาย
ย่อมใหญ่โตกว่าพระปัจเจกพุทธเจ้า. เหตุนั้น พญายูงจึงกล่าวกะท่านว่า
ปัจเจกโพธิญาณที่ท่านทาลายกิเลสทั้งปวงเสีย แล้วบรรลุด้วยโพธิมรรคใด
โปรดปรารภโพธิมรรคนั้น กระทาสัจจกิริยาเถิด
ธรรมดาสัตว์อันต้องจองจาในชมพูทวีปทั้งสิ้นก็จักไม่มี.
ท่านดารงในฐานะที่พระโพธิสัตว์กล่าวแล้ว เมื่อจะทาสัจจกิริยา จึงกล่าวคาถาว่า
อนึ่ง มีนกเหล่าใดที่เรากักขังไว้ในนิเวศน์ ประมาณหลายร้อย วันนี้
เราให้ชีวิตแก่นกเหล่านั้น ขอนกเหล่านั้นจงพ้นจากการกักขัง
ไปสู่สถานที่อยู่เดิมของตนเถิด.
ลาดับนั้น นกทั้งปวงก็พ้นจากที่กักขัง พอดีกันกับเวลาที่
พระปัจเจกโพธินั้นกระทาสัจจกิริยานั่นเอง ต่างร้องร่าเริง
บินไปที่อยู่ของตนทั่วกัน. ก็แลในขณะนั้น บรรดาสัตว์ในเหย้าเรือนทุกหนแห่ง
ตั้งต้นแต่แมวเป็ นต้นในชมพูทวีปทั้งสิ้นที่จักได้ชื่อว่าสัตว์ต้องกักขัง มิได้มีเลย.
พระปัจเจกพุทธเจ้ายกมือลูบศีรษะ. ทันใดนั่นเอง เพศคฤหัสถ์ก็หายไป
10
เพศบรรพชิตปรากฏแทน. ท่านเป็ นเหมือนพระเถระมีพรรษา ๖๐
สมบูรณ์ด้วยมรรยาท ทรงอัฐบริขาร กล่าวว่า
ท่านนั้นเทียวได้เป็ นที่พึ่งของข้าพเจ้า ประคองอัญชลีแก่พญายูง
กระทาประทักษิณ เหาะขึ้นอากาศไปสู่เงื้อมผา ชื่อนันทมูล.
ฝ่ายพญายูงก็โดดจากปลายคันแร้ว หาอาหาร ไปสู่ที่อยู่ของตนดังเดิม.
บัดนี้ พระศาสดา
เมื่อจะทรงประกาศความที่นายพรานแม้จะถือบ่วงเที่ยวไปตั้ง ๗ ปี
อาศัยพญายูงพ้นจากทุกข์ได้ จึงตรัสพระคาถาสุดท้ายว่า
นายพรานถือบ่วงเที่ยวไปในราวป่า เพื่อดักพญานกยูงตัวเรืองยศ
ครั้นดักพญานกยูงตัวเรืองยศได้แล้ว ก็ได้พ้นจากทุกข์เหมือนเราพ้นแล้วฉะนั้น.
พระศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประกาศสัจจธรรม
เวลาจบสัจจธรรม ภิกษุผู้กระสันดารงในพระอรหัต
แล้วทรงประชุมชาดก ว่า
พระปัจเจกพุทธเจ้าในครั้งนั้นปรินิพพาน
ส่วนพญายูงได้มาเป็ น เราตถาคต แล.
จบอรรถกถามหาโมรชาดกที่ ๘
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 491 มหาโมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf
23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf
23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
168 สกุณัคฆิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
168 สกุณัคฆิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...168 สกุณัคฆิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
168 สกุณัคฆิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tongsamut vorasan
 
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 

Similar to 491 มหาโมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
257 คามณิจันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf
23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf
23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf
 
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
168 สกุณัคฆิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
168 สกุณัคฆิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...168 สกุณัคฆิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
168 สกุณัคฆิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
 
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 

491 มหาโมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 มหาโมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๘. มหาโมรชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๙๑) ว่าด้วยพญานกยูง (พญานกยูงร้องขอชีวิตว่า) [๑๔๓] ถ้าหากท่านจับข้าพเจ้าเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ท่านอย่าได้ฆ่าข้าพเจ้าเลย จงจับเป็นแล้วนาข้าพเจ้าไปยังสานักพระราชาเถิดเพื่อน ท่านคงจะได้ทรัพย์มิใช่น้อย (บุตรนายพรานปลอบว่า) [๑๔๔] ลูกธนูที่สอดอยู่ในแล่งนี้ ข้าพเจ้าตั้งใจจะฆ่าท่านในวันนี้ก็หาไม่ แต่จะตัดบ่วงให้แก่ท่าน ด้วยมีความประสงค์ว่า ขอพญายูงทองจงบินไปตามสบายเถิด (พญานกยูงกล่าวว่า) [๑๔๕] ข้าพเจ้าขอถามท่าน เพราะเหตุที่ท่านสู้อดกลั้นความหิวกระหายตลอดทั้งคืนทั้งวัน เฝ้ าติดตามข้าพเจ้าอยู่ตลอด ๗ ปี เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุอะไร ท่านจึงประสงค์จะปล่อยข้าพเจ้า ผู้ติดบ่วงให้พ้นเสียจากเครื่องผูกเล่า [๑๔๖] วันนี้ ท่านงดเว้นจากปาณาติบาตแล้วหรือหนอ หรือว่าท่านให้อภัยแก่สัตว์ทั้งปวงแล้ว เพราะเหตุใด ท่านจึงประสงค์จะปล่อยข้าพเจ้าผู้ติดบ่วง ให้พ้นเสียจากเครื่องผูกเล่า (บุตรนายพรานถามว่า) [๑๔๗] พญานกยูง ขอท่านจงบอกถึงผล ของบุคคลผู้งดเว้นจากปาณาติบาตและให้อภัยหมู่สัตว์ทั้งปวง ความข้อนี้ที่ข้าพเจ้าถามท่าน เขาจุติจากโลกนี้ไปแล้วจะได้รับความสุขอย่างไร (พญานกยูงตอบว่า) [๑๔๘] ข้าพเจ้าขอบอกผลของบุคคลผู้งดเว้นจากปาณาติบาต และผู้ให้อภัยหมู่สัตว์ทั้งปวงว่า เขาย่อมได้รับการสรรเสริญในปัจจุบัน และเมื่อตายย่อมไปสู่สวรรค์ (บุตรนายพรานกล่าวว่า) [๑๔๙] สมณะและพราหมณ์พวกหนึ่งกล่าวว่า เทวดาไม่มี ชีวะย่อมถึงความขาดสูญในภพนี้เท่านั้น ผลของกรรมดีกรรมชั่วก็เหมือนกัน ย่อมขาดสูญ และกล่าวสอนว่า ทานคนโง่บัญญัติไว้
  • 2. 2 ข้าพเจ้าเชื่อวาจาของพระอรหันต์เหล่านั้น เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าจึงเบียดเบียนนกทั้งหลาย (พระโพธิสัตว์กล่าวว่า) [๑๕๐] ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ เห็นได้ชัดเจน ส่องโลกให้สว่างไสว โคจรไปในอากาศ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ นั้นมีอยู่ในโลกนี้หรือโลกอื่น ในมนุษยโลก พวกเขากล่าวถึงดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ นั้นอย่างไรหนอ (บุตรนายพรานกล่าวว่า) [๑๕๑] ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ เห็นได้ชัดเจน ส่องโลกให้สว่างไสว โคจรไปในอากาศ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ นั้นมีอยู่ในโลกอื่น ไม่ใช่โลกนี้ ในมนุษยโลก พวกเขากล่าวถึงดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ ทั้ง ๒ นั้นว่า เทวดา (ต่อมาพระโพธิสัตว์ได้กล่าวกับเขาว่า) [๑๕๒] สมณะและพราหมณ์เหล่าใดเป็นอเหตุกทิฏฐิ (อเหตุกทิฏฐิ คือพวกมีความเห็นผิดกล่าวอย่างนี้ว่า กรรมที่เป็ นเหตุแห่งความบริสุทธิ์และความเศร้าหมองไม่มี) ไม่พูดถึงกรรม ไม่พูดถึงผลของกรรมดีกรรมชั่วด้วยเหมือนกัน แต่สอนว่า ทานคนโง่บัญญัติไว้ สมณะและพราหมณ์เหล่านั้นผู้มีทิฏฐิเลวทราม ถูกกาจัดแล้วในเพราะการพยากรณ์เพียงเท่านี้ (บุตรนายพรานกาหนดได้แล้วจึงกล่าวว่า) [๑๕๓] คาของท่านนั้นเป็ นคาสัตย์อย่างแท้จริง ทานจะไม่พึงมีผลได้อย่างไร กรรมดีกรรมชั่วก็เหมือนกัน จะไม่พึงมีผลได้อย่างไร และทานคนโง่จะพึงบัญญัติขึ้นได้อย่างไร [๑๕๔] พญานกยูง ข้าพเจ้ากระทากรรมอย่างไร กระทาเพราะอะไร ประพฤติอย่างไร จะคบใคร ผู้มีตบะคุณอย่างไร ขอท่านจงบอกเนื้อความนั้นแก่ข้าพเจ้าโดยที่ข้าพเจ้าจะไม่ต้องตกนรก (พระโพธิสัตว์กล่าวว่า) [๑๕๕] บนพื้นแผ่นดินยังมีสมณะพวกใดพวกหนึ่งอยู่ สมณะเหล่านั้นนุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์ เป็นบรรพชิต เที่ยวบิณฑบาตเฉพาะเวลาเช้า งดเว้นการบริโภคในเวลาวิกาล เป็นสัตบุรุษ [๑๕๖] ท่านจงเข้าไปหาสมณะเหล่านั้นตามกาลอันสมควร แล้วจงถามข้อความตามที่ท่านพอใจ สมณะเหล่านั้นจะชี้แจงข้อความอันเป็นประโยชน์ ทั้งในโลกนี้และโลกหน้าแก่ท่านตามที่รู้มา (พระปัจเจกพุทธเจ้าเปล่งอุทานว่า)
  • 3. 3 [๑๕๗] ความเป็นพรานนี้ข้าพเจ้าละได้แล้ว เหมือนงูลอกคราบเก่าแก่ทิ้งไป เหมือนต้นไม้สลัดใบเหลืองทิ้ง เขียวชะอุ่มอยู่ ข้าพเจ้าละทิ้งความเป็นพรานได้ในวันนี้ (ท่านทาสัจจกิริยาว่า) [๑๕๘] นกเหล่าใดที่ข้าพเจ้ากักขังไว้หลายร้อยตัวในเรือนของข้าพเจ้า วันนี้ ข้าพเจ้าให้ทานชีวิตแก่นกเหล่านั้น ขอให้นกเหล่านั้นจงหลุดพ้น กลับไปยังที่อยู่ของตนเถิด (พระศาสดาเมื่อจะทรงประกาศว่า นกเหล่านั้นพ้นจากทุกข์ได้เพราะอาศัยพญานกยูง จึงตรัสพระคาถาสุดท้ายว่า) [๑๕๙] นายพรานถือบ่วงเที่ยวไปในป่า เพื่อจะจับพญานกยูงทองผู้เรืองยศ ครั้นจับพญานกยูงทองผู้เรืองยศได้แล้ว เขาได้พ้นจากทุกข์เหมือนเราตถาคตได้พ้นแล้ว มหาโมรชาดกที่ ๘ จบ ------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา มหาโมรชาดก ว่าด้วย พญานกยูงพ้นจากบ่วง พระศาสดาเสด็จประทับ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงพระปรารภภิกษุผู้กระสันรูปหนึ่ง ตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. เรื่องย่อมีว่า พระศาสดาตรัสถามภิกษุนั้นว่า จริงหรือที่ข่าวว่าเธอกระสันจะสึก ครั้นเธอรับสารภาพว่า จริงพระเจ้าข้า. ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ ความกาหนัดด้วยความสามารถชื่นใจนี้ ไฉนจักไม่ให้บุคคลอย่างเธอ วุ่นวายได้เล่า มีอย่างหรือ ลมที่จะสามารถพลิกภูเขาสุเนรุได้ ไม่ทาให้ใบไม้เก่าๆ ใกล้ๆ กระจัดกระเจิงไป ในปางก่อนนั่นนะ แม้สัตว์ผู้บริสุทธิ์คอยหักห้าม ความฟุ้ งซ่านของกิเลสในภายใน อยู่ ๗๐๐ ปี ก็ยังโดนความกาหนัด ด้วยสามารถความชื่นใจนี้ ทาให้วุ่นวายได้เลย. ทรงนาอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี้ ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัต เสวยราชสมบัติ ณ พระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์ได้ถือปฏิสนธิในท้องนางนกยูง ในประเทศชายแดน. เมื่อครรภ์แก่เต็มที่แล้ว นางนกยูงผู้มารดาตกฟอง ณ ที่หากิน แล้วบินไป ก็ธรรมดาว่า ฟองไข่ เมื่อมารดาไม่มีโรค และไม่มีอันตรายอื่นๆ เป็นต้นว่า ทีฆชาติรบกวน ย่อมไม่เสีย. เหตุนั้น ฟองไข่นั้นจึงเป็ นเหมือนดอกกรรณิการ์ตูมๆ มีสีเหมือนสีทอง. เมื่อเวลาครบกาหนดก็แตกโดยธรรมดาของตน. ลูกนกยูงมีสีเป็นทอง ออกมาแล้ว. ลูกนกยูงทองนั้น มีนัยน์ตาทั้งคู่ คล้ายผลกระพังโหม
  • 4. 4 มีจะงอยปากสีเหมือนแก้วประพาฬ มีสร้อยสีแดงสามชั้นวงรอบคอ ผ่านไปกลางหลัง. ครั้นยูงทองเจริญวัย มีร่างกายเติบใหญ่ขนาดดุมเกวียน รูปงามยิ่งนัก. ฝูงนกยูงเขียวๆ ทั้งหมด ประชุมกันยกให้ นกยูงทองเป็นเจ้านาย พากันแวดล้อมเป็ นบริวาร. วันหนึ่ง นกยูงทองดื่มน้าในกระพังน้า เห็นรูปสมบัติของตน คิดว่า เรามีรูปงามล้าเลิศกว่านกยูงทั้งหมด ถ้าเราจักอยู่ในแดนมนุษย์กับฝูงนกยูงเหล่านี้ อันตรายคงบังเกิดแก่เรา เราต้องไปป่าหิมพานต์อาศัยอยู่ ณ ที่อันสาราญ ลาพังผู้เดียวจึงจะดี. เมื่อฝูงนกยูงพากันแนบรังนอน ในราตรีกาล ก็มิได้บอกให้ตัวอะไรรู้เลย โผขึ้นบินเข้าป่าหิมพานต์ ผ่านทิวเขาไป ๓ ทิว ถึงทิวที่ ๔ มีสระธรรมชาติขนาดใหญ่ ดาดาษไปด้วยปทุม อยู่ในป่าตอนหนึ่ง ไม่ไกลสระนั้น มีต้นไทรใหญ่เกิดอาศัยภูเขาลูกหนึ่ง ก็ลงเร้นกายถึงกิ่งไทรนั้น. อนึ่งเล่า ที่ตรงกลางภูเขานั้น ยังมีถ้าอันน่าเจริญใจ. พญายูงทองมุ่งจะอยู่ในถ้านั้น จึงลงเกาะที่พื้นภูเขาตรงหน้าถ้านั้น. ก็แลที่ตรงนั้น ผู้อยู่ข้างล่างไม่อาจขึ้นไปได้เลย ผู้อยู่ข้างบนเล่าก็ไม่อาจลงไปได้ เป็นที่ปลอดภัยจากแมว งู มนุษย์. พญานกยูงทองดาริว่า ตรงนี้เป็ นที่อันสาราญของเรา คงพักอยู่ตรงนั้นเอง ตลอดวันนั้น ต่อรุ่งขึ้น ก็ลุกออกจากถ้า เกาะที่ยอดเขา หันหน้าไปทางทิศตะวันออก เห็นสุริยมณฑลกาลังอุทัย ก็สวดปริตร เพื่อขอความคุ้มครองป้ องกันตน ในเวลากลางวันว่า อุเทตยญฺจกฺขุมา เอกราชา พระเจ้าองค์เอก ทรงพระจักษุพระองค์นี้ กาลังอุทัยดังนี้เป็ นต้น แล้วร่อนลง ณ ที่หากิน เที่ยวหากิน ตอนเย็น จึงมาเกาะที่ยอดเขาบ่ายหน้าทางทิศตะวันตก เพ่งดูสุริยมณฑลอันอัสดง สวดพระปริตร เพื่อขอความคุ้มครองป้ องกัน ในเวลากลางคืนว่า อเปตยญฺจกฺขุมา เอกราชา พระเจ้าองค์เอก ทรงพระจักษุพระองค์นี้ กาลังเสด็จออกไป ดังนี้เป็ นต้น พานักอยู่ด้วยอุบายนี้. ครั้น ณ วันหนึ่ง ลูกนายพรานผู้หนึ่งท่องเที่ยวไปในราวป่า เห็นพญายูงทองนั้นจับอยู่เหนือยอดเขา จึงมาที่อยู่ของตน เมื่อจวนจะตายบอกลูกไว้ว่า พ่อเอ๋ย ในราวป่าตรงทิวเขาที่ ๔ มีนกยูงทอง ถ้าพระราชาตรัสถาม ก็กราบทูลให้ทรงทราบ. อยู่มาวันหนึ่ง พระอัครมเหสีของพระเจ้าพาราณสี ทรงพระนามว่าเขมา ทรงเห็นพระสุบินในเวลาใกล้รุ่ง พระสุบินได้มีเรื่องราวอย่างนี้. นกยูงมีสีเหมือนสีทอง กาลังแสดงธรรม. พระนางทรงให้สาธุการสดับธรรม. นกยูง ครั้นแสดงธรรมเสร็จก็ลุกขึ้นบินไป. พระนางทอดพระเนตรเห็นพญายูงทองกาลังบินไป ก็ตรัสสั่งให้คนทั้งหลายช่วยกันจับพญานกยูงนั้นให้ได้ ขณะที่กาลังตรัสอยู่นั่นแหละ ทรงตื่นเสีย
  • 5. 5 ครั้นทรงตื่นแล้วจึงทรงทราบว่าเป็นความฝัน ทรงดาริต่อไปว่า ครั้นจะกราบทูลว่า ฝันไป ที่ไหนพระราชาจะทรงเอาพระหฤทัยเอื้อเฟื้อแล้วทรงบรรทม ประหนึ่งทรงแพ้พระครรภ์. ครั้งนั้น พระราชาเสด็จเข้ามาใกล้พระนาง ตรัสถามว่า นางผู้เจริญใจ เธอไม่สบาย เป็ นอะไรไปเล่า. กราบทูลว่า ความแพ้ครรภ์บังเกิดขึ้นแก่หม่อมฉัน พระเจ้าค่ะ. ตรัสถามว่า เธอต้องการสิ่งใดเล่า จ๊ะ นางผู้เจริญ. กราบทูลว่า ข้าแต่ทูลกระหม่อม เกล้ากระหม่อมฉันปรารถนาจะฟังธรรมของพญานกยูงทอง พระเจ้าค่ะ. รับสั่งว่า นางผู้เจริญใจเอ๋ย ฉันจักหาพญายูงทองอย่างนี้ ได้จากไหนเล่า. กราบทูลว่า ข้าแต่ทูลกระหม่อม แม้เกล้ากระหม่อมฉันมิได้สมปรารถนา ชีวิตของเกล้ากระหม่อมฉัน เป็นอันไม่มีละ พระเจ้าค่ะ. ตรัสปลอบว่า นางผู้เจริญใจ อย่าเสียใจเลยนะ ถ้ามันมีอยู่ ณ ที่ไหน เธอต้องได้แน่นอน แล้วเสด็จประทับนั่งเหนือพระราชอาสน์ ตรัสถามหมู่อามาตย์ว่า แน่ะพ่อเอ๋ย เทวีปรารถนาจะฟังธรรมของนกยูงทอง อันนกยูงมีสีเหมือนสีทองน่ะ มีอยู่หรือไม่. พวกอามาตย์กราบทูลว่า ขอเดชะ พวกพราหมณ์คงจักทราบ พระเจ้าข้า. พระราชาตรัสให้หาพวกพราหมณ์มาเฝ้ าแล้ว มีพระดารัสถาม. พวกพราหมณ์พากันกราบทูลอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระมหาราช สัตว์เดียรัจฉานเหล่านี้คือ ในจาพวกสัตว์น้า ปลา เต่า ปู ในจาพวกสัตว์บก มฤค หงส์ นกยูง นกกระทา มีสีเหมือนสีทอง มีอยู่. แม้มนุษย์ทั้งหลายเล่าก็มีสีเหมือนสีทองมีอยู่ ทั้งนี้มีมาในคัมภีร์ลักษณมนต์ของข้าพระองค์ทั้งหลาย พระเจ้าข้า. พระราชาทรงเรียกพวกบุตรพรานในแว่นแคว้นของพระองค์ มาประชุมกัน. รับสั่งว่า นกยูงทองพวกเธอเคยเห็นบ้างไหม. คนที่บิดาเคยเล่าให้ฟัง กราบทูลว่า ถึงข้าพระองค์จะไม่เคยเห็น แต่บิดาของข้าพระองค์บอกไว้ว่า นกยูงทองมีอยู่ในสถานที่ตรงโน้น พระเจ้าข้า. ครั้งนั้น พระราชาตรัสกะเขาว่า สหายเอ๋ย เธอจักเป็นคนให้ชีวิตแก่ฉันและเทวีได้ละ เพราะฉะนั้น เธอจงไปที่นั้น จับมัดนกยูงทองนั้นนามาเถิด ประทานทรัพย์เป็นอันมาก ส่งไป. เขาให้ทรัพย์แก่ลูกเมียแล้วไป ณ ที่นั้น เห็นพระมหาสัตว์ ก็ทาบ่วงดักรอว่า วันนี้คงติด วันนี้คงติด ก็ไม่ติดสักที จนตายไป. พระเทวีเล่า เมื่อไม่ได้ดังพระปรารถนา ก็สิ้นพระชนม์ไป. พระราชาทรงกริ้วว่า เพราะอาศัยนกยูงทองตัวนี้เป็นเหตุ เมียรักของเราต้องสิ้นพระชนม์ ทรงมีพระหฤทัยเป็นไปในอานาจแห่งเวร ทรงให้จารึกไว้ในแผ่นทองว่า ที่ทิวเขาที่สี่ในป่าหิมพานต์ มีนกยูงทองอาศัยอยู่
  • 6. 6 บุคคลได้กินเนื้อของยูงทองแล้วนั้น จะไม่แก่ไม่ตาย แล้วบรรจุหนังสือนั้นไว้ในหีบไม้แก่น เสด็จสวรรคตไป. ครั้นกษัตริย์องค์อื่นได้เป็นพระราชาแล้ว ท้าวเธอทอดพระเนตรเห็นอักษรในแผ่นทอง ก็ทรงดาริว่า เราจักเป็ นผู้ไม่แก่ไม่ตาย ทรงส่งให้พรานผู้หนึ่งไปเพื่อจับพญายูงทองนั้น. แม้พรานผู้นั้นก็ตายเสียที่นั้น ดุจกัน. โดยทานองนี้ ล่วงไปถึง ๖ รัชกาลแล้ว ลูกพรานทั้ง ๖ ตายในป่าหิมพานต์นั้นเอง. ถึงพรานคนที่ ๗ ซึ่งพระราชาองค์ที่ ๗ ทรงใช้ไป คิดว่า เราจักจับนกยูงทองนั้นได้ในวันนี้ ในวันนี้แน่นอน ล่วงไปถึง ๗ ปี ก็ไม่สามารถจะจับนกยูงทองตัวนั้นได้ ดาริว่า ทาไมเล่าหนอ บ่วงจึงไม่รูดรัดเท้าของพญายูงทองนี้ คอยกาหนดดูพญานกยูงทองนั้น เห็นเจริญพระปริตร ทุกเย็นทุกเช้า ก็กาหนดได้โดยนัยว่า ในสถานที่นี้ นกยูงตัวอื่นไม่มีเลย. อันพญายูงทองตัวนี้คงประพฤติพรหมจรรย์ ด้วยอานุภาพแห่งพรหมจรรย์ และด้วยอานุภาพแห่งพระปริตร บ่วงจึงไม่ติดเท้าของพญายูงทอง แล้วจึงไปสู่ปัจจันตชนบท ดักนางยูงได้ตัวหนึ่ง ฝึกฝนให้ขันในเวลาดีดนิ้วมือ ให้ฟ้ อนในเวลาตบมือ แล้วพาไป ก่อนเวลาที่พระโพธิสัตว์จะเจริญปริตรทีเดียว ดักบ่วงไว้ ดีดนิ้วมือให้นางยูงขัน. เมื่อพญายูงทองได้ฟังเสียงของนางยูง กิเลสที่ราบเรียบไปตลอดเวลา ๗๐๐ ปี ก็ฟุ้ งขึ้น ทันทีทันใด เป็ นเหมือนอสรพิษที่ถูกตีด้วยท่อนไม้ แผ่พังพาน ฉะนั้น. เธอกระวนกระวายด้วยอานาจกิเลส จนไม่สามารถจะเจริญพระปริตรได้ทีเดียว บินไปยังสานักนางยูงโดยเร็ว ถลาลงโดยอากาศ สอดเท้าเข้าไปในบ่วงเสียเลย. บ่วงที่ไม่เคยรูด ตลอด ๗๐๐ ปี ก็รูดรัดเท้า ในขณะนั้นแล. ทีนั้น ลูกนายพรานเห็นพญายูงทองนั้นห้อยต่องแต่ง อยู่ที่ปลายคัน แล้วคิดว่า ลูกนายพราน ๖ คน ไม่สามารถที่จะดักพญายูงทองนี้ได้ ถึงตัวเราก็ไม่สามารถดักได้ ๗ ปี. วันนี้เวลาอาหารเช้า พญายูงอาศัยนางยูง เป็นสัตว์กระวนกระวายด้วยอานาจกิเลส ถึงไม่อาจเจริญปริตร มาติดบ่วงแขวนต่องแต่ง เอาหัวลงอยู่ เป็ นสัตว์มีศีล เห็นปานฉะนี้ ถูกเรากระทาให้ลาบากเสียแล้ว การน้อมนาสัตว์เช่นนี้ เข้าไปเพื่อเป็นบรรณาการแด่พระราชา ไม่ควรเลย เราจะต้องการอะไร ด้วยสักการะที่พระราชาทรงพระราชทาน จักปล่อยเธอเสียเถอะ หวนคิดว่า พญายูงนี้มีกาลังดังช้างสาร สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง เมื่อเราเข้าไปใกล้ คงคิดว่า ผู้นี้จักมาฆ่าเรา แล้วเลยกลัวตายอย่างเหลือล้น ดิ้นรนไป ทาลายเท้าหรือปีกเสียได้ ก็ครั้นเราไม่เข้าไปใกล้ คงซุ่มตัดบ่วงให้ขาดด้วยคมศร แต่นั้น เธอก็จักไปตามพอใจ โดยลาพังตนเอง. เขาคงยืนอยู่ในที่ซ่อน ยกธนูขึ้นสอดลูกศร ยืนจ้องอยู่.
  • 7. 7 ฝ่ายพญายูงดาริว่า พรานผู้นี้ทราบการที่ต้องทาให้ เรากระวนกระวายด้วยอานาจกิเลสแล้ว จึงดักได้ง่ายดาย ไม่เห็นกระตือรือร้นเลย เขาซุ่มอยู่ตรงไหนเล่านะ มองดูรอบๆ ข้าง เห็นยืนจ้องธนู สาคัญว่า คงจักปรารถนาฆ่าเราให้ตาย แล้วก็สะดุ้งกลัวต่อความตาย เป็ นล้นพ้น. เมื่อจะวอนขอชีวิต จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า ดูก่อนสหาย ก็ถ้าแหละท่านจับข้าพเจ้า เพราะเหตุแห่งทรัพย์แล้ว ท่านอย่าฆ่าข้าพเจ้าเลย จงจับเป็ น นาข้าพเจ้าไปถวายพระราชาเถิด เข้าใจว่า ท่านจักได้ทรัพย์มิใช่น้อยเลย. ลูกนายพรานได้ยินคานั้นแล้วดาริว่า พญายูงคงเข้าใจว่า พรานนี้สอดใส่ลูกศรเพื่อต้องการจะยิง ต้องปลอบเธอเถอะ เมื่อจะปลอบ จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า เราผูกสอดลูกธนูใส่เข้าในแล่ง มิได้หมายมั่นว่า จะฆ่าท่านในวันนี้เลย แต่เราจักตัดบ่วงที่ผูกรัดเท้าท่าน พญายูงจงไปตามสบายเถิด. ลาดับนั้น พญายูงได้กล่าวสองคาถาว่า เหตุไร ท่านจึงเพียรดักข้าพเจ้ามาถึง ๗ ปี สู้อดกลั้นความหิวกระหายทั้งกลางคืนและกลางวัน เมื่อเป็ นเช่นนั้น ท่านปรารถนาจะปลดปล่อยข้าพเจ้า ผู้ติดบ่วงเสียจากบ่วง เพื่ออะไร วันนี้ ท่านงดเว้นจากปาณาติบาตหรือ หรือว่าท่านให้อภัยในสัตว์ทั้งปวง เหตุไร ท่านจึงปรารถนาจะปลดปล่อยข้าพเจ้า ผู้ติดบ่วงออกจากบ่วง เสียเล่า. ต่อจากนี้ไป พึงทราบความสัมพันธ์แห่งการโต้ตอบ ดังนี้. นายพรานถามว่า ดูก่อนพญายูง ขอท่านจงบอกว่า ผู้ใดเป็นผู้งดเว้นจากปาณาติบาต และให้อภัยในสัตว์ทั้งปวง ข้าพเจ้าขอถามความนั้นกะท่าน ผู้นั้นจุติจากโลกนี้แล้ว จะได้ความสุขอะไร. ข้าพเจ้าขอบอกว่า ผู้ใดเป็นผู้งดเว้นจากปาณาติบาต และให้อภัยในสัตว์ทั้งปวง ผู้นั้นย่อมได้รับความสรรเสริญในปัจจุบัน และเมื่อตายไปย่อมไปสู่สวรรค์. สมณพราหมณ์พวกหนึ่งกล่าวว่า เทวดาทั้งหลายไม่มี ชีพย่อมเข้าถึงความเป็นต่างๆ กันในโลกนี้ ผลของกรรมดีและกรรมชั่วก็ไม่มีเหมือนกัน และกล่าวว่า ทานอันคนโง่บัญญัติไว้ ข้าพเจ้าเชื่อถ้อยคาของพระอรหันต์เหล่านั้น ฉะนั้น จึงเบียดเบียนนกทั้งหลาย. ได้ยินว่า พวกชีเปลือยผู้มีวาทะว่าขาดสูญ เป็นพวกใกล้ชิดสกุลของนายพรานนั้น พวกเหล่านั้นพากันชวนนายพราน ผู้เป็นสัตว์แม้จะพร้อมด้วยอุปนิสัยแห่งปัจเจกโพธิญาณ
  • 8. 8 ให้ยึดถืออุจเฉทวาทเสียได้ เพราะสังสรรค์กับพวกชีเปลือยนั้น นายพรานนั้นจึงยึดเอาว่า ผลแห่งกุศลและอกุศลไม่มี จึงฆ่าฝูงนกเสียนักหนา อันการคบหากับคนผู้มิใช่สัตบุรุษนี้ มีโทษใหญ่หลวงถึงเพียงนี้ และพรานนี้สาคัญว่า พวกนั้นเท่านั้นเป็ นอรหันต์ จึงกล่าวอย่างนี้ (ข้าพเจ้าเชื่อถือถ้อยคาของพวกอรหันต์เหล่านั้น). พระมหาสัตว์ฟังคานั้นแล้วดาริว่า เราต้องกล่าวถึงความที่ปรโลกมีอยู่แก่เขา ทั้งๆ ที่ห้อยศีรษะลงอยู่ปลายคันแล้วนั่นแหละ กล่าวคาถาว่า ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ เห็นกันได้ง่ายๆ ส่องสว่างไปในอากาศ ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ทั้งสองนั้นอยู่ในโลกนี้ หรือในโลกอื่น สมณพราหมณ์เหล่านั้นกล่าวถึงดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ว่า เป็นเทวดาในมนุษยโลก อย่างไรหรือ. ลูกนายพรานกล่าวคาถาว่า ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ เห็นกันได้ง่ายๆ ส่องสว่างไปในอากาศ ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ นั้น มีอยู่ในโลกอื่นไม่มีในโลกนี้ สมณพราหมณ์เหล่านั้นกล่าวถึงดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ว่า เป็นเทวดาในมนุษยโลก. ครั้งนั้น พระมหาสัตว์กล่าวคาถาว่า สมณพราหมณ์เหล่าใด มีวาทะว่า หาเหตุมิได้ ไม่กล่าวถึงกรรม ไม่กล่าวถึงผลแห่งกรรมดีกรรมชั่ว และกล่าวถึงทานว่า คนโง่บัญญัติไว้ สมณพราหมณ์เหล่านั้นเป็ นผู้มีวาทะเลวทราม ถูกท่านกาจัดเสียแล้วเพราะการพยากรณ์นี้แหละ. เมื่อพระมหาสัตว์กล่าวเรื่อยๆ ไป เขากาหนดได้แล้ว กล่าวคาถาว่า คาของท่านนี้เป็ นคาจริงแท้ทีเดียว ไฉนทานจะไม่พึงมีผลเล่า ผลของกรรมดีกรรมชั่วก็เหมือนกัน ไฉนจะไม่มีผล อนึ่ง ทานนี้จะว่าคนโง่บัญญัติขึ้นอย่างไรได้. ดูก่อนพญายูง ข้าพเจ้าจะทาอย่างไร จะทาอะไร ประพฤติอะไร เสพสมาคมอะไร ด้วยตบะคุณอะไร อย่างไรจึงจะต้องไม่ไปตกนรก ขอท่านจงบอกเนื้อความนี้แก่ข้าพเจ้าเถิด. พระมหาสัตว์ฟังคานั้นแล้วดาริว่า ถ้าเราจักไม่กล่าวแก้ปัญหานี้ โลกมนุษย์จักเกิดเป็นดุจว่างเปล่า เราจักกล่าวความที่สมณพราหมณ์ผู้ทรงธรรมมีอยู่ในโลกมนุษย์นั่นเองแก่เขา ได้ภาษิตสองคาถาว่า มีสมณะเหล่าใดเหล่าหนึ่ง นุ่งห่มผ้าย้อมด้วยน้าฝาด ประพฤติเป็นผู้ไม่มีเรือน เที่ยวไปบิณฑบาตในเวลาเช้าในกาล เว้นจากการเที่ยวไปในเวลาวิกาล ผู้สงบระงับอยู่ในแผ่นดินนี้แน่
  • 9. 9 ท่านจงเข้าไปหาสมณะเหล่านั้นในเวลาอันควร ณ ที่นั้น แล้วจงถามข้อความตามความพอใจของท่าน สมณะเหล่านั้นก็ชี้แจงประโยชน์ในโลกนี้ และโลกหน้าให้แก่ท่าน ตามความรู้ความเห็น. ก็แล ครั้นพญายูงกล่าวอย่างนี้แล้ว ขู่ให้กลัวภัยในนรก. ก็เขาเป็นพระปัจเจกโพธิสัตว์ผู้มีบารมีบาเพ็ญเต็มแล้ว มีญาณอันแก่กล้าแล้ว เป็ นเหมือนดอกปทุมที่แก่แล้ว ชูก้านรอการถูกต้องของแสงอาทิตย์ฉะนั้น. เมื่อฟังธรรมกถาของพญายูง ยืนอยู่ด้วยท่าเดิมนั้นแหละ กาหนดสังขารทั้งหลาย พิจารณาไตรลักษณ์ บรรลุปัจเจกโพธิญาณแล้ว. การบรรลุของท่านและการพ้นจากบ่วงของพระมหาสัตว์ ได้มีในขณะเดียวกันแล. พระปัจเจกพุทธเจ้าทาลายกิเลสทั้งหลายแล้ว ดารงอยู่ ณ สุดแดนของภพทีเดียว เมื่อจะเปล่งอุทาน จึงกล่าวคาถาว่า ความเป็นพรานนี้ เราละได้แล้ว เหมือนงูลอกคราบเก่าของตน หรือเหมือนต้นไม้อันเขียวชอุ่มผลัดใบเหลืองทิ้ง ฉะนั้น วันนี้เราละความเป็ นพรานได้. ครั้นท่านเปล่งอุทานนี้แล้ว ดาริว่า เราพ้นจากเครื่องพัวพัน คือกิเลสทั้งปวงได้แน่นอน แต่ในที่อยู่ของเรายังมีนกถูกกักขังอยู่มาก เราจักปลดปล่อยนกเหล่านั้นได้อย่างไร จึงถามพระมหาสัตว์ว่า พญายูงเอ๋ย ในที่อยู่ของข้าพเจ้ามีนกถูกกักขังอยู่เป็นอันมาก ข้าพเจ้าจักปลดปล่อยนกเหล่านั้นได้อย่างไรละ. อันที่จริง ญาณในการกาหนดอุบายของพระสัพพัญญูโพธิสัตว์ทั้งหลาย ย่อมใหญ่โตกว่าพระปัจเจกพุทธเจ้า. เหตุนั้น พญายูงจึงกล่าวกะท่านว่า ปัจเจกโพธิญาณที่ท่านทาลายกิเลสทั้งปวงเสีย แล้วบรรลุด้วยโพธิมรรคใด โปรดปรารภโพธิมรรคนั้น กระทาสัจจกิริยาเถิด ธรรมดาสัตว์อันต้องจองจาในชมพูทวีปทั้งสิ้นก็จักไม่มี. ท่านดารงในฐานะที่พระโพธิสัตว์กล่าวแล้ว เมื่อจะทาสัจจกิริยา จึงกล่าวคาถาว่า อนึ่ง มีนกเหล่าใดที่เรากักขังไว้ในนิเวศน์ ประมาณหลายร้อย วันนี้ เราให้ชีวิตแก่นกเหล่านั้น ขอนกเหล่านั้นจงพ้นจากการกักขัง ไปสู่สถานที่อยู่เดิมของตนเถิด. ลาดับนั้น นกทั้งปวงก็พ้นจากที่กักขัง พอดีกันกับเวลาที่ พระปัจเจกโพธินั้นกระทาสัจจกิริยานั่นเอง ต่างร้องร่าเริง บินไปที่อยู่ของตนทั่วกัน. ก็แลในขณะนั้น บรรดาสัตว์ในเหย้าเรือนทุกหนแห่ง ตั้งต้นแต่แมวเป็ นต้นในชมพูทวีปทั้งสิ้นที่จักได้ชื่อว่าสัตว์ต้องกักขัง มิได้มีเลย. พระปัจเจกพุทธเจ้ายกมือลูบศีรษะ. ทันใดนั่นเอง เพศคฤหัสถ์ก็หายไป
  • 10. 10 เพศบรรพชิตปรากฏแทน. ท่านเป็ นเหมือนพระเถระมีพรรษา ๖๐ สมบูรณ์ด้วยมรรยาท ทรงอัฐบริขาร กล่าวว่า ท่านนั้นเทียวได้เป็ นที่พึ่งของข้าพเจ้า ประคองอัญชลีแก่พญายูง กระทาประทักษิณ เหาะขึ้นอากาศไปสู่เงื้อมผา ชื่อนันทมูล. ฝ่ายพญายูงก็โดดจากปลายคันแร้ว หาอาหาร ไปสู่ที่อยู่ของตนดังเดิม. บัดนี้ พระศาสดา เมื่อจะทรงประกาศความที่นายพรานแม้จะถือบ่วงเที่ยวไปตั้ง ๗ ปี อาศัยพญายูงพ้นจากทุกข์ได้ จึงตรัสพระคาถาสุดท้ายว่า นายพรานถือบ่วงเที่ยวไปในราวป่า เพื่อดักพญานกยูงตัวเรืองยศ ครั้นดักพญานกยูงตัวเรืองยศได้แล้ว ก็ได้พ้นจากทุกข์เหมือนเราพ้นแล้วฉะนั้น. พระศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประกาศสัจจธรรม เวลาจบสัจจธรรม ภิกษุผู้กระสันดารงในพระอรหัต แล้วทรงประชุมชาดก ว่า พระปัจเจกพุทธเจ้าในครั้งนั้นปรินิพพาน ส่วนพญายูงได้มาเป็ น เราตถาคต แล. จบอรรถกถามหาโมรชาดกที่ ๘ -----------------------------------------------------