SlideShare a Scribd company logo
1
อโยฆรชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๑๔. อโยฆรชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๕๑๐)
ว่าด้วยมหาสัตว์อโยฆรราช
(พระโพธิสัตว์อโยฆรราชเมื่อจะแสดงธรรมโปรดพระราชบิดา
จึงตรัสว่า)
[๓๖๓] สัตว์ถือปฏิสนธิครั้งแรก อยู่ในครรภ์ตลอดคืนหนึ่ง
ดาเนินไปไม่หวนกลับเหมือนเมฆหมอกที่ตั้งขึ้นแล้วลอยผ่านไป
[๓๖๔] นรชนทั้งหลายประกอบพร้อมด้วยกาลังพลสู้รบอยู่ในสงคราม
จะไม่แก่ไม่ตายก็หาไม่
เพราะว่ามณฑลแห่งปาณสัตว์นั้นล้วนถูกชาติและชราเบียดเบียน เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๖๕] พระราชาผู้เป็นใหญ่แห่งแคว้น ทรงข่มขี่ราชศัตรู
ผู้มีเสนาประกอบด้วยองค์ ๔ มีรูปร่างน่าสะพรึงกลัว เอาชนะไปได้
แต่ไม่ทรงสามารถชนะเสนาแห่งพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๖๖] พระราชาบางพวกแวดล้อมด้วยกองทัพช้าง กองทัพม้า
กองทัพรถ กองทัพพลเดินเท้า ย่อมพ้นจากเงื้อมมือของปัจจามิตรได้
แต่ไม่อาจจะทรงพ้นจากพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๖๗] พระราชาทั้งหลายผู้ทรงกล้าหาญ ทรงหักค่าย ทาลายนคร
กาจัดมหาชนได้ด้วยกองทัพช้าง กองทัพม้า กองทัพรถ กองทัพพลเดินเท้า
แต่ไม่อาจจะทรงหักราญพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๖๘] คชสารทั้งหลายตัวตกมัน มีมันแตกไหลเยิ้ม ย่อมย่ายีบ้านเมือง
เข่นฆ่าประชาชนได้ แต่ไม่อาจจะย่ายีพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๖๙] นายขมังธนูทั้งหลายผู้มีฝีมือฝึกปรือดีแล้ว เป็ นผู้กล้าหาญ
สามารถยิงไปได้ไกล แม่นยาไม่ผิดพลาด แต่ไม่อาจจะยิงพญามัจจุราชได้
เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๗๐] สระทั้งหลายย่อมเสื่อมสิ้นไป
พื้นปฐพีพร้อมทั้งภูเขาและราวป่าก็หมดสิ้นไป
ถึงทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ตลอดกาลนานเข้าก็เสื่อมสิ้นไป
2
เพราะสังขารทั้งปวงนั้นย่อมแตกสลายไปตามกาลกาหนด เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๗๑] แท้จริง ชีวิตของเหล่าสัตว์ทั้งปวงทั้งหญิงชายในโลกนี้
มีสภาพหวั่นไหว ปั่นป่วน เหมือนแผ่นผ้าของนักเลง เหมือนต้นไม้ที่เกิดใกล้ฝั่ง
เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๗๒] ทั้งคนหนุ่ม ทั้งคนแก่ ทั้งหญิง ทั้งชาย ทั้งบัณเฑาะก์ (กะเทย)
ย่อมมีกายแตกทาลายไปเหมือนผลไม้หล่นจากต้น เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๗๓] ดวงจันทร์ซึ่งเป็ นราชาแห่งดวงดาวเป็ นฉันใด
วัยนี้หาเป็นฉันนั้นไม่ เพราะส่วนใดล่วงไปแล้ว
ส่วนนั้นเป็ นอันล่วงไปแล้วในบัดนี้ อนึ่ง คนแก่เฒ่าชราแล้วหามีความยินดีไม่
ความสุขจะมีแต่ที่ไหน เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า
จะประพฤติธรรม
[๓๗๔] ยักษ์ ปีศาจ หรือแม้เปรตทั้งหลายเหล่านั้นโกรธขึ้นมาแล้ว
ย่อมเข้าสิงมนุษย์ทั้งหลายได้ แต่ไม่อาจจะเข้าสิงพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๗๕] ยักษ์ ปีศาจ หรือแม้เปรตทั้งหลายเหล่านั้นโกรธขึ้นมาแล้ว
มนุษย์ทั้งหลายย่อมกระทาให้อดโทษได้ด้วยพลีกรรม
แต่จะทาพญามัจจุราชให้อดโทษด้วยพลีกรรมหาได้ไม่ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๗๖] พระราชาทั้งหลายทรงทราบความผิดอย่างชัดแจ้งแล้ว
จึงทรงลงอาชญาคนผู้มีความผิด ผู้ประทุษร้าย และผู้เบียดเบียนประชาชน
แต่ไม่ทรงสามารถจะลงอาชญาพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๗๗] ชนทั้งหลายผู้กระทาความผิด ผู้ประทุษร้าย
และผู้เบียดเบียนเหล่านั้น
ย่อมได้เพื่อจะทูลเกล้าถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษ
แต่จะทาพญามัจจุราชให้อภัยโทษหาได้ไม่ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๗๘] ความเพ่งเล็งด้วยความหวังดีว่า ผู้นี้เป็นกษัตริย์ เป็นพราหมณ์
ผู้นี้เป็นคนมั่งคั่ง เป็ นคนมีพลัง หรือเป็ นคนมีเดช ไม่ได้มีแก่พญามัจจุราชเลย
เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๗๙] สิงโต เสือโคร่ง และแม้เสือเหลืองทั้งหลาย
ย่อมข่มขี่กัดกินสัตว์ที่ดิ้นรนไปมาได้ แต่ไม่อาจจะกัดกินพญามัจจุราชได้เลย
เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
3
[๓๘๐] นักมายากลทั้งหลายเมื่อแสดงมายากลท่ามกลางสนาม
ย่อมลวงตาประชาชนให้หลงใหลได้เพียงนั้น
แต่ไม่อาจจะลวงตาพญามัจจุราชให้หลงใหลได้เลย เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๘๑] อสรพิษทั้งหลายตัวที่มีพิษร้ายกาจ
โกรธขึ้นมาแล้วย่อมขบกัดมนุษย์ทั้งหลายให้ตายได้
แต่ไม่อาจจะขบกัดพญามัจจุราชได้เลย เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๘๒] อสรพิษทั้งหลายโกรธขึ้นมาแล้วย่อมขบกัดผู้ใด
หมอผู้เยียวยายังถอนพิษในร่างกายของผู้นั้นได้
แต่ถอนพิษอันร้ายกาจของพญามัจจุราชหาได้ไม่ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๘๓] นายแพทย์ธรรมมนตรี ๑ นายแพทย์เวตดรุณ ๑
นายแพทย์โภชะ ๑ กาจัดพิษพญานาคทั้งหลายได้ แต่นายแพทย์เหล่านั้น
ได้ยินว่า ได้ตายไปแล้วเช่นกันแล เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า
จะประพฤติธรรม
[๓๘๔] วิทยาธรทั้งหลาย เมื่อร่ายเวทย์ชื่อโฆรมนต์
ย่อมหายตัวไปได้ด้วยโอสถทั้งหลาย
แต่จะร่ายเวทย์ไม่ให้พญามัจจุราชเห็นหาได้ไม่ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
[๓๘๕] ธรรมแลย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม
ธรรมที่บุคคลประพฤติดีแล้ว ย่อมนาความสุขมาให้
นี้เป็นอานิสงส์ในธรรมที่บุคคลประพฤติดีแล้ว
ผู้มีปกติประพฤติธรรมย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
[๓๘๖] สภาวะทั้ง ๒ คือ ธรรมและอธรรม หามีผลวิบากเสมอกันได้ไม่
เพราะอธรรมนาสัตว์ไปนรก ส่วนธรรมยังสัตว์ให้ถึงสุคติโลกสวรรค์ ดังนี้
อโยฆรชาดกที่ ๑๔ จบ
----------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
อโยฆรชาดก
ว่าด้วย อานาจของมัจจุราช
พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภการออกมหาภิเนษกรมณ์นั่นเอง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้.
แท้จริงแม้ในครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสว่า
ใช่แต่ในชาตินี้เท่านั้นก็หามิได้ แม้ในชาติก่อน
4
ตถาคตก็เคยออกมหาภิเนษกรมณ์เหมือนกัน แล้วทรงนาอดีตนิทานมาตรัสดังนี้
เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติ ณ พระนครพาราณสี
พระอัครมเหสีของท้าวเธอทรงพระครรภ์ ได้รับการบริหารพระครรภ์เป็นอย่างดี
จนพระครรภ์แก่แล้วประสูติพระราชโอรส ในระหว่างเวลาปัจจุสมัยใกล้รุ่ง
ในภพก่อนมีสตรีผู้หนึ่งร่วมสามีเดียวกันกับพระนางเทวีนั้น
ตั้งความปรารถนาไว้ว่า ขอให้เราได้กินลูกของท่านที่คลอดแล้วๆ. ได้ยินว่า
สตรีผู้นั้นตนเองเป็นหญิงหมัน ทาความปรารถนาเช่นนั้น
เพราะความโกรธสตรีที่มีบุตร แล้วได้มาบังเกิดในกาเนิดนางยักษิณี
สตรีที่มีบุตรนั้นได้มาเป็นพระอัครมเหสีของพระเจ้าพรหมทัต
จนคลอดพระโอรสองค์นี้
คราวนั้น นางยักษิณีได้โอกาสจึงแปลงกายมา
เมื่อพระเทวีทอดพระเนตรดูอยู่นั่นแล ตรงเข้าจับทารกนั้นแล้วหนีไป.
พระนางเทวีทรงร้องขึ้นด้วยเสียงอันดังว่า นางยักษิณีจับโอรสของเราหนีไปแล้ว.
ฝ่ายนางยักษิณีก็กัดกินทารกทาเสียงมุรุ มุรุ เหมือนกินเหง้าบัว
แสดงท่ายกมือชี้หน้าคุกคามพระเทวี แล้วก็หลีกหนีไป
พระราชาทรงสดับพระเสาวนีย์ของพระเทวีแล้วทรงดาริว่า
ไฉนนางยักษิณีจึงบังอาจกระทาได้แต่ทรงนิ่งเฉยเสีย.
ในกาลที่พระเทวีทรงประสูติพระโอรสอีก ท้าวเธอได้ทรงจัดการอารักขามั่นคง.
พระเทวีก็ประสูติพระโอรสอีกเป็นคารบสอง.
นางยักษิณีก็มาเคี้ยวกินพระกุมารนั้นแล้วหนีไปอีก.
ในวาระที่สาม
พระมหาสัตว์เจ้าทรงถือปฏิสนธิในพระครรภ์ของพระเทวี
พระราชาทรงมีพระโองการให้มหาชนมาประชุมกัน ตรัสถามว่า
ยักษิณีตนหนึ่งมากินโอรสที่ประสูติจากพระเทวีของเราทุกคราว
ควรจะจัดการสถานใด?
ครั้งนั้นบุรุษคนหนึ่งกราบทูลว่า ขอเดชะ
ธรรมดานางยักษิณีย่อมกลัวใบตาล
ควรที่จะผูกใบตาลไว้ที่พระหัตถ์และพระบาททั้งสองของพระเทวี อีกคนหนึ่งทูลว่า
ขอเดชะ ธรรมดานางยักษิณีย่อมกลัวเรือนเหล็ก ควรทาเรือนเหล็กไว้ พ่ะย่ะค่ะ.
พระราชาตรัสสั่งว่า ดีละ
แล้วตรัสสั่งให้ช่างเหล็กทั้งหลายในแว่นแคว้นของพระองค์มาประชุมกัน
ทรงบัญชาว่า ท่านทั้งหลายจงช่วยกันทาเรือนเหล็กให้เรา
แล้วโปรดให้ราชบุรุษผู้ดูแลคอยกากับการ.
ช่างเหล็กทั้งหลายจึงก่อสร้างพระตาหนักขึ้น ณ
ภูมิภาคอันรื่นรมย์ภายในพระนครนั่นเอง. สัมภาระแห่งพระตาหนักทุกอย่าง
5
ตั้งแต่เสาเป็นต้น ล้วนแล้วไปด้วยเหล็กทั้งนั้น
ตาหนักรูปทรงจตุรมุขหลังใหญ่ล้วนแล้วไปด้วยเหล็ก สาเร็จลงโดยเวลาเก้าเดือน.
พระตาหนักนั้นงามรุ่งเรืองเท่าเทียมกับแสงประทีปอันโพลงอยู่เป็นนิตย์.
พระราชาทรงทราบว่า พระราชเทวีทรงพระครรภ์แก่แล้ว
จึงตรัสสั่งให้ประดับตกแต่งพระตาหนักเหล็ก
พาพระนางเทวีไปประทับยังตาหนักนั้น
พระนางเทวีก็ประสูติพระราชโอรสสมบูรณ์ด้วยธัญบุญลักษณะ ณ
พระตาหนักเหล็กนั้น.
พระราชากับพระอัครมเหสีทรงพระราชทานนามพระราชโอรสว่า "อโยฆรกุมาร"
พระราชาทรงมอบพระกุมารแก่พระพี่เลี้ยงนางนมแล้ว
ทรงจัดแจงอารักขาใหญ่ยิ่ง พาพระราชเทวีกระทาประทักษิณเสด็จเลียบพระนคร
แล้วเสด็จสู่พื้นอลังกตปราสาท.
ฝ่ายนางยักษิณี ถึงเวรตักน้า นาน้าไปถวายท้าวเวสวัณ
ถึงความสิ้นชีวิตแล้ว.
พระมหาสัตว์เจ้าทรงเจริญเติบโตในพระตาหนักเหล็กนั่นเอง
จนรู้เดียงสา ทรงศึกษาศิลปวิทยาทุกอย่างในที่นั้นแหละ.
พระราชาตรัสถามหมู่อามาตย์ว่า โอรสของเรามีพระชันษาได้เท่าไร
ทรงสดับว่า พระโอรสมีพระชันษา ๑๖ แกล้วกล้า สมบูรณ์ด้วยพลานามัย
สามารถต่อสู้กับยักษ์ได้แม้ตั้งพัน จึงมีพระราชโองการว่า
เราจักมอบราชสมบัติแก่โอรสของเรา
ท่านทั้งหลายจงให้จัดการตกแต่งทั่วทั้งพระนคร
แล้วเชิญพระโอรสออกจากตาหนักเหล็กนามายังพระราชฐาน
อามาตย์ทั้งหลายรับพระราชโองการว่า ดีละ พระเจ้าข้า
แล้วให้พนักงานตบแต่งพระนครพาราณสี
อันมีปริมณฑลได้ ๑๒ โยชน์เสร็จแล้วนามงคลหัตถี
อันเพริศแพร้วไปด้วยสรรพาลังการ ไปยังพระตาหนักเหล็กนั้น
ประดับตกแต่งพระราชกุมารแล้ว ทูลเชิญให้ประทับเหนือมงคลหัตถี
แล้วทูลว่า ขอเดชะพระกุมารผู้ประเสริฐ
ขอเชิญพระองค์ทรงทาประทักษิณเลียบพระนครอันอลงกต
ซึ่งเป็ นมรดกแห่งราชตระกูล
แล้วเสด็จไปถวายบังคมพระเจ้ากาสิกราชผู้พระราชบิดา
พระองค์จักได้เศวตฉัตรในวันนี้แหละ พะย่ะค่ะ
เมื่อพระมหาสัตว์ทาการประทักษิณพระนครอยู่
ทอดพระเนตรเห็นพระราชอุทยาน แนวป่า สระโบกขรณี
พื้นภูมิภาคและปราสาทราชวังอันน่ารื่นรมย์ยินดีเป็นต้นแล้ว ทรงจินตนาการว่า
6
พระราชบิดาของเราให้เราอยู่ในเรือนจาตลอดกาลเพียงนี้
ไม่ให้เราได้เห็นพระนครอันตกแต่งงดงามเห็นปานนี้เลย
โทษผิดของเรามีอย่างไรหนอ ดังนี้แล้วจึงตรัสถามพวกอามาตย์
อามาตย์ทั้งหลายกราบทูลว่า ขอเดชะ
พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ โทษผิดของพระองค์ไม่มีเลย พะย่ะค่ะ
แต่นางยักษิณีตนหนึ่งมาเคี้ยวกินพระเชษฐาธิราชของพระองค์ถึงสองพระองค์
เพราะเหตุนั้น พระราชบิดาของพระองค์จึงโปรดให้พระองค์อยู่ในตาหนักเหล็ก
พระองค์รอดพระชนมชีพมาได้ เพราะพระตาหนักเหล็กแท้ๆ พะย่ะค่ะ
อโยฆรราชกุมารทรงสดับคาของอามาตย์กราบทูล แล้วทรงพระดาริว่า
เราอยู่ในครรภ์ของพระมารดา ๑๐ เดือนเหมือนอยู่ในโลหกุมภีนรก และคูถนรก
นับแต่คลอดออกจากพระครรภ์พระมารดาแล้วต้องอยู่ในที่คุมขังถึง ๑๖ ปี
ไม่ได้โอกาสที่จะได้ดูโลกภายนอกเลย เป็นเหมือนตกอยู่ในอุสสุทนรกฉะนั้น
แม้เราจะพ้นจากเงื้อมมือของนางยักษิณีมาได้ ใช่ว่าจะไม่แก่ไม่ตายก็หามิได้
ประโยชน์อะไรด้วยราชสมบัติแก่เรา นับแต่วาระที่ได้ดารงอยู่ในราชสมบัติแล้ว
จะออกบรรพชาได้ยาก เราจักให้พระราชบิดาทรงอนุญาตการบรรพชาแก่เรา
แล้วเข้าไปสู่ป่าหิมพานต์ บวชเสียวันนี้ทีเดียว
ครั้นพระราชกุมารทรงกระทาประทักษิณพระนครแล้ว
เสด็จเข้าไปสู่ราชตระกูล ถวายบังคมพระราชบิดาแล้วประทับยืนอยู่
พระเจ้าพรหมทัตทอดพระเนตรสรีรโสภาแห่งพระโอรสแล้ว
ทรงเสน่หารักใคร่เป็ นกาลังจึงทรงชาเลืองดูหมู่อามาตย์
อามาตย์ทั้งหลายทูลว่า ขอเดชะ จะโปรดให้พวกข้าพระพุทธเจ้า
จัดแจงอย่างไรต่อไป.
ท้าวเธอจึงตรัสสั่งว่า
ท่านทั้งหลายจงเชิญโอรสของเราให้ประทับเหนือกองรัตนะ
แล้วสระสรงด้วยน้าสังข์สามอย่าง แล้วสอดสวมกาญจนมาลา และยกเศวตฉัตรขึ้น
พระมหาสัตว์เจ้าจึงถวายบังคมพระราชบิดาทูลคัดค้านว่า
ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความต้องการด้วยราชสมบัติ ข้าพระพุทธเจ้าจักบวช
ขอพระองค์ได้โปรดทรงอนุญาตให้ข้าพระพุทธเจ้าบวชเถิด.
พระเจ้าพรหมทัตจึงตรัสว่า ลูกรัก เจ้าบอกคืนราชสมบัติแล้วจักบวช
เพราะเหตุอะไร?
พระมหาสัตว์เจ้าทูลตอบว่า
ขอเดชะพระราชบิดาผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ
ข้าพระพุทธเจ้าอยู่ในพระครรภ์พระมารดา ๑๐ เดือน เหมือนอยู่ในคูถนรก
ประสูติจากพระครรภ์แล้ว ต้องอยู่ในที่คุมขังถึง ๑๖ ปี
ไม่ได้โอกาสที่จะเห็นโลกภายนอกได้ เพราะภัยอันเกิดแต่นางยักษิณี
7
ได้เป็นเหมือนตกอยู่ในอุสสุทนรก ถึงพ้นจากเงื้อมมือนางยักษิณีแล้ว
ใช่ว่าข้าพระพุทธเจ้าจะเป็ นคนไม่แก่ไม่ตายก็หามิได้ ขึ้นชื่อว่า มฤตยุราชนี้ ใครๆ
ไม่อาจชนะ ไม่อาจจะลวงได้ ข้าพระพุทธเจ้าเป็นผู้เอือมระอาในภพ
ข้าพระพุทธเจ้าจักบวชประพฤติธรรมไปจนกว่าชรา พยาธิและมรณะจะไม่มาถึง
ข้าพระพุทธเจ้า ข้าพระพุทธเจ้าไม่ปรารถนาราชสมบัติ
ขอเดชะพระราชบิดาผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ
โปรดทรงอนุญาตให้ข้าพระองค์บวชเถิด ดังนี้แล้ว
เมื่อจะทรงแสดงธรรมถวายพระราชบิดา จึงตรัส (พระคาถา) ความว่า
สัตว์ถือปฏิสนธิกลางคืนก็ตาม กลางวันก็ตาม
ย่อมอยู่ในครรภ์มารดาก่อน สัตว์นั้นย่อมเกิดเพราะกาลังลม
ย่อมไปสู่ความเป็นกลละเป็ นต้น ย่อมไม่ย้อนกลับมาสู่ความเป็ นกลละเป็นต้นอีก.
นรชนทั้งหลายจะยกพลโยธายุทธนาการกับชรา พยาธิ
มรณะไม่ได้เลยเป็ นอันขาด เพราะว่าชีวิตของสัตว์ทั้งมวลนี้
ถูกความเกิดและความแก่เข้าไปประทุษร้ายเบียดเบียน เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
พระราชาผู้เป็นอธิบดีในรัฐทั้งหลาย
ย่อมจะข่มขี่ราชศัตรูผู้มีเสนาอันประกอบด้วยองค์ ๔ ล้วนรูปร่างน่าสะพรึงกลัว
เอาชัยชนะได้ แต่ไม่สามารถจะชนะเสนาแห่งมัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
พระราชาบางพวกแวดล้อมด้วยพลม้า พลรถและพลเดินเท้า
ย่อมพ้นจากเงื้อมมือของข้าศึก แต่ก็ไม่อาจจะพ้นจากสานักของมัจจุราชได้
เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
พระราชาทั้งหลายผู้กล้าหาญย่อมหักค่ายทาลายพระนครแห่งราชศัตรูใ
ห้ย่อยยับได้ และกาจัดมหาชนได้ด้วยพลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า
แต่ไม่สามารถจะหักรานเสนาแห่งมัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
คชสารทั้งหลายที่ตกมัน มีมันเหลวแตกออกจากกระพอง
ย่อมย่ายีนครทั้งหลาย และเข่นฆ่าประชาชนได้
แต่ไม่สามารถจะย่ายีเสนาแห่งมัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า
จะบวชประพฤติธรรม.
นายขมังธนูทั้งหลาย แม้มีมืออันได้ฝึกฝนมาดีแล้ว เป็นผู้มีปัญญา
สามารถยิงธนูให้ถูกได้ในที่ไกล ยิงได้แม่นยาไม่ผิดพลาด
ก็ไม่สามารถจะยิงต่อต้านมัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า
จะบวชประพฤติธรรม.
สระทั้งหลายและมหาปฐพีกับทั้งภูเขาราวไพร ย่อมเสื่อมสิ้นไป
8
สังขารทั้งปวงนั้นจะตั้งอยู่นานสักเท่าไรก็ย่อมเสื่อมสิ้นไป เพราะสังขารทั้งปวงนั้น
ครั้นถึงกาลกาหนดแล้วย่อมจะแตกทาลายไป เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
แท้จริง ชีวิตของสัตว์ทั้งมวลทั้งที่เป็ นสตรี และบุรุษในโลกนี้
เป็นของหวั่นไหว เหมือนแผ่นผ้าของนักเลงสุรา และต้นไม้เกิดใกล้ฝั่ง
เป็นของหวั่นไหวไม่ยั่งยืนฉะนั้น เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า
จะบวชประพฤติธรรม.
ผลไม้ที่สุกแล้วย่อมหล่นล่วงฉันใด สัตว์ทั้งหลายทั้งหนุ่มแก่
ทั้งปานกลาง ทั้งหญิง ทั้งชาย ย่อมเป็นผู้มีสรีระทาลายหล่นไปฉันนั้น
เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
พระจันทร์ อันเป็นราชาแห่งดวงดาวเป็นฉันใด วัยนี้หาเป็นฉันนั้นไม่
เพราะส่วนใดล่วงไปแล้ว ส่วนนั้นเป็นอันล่วงไปแล้วในบัดนี้ อนึ่ง
ความยินดีในกามคุณของคนแก่ชราแล้วย่อมไม่มี ความสุขจะมีมาแต่ไหน
เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
ยักษ์ก็ดี ปีศาจก็ดี หรือเปรตก็ดี โกรธเคืองแล้ว ย่อมเข้าสิงมนุษย์ได้
แต่ไม่สามารถจะเข้าสิงมัจจุราชได้เลย เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า
จะบวชประพฤติธรรม.
มนุษย์ทั้งหลายย่อมกระทาการบวงสรวงยักษ์ ปีศาจ
หรือเปรตทั้งหลายผู้โกรธเคืองแล้วได้ แต่ไม่สามารถจะบวงสรวงมัจจุราชได้เลย
เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
พระราชาทั้งหลายทรงทราบโทษผิดแล้ว
ย่อมลงอาชญากะบุคคลผู้กระทาความผิด ผู้ประทุษร้ายต่อราชสมบัติ
และผู้เบียดเบียนประชาชนตามสมควร แต่ไม่สามารถลงอาชญามัจจุราชได้
เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
ชนทั้งหลายผู้กระทาความผิดฐานประทุษร้ายต่อพระราชาก็ดี
ผู้ประทุษร้ายต่อราชสมบัติก็ดี ผู้เบียดเบียนประชาชนก็ดี
ย่อมจะขอพระราชทานอภัยโทษได้ แต่หาทามัจจุราชให้ผ่อนปรน
กรุณาปรานีได้ไม่ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
มัจจุราชมิได้มีความเกรงใจเลยว่า ผู้นี้เป็นกษัตริย์ ผู้นี้เป็นพราหมณ์
ผู้นี้มั่งคั่ง ผู้นี้มีกาลัง ผู้นี้มีเดชานุภาพ ย่อมย่ายีทั่วทั้งหมด เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
ราชสีห์ก็ดี เสือโคร่งก็ดี เสือเหลืองก็ดี
ย่อมข่มขี่เคี้ยวกินสัตว์ที่ดิ้นรนอยู่ได้ แต่ไม่สามารถจะเคี้ยวกินมัจจุราชได้
เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
นักเล่นกลทั้งหลาย เมื่อกระทากลมายา ณ ท่ามกลางสนาม
9
ย่อมลวงนัยน์ตาประชาชนในที่นั้นๆ ให้หลงเชื่อได้
แต่ไม่สามารถจะลวงมัจจุราชให้หลงเชื่อได้ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
อสรพิษที่มีพิษร้ายโกรธขึ้นมาแล้ว ย่อมขบกัดมนุษย์ให้ถึงตายได้
แต่ไม่สามารถจะขบกัดมัจจุราชให้ตายได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า
จะบวชประพฤติธรรม.
อสรพิษทั้งหลายโกรธขึ้นแล้ว ขบกัดผู้ใด
หมอทั้งหลายย่อมถอนพิษร้ายนั้นได้
แต่จะถอนพิษของผู้ถูกมัจจุราชประทุษร้ายหาได้ไม่ เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
แพทย์ผู้มีชื่อเสียงเหล่านี้คือ แพทย์ธรรมมนตรี แพทย์เวตตรุณะ
แพทย์โภชะ อาจจะกาจัดพิษพระยานาคได้
แต่แพทย์เหล่านั้นต้องทากาลกิริยานอนตาย เพราะเหตุนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
วิชาธรทั้งหลาย เมื่อร่ายอาคมชื่อ โฆรมนต์
ย่อมหายตัวไปได้ด้วยโอสถทั้งหลาย แต่หายตัวไม่ให้มัจจุราชเห็นไม่ได้เลย
เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม.
ธรรมแลย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม ธรรมที่บุคคลประพฤติดีแล้ว
ย่อมนาความสุขมาให้ นี้เป็ นอานิสงส์ในธรรมที่ประพฤติดีแล้ว
ผู้มีปกติประพฤติธรรม ย่อมไม่ไปสู่ทุคติ.
สภาพทั้งสองคือ ธรรมและอธรรม มีวิบากไม่เสมอกัน
อธรรมย่อมนาไปสู่นรก ธรรมย่อมยังสัตว์ให้ถึงสุคติ.
ครั้นพระมหาสัตว์เจ้าแสดงธรรมถวายพระราชบิดา ด้วยคาถา ๒๔
คาถาอย่างนี้แล้ว กราบทูลว่า ขอเดชะพระชนกมหาราชเจ้า
ราชสมบัติของพระราชบิดา จงเป็ นของพระราชบิดาผู้เดียวเถิด
ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความต้องการด้วยราชสมบัตินี้ ชรา พยาธิและมรณะ
ย่อมรุกรานข้าพระพุทธเจ้าซึ่งกาลังกราบทูลสนทนากับพระองค์อยู่ทีเดียว
ขอพระองค์จงอยู่เป็นสุขเถิดดังนี้แล้ว
สละกามทั้งหลายถวายบังคมลาพระชนกชนนี เสด็จออกบรรพชา
อุปมาเหมือนช้างซับมัน สลัดตัดเสียซึ่งห่วงเหล็กแล่นไป
หรือดุจสีหโปดกทาลายกรงทองไปได้ฉะนั้น.
ลาดับนั้น พระราชบิดาของพระมหาสัตว์ ทรงดาริว่า
ประโยชน์อะไรด้วยราชสมบัติแม้แก่เรา จึงสละราชสมบัติ
เสด็จออกพร้อมกับพระราชโอรสทีเดียว.
เมื่อพระเจ้าพรหมทัตกาลังเสด็จออกไปนั้น ทั้งพระเทวี
10
ทั้งหมู่อามาตย์ราชบริพาร ตลอดจนชาวพระนครทั้งสิ้น
มีพราหมณ์และคฤหบดีเป็นต้น
ต่างพากันสละเคหสถานออกตามเสด็จพระเจ้าพรหมทัต
ได้เกิดเป็นมหาสมาคมใหญ่ มีบริษัทนับได้ประมาณ ๑๒ โยชน์
พระมหาสัตว์เจ้าพาบริษัทนั้นเข้าไปสู่หิมวันตประเทศ
ท้าวสักกเทวราชทรงทราบว่า พระมหาสัตว์เจ้าเสด็จออกแล้ว
จึงส่งวิสสุกรรมเทพบุตรไปเนรมิตอาศรมบทให้ยาว ๑๒ โยชน์ กว้าง ๗ โยชน์
ทั้งให้จัดแจงบรรพชิตบริขารไว้ครบถ้วน.
ต่อจากนี้ไป การบรรพชาของพระมหาสัตว์เจ้าก็ดี การให้โอวาทก็ดี
ความเป็นผู้มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้าก็ดี ความไม่ไปสู่อบายของบริษัทก็ดี
พึงทราบโดยนัยที่กล่าวแล้วในหนหลังทั้งหมด.
พระบรมศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ในชาติก่อน
ตถาคตก็ออกสู่มหาภิเนษกรมณ์อย่างนี้เหมือนกัน
แล้วทรงประชุมชาดกว่า
พระราชมารดาบิดาในครั้งนั้น ได้มาเป็ น มหาราชสกุล
บริษัทได้มาเป็ น พุทธบริษัท
ส่วนอโยฆรบัณฑิตได้มาเป็ น เราผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ฉะนี้เลย.
จบอรรถกถาอโยฆรชาดกที่ ๑๔
จบอรรถกถาวีสตินิบาต เพียงเท่านี้
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
349 สันธิเภทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
349 สันธิเภทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...349 สันธิเภทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
349 สันธิเภทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
260 ทูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
260 ทูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx260 ทูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
260 ทูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
176 กฬายมุฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
176 กฬายมุฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...176 กฬายมุฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
176 กฬายมุฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx
215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx
215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx
maruay songtanin
 
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
018 มตกภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
018 มตกภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....018 มตกภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
018 มตกภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
278 มหิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
278 มหิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx278 มหิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
278 มหิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Similar to 510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
349 สันธิเภทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
349 สันธิเภทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...349 สันธิเภทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
349 สันธิเภทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
260 ทูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
260 ทูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx260 ทูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
260 ทูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
176 กฬายมุฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
176 กฬายมุฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...176 กฬายมุฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
176 กฬายมุฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx
215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx
215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx
 
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
043 เวฬุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
018 มตกภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
018 มตกภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....018 มตกภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
018 มตกภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
278 มหิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
278 มหิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx278 มหิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
278 มหิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

More from maruay songtanin

๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
maruay songtanin
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
maruay songtanin
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 

510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๑๔. อโยฆรชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๕๑๐) ว่าด้วยมหาสัตว์อโยฆรราช (พระโพธิสัตว์อโยฆรราชเมื่อจะแสดงธรรมโปรดพระราชบิดา จึงตรัสว่า) [๓๖๓] สัตว์ถือปฏิสนธิครั้งแรก อยู่ในครรภ์ตลอดคืนหนึ่ง ดาเนินไปไม่หวนกลับเหมือนเมฆหมอกที่ตั้งขึ้นแล้วลอยผ่านไป [๓๖๔] นรชนทั้งหลายประกอบพร้อมด้วยกาลังพลสู้รบอยู่ในสงคราม จะไม่แก่ไม่ตายก็หาไม่ เพราะว่ามณฑลแห่งปาณสัตว์นั้นล้วนถูกชาติและชราเบียดเบียน เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๖๕] พระราชาผู้เป็นใหญ่แห่งแคว้น ทรงข่มขี่ราชศัตรู ผู้มีเสนาประกอบด้วยองค์ ๔ มีรูปร่างน่าสะพรึงกลัว เอาชนะไปได้ แต่ไม่ทรงสามารถชนะเสนาแห่งพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๖๖] พระราชาบางพวกแวดล้อมด้วยกองทัพช้าง กองทัพม้า กองทัพรถ กองทัพพลเดินเท้า ย่อมพ้นจากเงื้อมมือของปัจจามิตรได้ แต่ไม่อาจจะทรงพ้นจากพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๖๗] พระราชาทั้งหลายผู้ทรงกล้าหาญ ทรงหักค่าย ทาลายนคร กาจัดมหาชนได้ด้วยกองทัพช้าง กองทัพม้า กองทัพรถ กองทัพพลเดินเท้า แต่ไม่อาจจะทรงหักราญพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๖๘] คชสารทั้งหลายตัวตกมัน มีมันแตกไหลเยิ้ม ย่อมย่ายีบ้านเมือง เข่นฆ่าประชาชนได้ แต่ไม่อาจจะย่ายีพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๖๙] นายขมังธนูทั้งหลายผู้มีฝีมือฝึกปรือดีแล้ว เป็ นผู้กล้าหาญ สามารถยิงไปได้ไกล แม่นยาไม่ผิดพลาด แต่ไม่อาจจะยิงพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๗๐] สระทั้งหลายย่อมเสื่อมสิ้นไป พื้นปฐพีพร้อมทั้งภูเขาและราวป่าก็หมดสิ้นไป ถึงทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ตลอดกาลนานเข้าก็เสื่อมสิ้นไป
  • 2. 2 เพราะสังขารทั้งปวงนั้นย่อมแตกสลายไปตามกาลกาหนด เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๗๑] แท้จริง ชีวิตของเหล่าสัตว์ทั้งปวงทั้งหญิงชายในโลกนี้ มีสภาพหวั่นไหว ปั่นป่วน เหมือนแผ่นผ้าของนักเลง เหมือนต้นไม้ที่เกิดใกล้ฝั่ง เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๗๒] ทั้งคนหนุ่ม ทั้งคนแก่ ทั้งหญิง ทั้งชาย ทั้งบัณเฑาะก์ (กะเทย) ย่อมมีกายแตกทาลายไปเหมือนผลไม้หล่นจากต้น เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๗๓] ดวงจันทร์ซึ่งเป็ นราชาแห่งดวงดาวเป็ นฉันใด วัยนี้หาเป็นฉันนั้นไม่ เพราะส่วนใดล่วงไปแล้ว ส่วนนั้นเป็ นอันล่วงไปแล้วในบัดนี้ อนึ่ง คนแก่เฒ่าชราแล้วหามีความยินดีไม่ ความสุขจะมีแต่ที่ไหน เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๗๔] ยักษ์ ปีศาจ หรือแม้เปรตทั้งหลายเหล่านั้นโกรธขึ้นมาแล้ว ย่อมเข้าสิงมนุษย์ทั้งหลายได้ แต่ไม่อาจจะเข้าสิงพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๗๕] ยักษ์ ปีศาจ หรือแม้เปรตทั้งหลายเหล่านั้นโกรธขึ้นมาแล้ว มนุษย์ทั้งหลายย่อมกระทาให้อดโทษได้ด้วยพลีกรรม แต่จะทาพญามัจจุราชให้อดโทษด้วยพลีกรรมหาได้ไม่ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๗๖] พระราชาทั้งหลายทรงทราบความผิดอย่างชัดแจ้งแล้ว จึงทรงลงอาชญาคนผู้มีความผิด ผู้ประทุษร้าย และผู้เบียดเบียนประชาชน แต่ไม่ทรงสามารถจะลงอาชญาพญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๗๗] ชนทั้งหลายผู้กระทาความผิด ผู้ประทุษร้าย และผู้เบียดเบียนเหล่านั้น ย่อมได้เพื่อจะทูลเกล้าถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษ แต่จะทาพญามัจจุราชให้อภัยโทษหาได้ไม่ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๗๘] ความเพ่งเล็งด้วยความหวังดีว่า ผู้นี้เป็นกษัตริย์ เป็นพราหมณ์ ผู้นี้เป็นคนมั่งคั่ง เป็ นคนมีพลัง หรือเป็ นคนมีเดช ไม่ได้มีแก่พญามัจจุราชเลย เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๗๙] สิงโต เสือโคร่ง และแม้เสือเหลืองทั้งหลาย ย่อมข่มขี่กัดกินสัตว์ที่ดิ้นรนไปมาได้ แต่ไม่อาจจะกัดกินพญามัจจุราชได้เลย เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม
  • 3. 3 [๓๘๐] นักมายากลทั้งหลายเมื่อแสดงมายากลท่ามกลางสนาม ย่อมลวงตาประชาชนให้หลงใหลได้เพียงนั้น แต่ไม่อาจจะลวงตาพญามัจจุราชให้หลงใหลได้เลย เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๘๑] อสรพิษทั้งหลายตัวที่มีพิษร้ายกาจ โกรธขึ้นมาแล้วย่อมขบกัดมนุษย์ทั้งหลายให้ตายได้ แต่ไม่อาจจะขบกัดพญามัจจุราชได้เลย เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๘๒] อสรพิษทั้งหลายโกรธขึ้นมาแล้วย่อมขบกัดผู้ใด หมอผู้เยียวยายังถอนพิษในร่างกายของผู้นั้นได้ แต่ถอนพิษอันร้ายกาจของพญามัจจุราชหาได้ไม่ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๘๓] นายแพทย์ธรรมมนตรี ๑ นายแพทย์เวตดรุณ ๑ นายแพทย์โภชะ ๑ กาจัดพิษพญานาคทั้งหลายได้ แต่นายแพทย์เหล่านั้น ได้ยินว่า ได้ตายไปแล้วเช่นกันแล เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๘๔] วิทยาธรทั้งหลาย เมื่อร่ายเวทย์ชื่อโฆรมนต์ ย่อมหายตัวไปได้ด้วยโอสถทั้งหลาย แต่จะร่ายเวทย์ไม่ให้พญามัจจุราชเห็นหาได้ไม่ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงมีความคิดว่า จะประพฤติธรรม [๓๘๕] ธรรมแลย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม ธรรมที่บุคคลประพฤติดีแล้ว ย่อมนาความสุขมาให้ นี้เป็นอานิสงส์ในธรรมที่บุคคลประพฤติดีแล้ว ผู้มีปกติประพฤติธรรมย่อมไม่ไปสู่ทุคติ [๓๘๖] สภาวะทั้ง ๒ คือ ธรรมและอธรรม หามีผลวิบากเสมอกันได้ไม่ เพราะอธรรมนาสัตว์ไปนรก ส่วนธรรมยังสัตว์ให้ถึงสุคติโลกสวรรค์ ดังนี้ อโยฆรชาดกที่ ๑๔ จบ ---------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา อโยฆรชาดก ว่าด้วย อานาจของมัจจุราช พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภการออกมหาภิเนษกรมณ์นั่นเอง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้. แท้จริงแม้ในครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสว่า ใช่แต่ในชาตินี้เท่านั้นก็หามิได้ แม้ในชาติก่อน
  • 4. 4 ตถาคตก็เคยออกมหาภิเนษกรมณ์เหมือนกัน แล้วทรงนาอดีตนิทานมาตรัสดังนี้ เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติ ณ พระนครพาราณสี พระอัครมเหสีของท้าวเธอทรงพระครรภ์ ได้รับการบริหารพระครรภ์เป็นอย่างดี จนพระครรภ์แก่แล้วประสูติพระราชโอรส ในระหว่างเวลาปัจจุสมัยใกล้รุ่ง ในภพก่อนมีสตรีผู้หนึ่งร่วมสามีเดียวกันกับพระนางเทวีนั้น ตั้งความปรารถนาไว้ว่า ขอให้เราได้กินลูกของท่านที่คลอดแล้วๆ. ได้ยินว่า สตรีผู้นั้นตนเองเป็นหญิงหมัน ทาความปรารถนาเช่นนั้น เพราะความโกรธสตรีที่มีบุตร แล้วได้มาบังเกิดในกาเนิดนางยักษิณี สตรีที่มีบุตรนั้นได้มาเป็นพระอัครมเหสีของพระเจ้าพรหมทัต จนคลอดพระโอรสองค์นี้ คราวนั้น นางยักษิณีได้โอกาสจึงแปลงกายมา เมื่อพระเทวีทอดพระเนตรดูอยู่นั่นแล ตรงเข้าจับทารกนั้นแล้วหนีไป. พระนางเทวีทรงร้องขึ้นด้วยเสียงอันดังว่า นางยักษิณีจับโอรสของเราหนีไปแล้ว. ฝ่ายนางยักษิณีก็กัดกินทารกทาเสียงมุรุ มุรุ เหมือนกินเหง้าบัว แสดงท่ายกมือชี้หน้าคุกคามพระเทวี แล้วก็หลีกหนีไป พระราชาทรงสดับพระเสาวนีย์ของพระเทวีแล้วทรงดาริว่า ไฉนนางยักษิณีจึงบังอาจกระทาได้แต่ทรงนิ่งเฉยเสีย. ในกาลที่พระเทวีทรงประสูติพระโอรสอีก ท้าวเธอได้ทรงจัดการอารักขามั่นคง. พระเทวีก็ประสูติพระโอรสอีกเป็นคารบสอง. นางยักษิณีก็มาเคี้ยวกินพระกุมารนั้นแล้วหนีไปอีก. ในวาระที่สาม พระมหาสัตว์เจ้าทรงถือปฏิสนธิในพระครรภ์ของพระเทวี พระราชาทรงมีพระโองการให้มหาชนมาประชุมกัน ตรัสถามว่า ยักษิณีตนหนึ่งมากินโอรสที่ประสูติจากพระเทวีของเราทุกคราว ควรจะจัดการสถานใด? ครั้งนั้นบุรุษคนหนึ่งกราบทูลว่า ขอเดชะ ธรรมดานางยักษิณีย่อมกลัวใบตาล ควรที่จะผูกใบตาลไว้ที่พระหัตถ์และพระบาททั้งสองของพระเทวี อีกคนหนึ่งทูลว่า ขอเดชะ ธรรมดานางยักษิณีย่อมกลัวเรือนเหล็ก ควรทาเรือนเหล็กไว้ พ่ะย่ะค่ะ. พระราชาตรัสสั่งว่า ดีละ แล้วตรัสสั่งให้ช่างเหล็กทั้งหลายในแว่นแคว้นของพระองค์มาประชุมกัน ทรงบัญชาว่า ท่านทั้งหลายจงช่วยกันทาเรือนเหล็กให้เรา แล้วโปรดให้ราชบุรุษผู้ดูแลคอยกากับการ. ช่างเหล็กทั้งหลายจึงก่อสร้างพระตาหนักขึ้น ณ ภูมิภาคอันรื่นรมย์ภายในพระนครนั่นเอง. สัมภาระแห่งพระตาหนักทุกอย่าง
  • 5. 5 ตั้งแต่เสาเป็นต้น ล้วนแล้วไปด้วยเหล็กทั้งนั้น ตาหนักรูปทรงจตุรมุขหลังใหญ่ล้วนแล้วไปด้วยเหล็ก สาเร็จลงโดยเวลาเก้าเดือน. พระตาหนักนั้นงามรุ่งเรืองเท่าเทียมกับแสงประทีปอันโพลงอยู่เป็นนิตย์. พระราชาทรงทราบว่า พระราชเทวีทรงพระครรภ์แก่แล้ว จึงตรัสสั่งให้ประดับตกแต่งพระตาหนักเหล็ก พาพระนางเทวีไปประทับยังตาหนักนั้น พระนางเทวีก็ประสูติพระราชโอรสสมบูรณ์ด้วยธัญบุญลักษณะ ณ พระตาหนักเหล็กนั้น. พระราชากับพระอัครมเหสีทรงพระราชทานนามพระราชโอรสว่า "อโยฆรกุมาร" พระราชาทรงมอบพระกุมารแก่พระพี่เลี้ยงนางนมแล้ว ทรงจัดแจงอารักขาใหญ่ยิ่ง พาพระราชเทวีกระทาประทักษิณเสด็จเลียบพระนคร แล้วเสด็จสู่พื้นอลังกตปราสาท. ฝ่ายนางยักษิณี ถึงเวรตักน้า นาน้าไปถวายท้าวเวสวัณ ถึงความสิ้นชีวิตแล้ว. พระมหาสัตว์เจ้าทรงเจริญเติบโตในพระตาหนักเหล็กนั่นเอง จนรู้เดียงสา ทรงศึกษาศิลปวิทยาทุกอย่างในที่นั้นแหละ. พระราชาตรัสถามหมู่อามาตย์ว่า โอรสของเรามีพระชันษาได้เท่าไร ทรงสดับว่า พระโอรสมีพระชันษา ๑๖ แกล้วกล้า สมบูรณ์ด้วยพลานามัย สามารถต่อสู้กับยักษ์ได้แม้ตั้งพัน จึงมีพระราชโองการว่า เราจักมอบราชสมบัติแก่โอรสของเรา ท่านทั้งหลายจงให้จัดการตกแต่งทั่วทั้งพระนคร แล้วเชิญพระโอรสออกจากตาหนักเหล็กนามายังพระราชฐาน อามาตย์ทั้งหลายรับพระราชโองการว่า ดีละ พระเจ้าข้า แล้วให้พนักงานตบแต่งพระนครพาราณสี อันมีปริมณฑลได้ ๑๒ โยชน์เสร็จแล้วนามงคลหัตถี อันเพริศแพร้วไปด้วยสรรพาลังการ ไปยังพระตาหนักเหล็กนั้น ประดับตกแต่งพระราชกุมารแล้ว ทูลเชิญให้ประทับเหนือมงคลหัตถี แล้วทูลว่า ขอเดชะพระกุมารผู้ประเสริฐ ขอเชิญพระองค์ทรงทาประทักษิณเลียบพระนครอันอลงกต ซึ่งเป็ นมรดกแห่งราชตระกูล แล้วเสด็จไปถวายบังคมพระเจ้ากาสิกราชผู้พระราชบิดา พระองค์จักได้เศวตฉัตรในวันนี้แหละ พะย่ะค่ะ เมื่อพระมหาสัตว์ทาการประทักษิณพระนครอยู่ ทอดพระเนตรเห็นพระราชอุทยาน แนวป่า สระโบกขรณี พื้นภูมิภาคและปราสาทราชวังอันน่ารื่นรมย์ยินดีเป็นต้นแล้ว ทรงจินตนาการว่า
  • 6. 6 พระราชบิดาของเราให้เราอยู่ในเรือนจาตลอดกาลเพียงนี้ ไม่ให้เราได้เห็นพระนครอันตกแต่งงดงามเห็นปานนี้เลย โทษผิดของเรามีอย่างไรหนอ ดังนี้แล้วจึงตรัสถามพวกอามาตย์ อามาตย์ทั้งหลายกราบทูลว่า ขอเดชะ พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ โทษผิดของพระองค์ไม่มีเลย พะย่ะค่ะ แต่นางยักษิณีตนหนึ่งมาเคี้ยวกินพระเชษฐาธิราชของพระองค์ถึงสองพระองค์ เพราะเหตุนั้น พระราชบิดาของพระองค์จึงโปรดให้พระองค์อยู่ในตาหนักเหล็ก พระองค์รอดพระชนมชีพมาได้ เพราะพระตาหนักเหล็กแท้ๆ พะย่ะค่ะ อโยฆรราชกุมารทรงสดับคาของอามาตย์กราบทูล แล้วทรงพระดาริว่า เราอยู่ในครรภ์ของพระมารดา ๑๐ เดือนเหมือนอยู่ในโลหกุมภีนรก และคูถนรก นับแต่คลอดออกจากพระครรภ์พระมารดาแล้วต้องอยู่ในที่คุมขังถึง ๑๖ ปี ไม่ได้โอกาสที่จะได้ดูโลกภายนอกเลย เป็นเหมือนตกอยู่ในอุสสุทนรกฉะนั้น แม้เราจะพ้นจากเงื้อมมือของนางยักษิณีมาได้ ใช่ว่าจะไม่แก่ไม่ตายก็หามิได้ ประโยชน์อะไรด้วยราชสมบัติแก่เรา นับแต่วาระที่ได้ดารงอยู่ในราชสมบัติแล้ว จะออกบรรพชาได้ยาก เราจักให้พระราชบิดาทรงอนุญาตการบรรพชาแก่เรา แล้วเข้าไปสู่ป่าหิมพานต์ บวชเสียวันนี้ทีเดียว ครั้นพระราชกุมารทรงกระทาประทักษิณพระนครแล้ว เสด็จเข้าไปสู่ราชตระกูล ถวายบังคมพระราชบิดาแล้วประทับยืนอยู่ พระเจ้าพรหมทัตทอดพระเนตรสรีรโสภาแห่งพระโอรสแล้ว ทรงเสน่หารักใคร่เป็ นกาลังจึงทรงชาเลืองดูหมู่อามาตย์ อามาตย์ทั้งหลายทูลว่า ขอเดชะ จะโปรดให้พวกข้าพระพุทธเจ้า จัดแจงอย่างไรต่อไป. ท้าวเธอจึงตรัสสั่งว่า ท่านทั้งหลายจงเชิญโอรสของเราให้ประทับเหนือกองรัตนะ แล้วสระสรงด้วยน้าสังข์สามอย่าง แล้วสอดสวมกาญจนมาลา และยกเศวตฉัตรขึ้น พระมหาสัตว์เจ้าจึงถวายบังคมพระราชบิดาทูลคัดค้านว่า ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความต้องการด้วยราชสมบัติ ข้าพระพุทธเจ้าจักบวช ขอพระองค์ได้โปรดทรงอนุญาตให้ข้าพระพุทธเจ้าบวชเถิด. พระเจ้าพรหมทัตจึงตรัสว่า ลูกรัก เจ้าบอกคืนราชสมบัติแล้วจักบวช เพราะเหตุอะไร? พระมหาสัตว์เจ้าทูลตอบว่า ขอเดชะพระราชบิดาผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ข้าพระพุทธเจ้าอยู่ในพระครรภ์พระมารดา ๑๐ เดือน เหมือนอยู่ในคูถนรก ประสูติจากพระครรภ์แล้ว ต้องอยู่ในที่คุมขังถึง ๑๖ ปี ไม่ได้โอกาสที่จะเห็นโลกภายนอกได้ เพราะภัยอันเกิดแต่นางยักษิณี
  • 7. 7 ได้เป็นเหมือนตกอยู่ในอุสสุทนรก ถึงพ้นจากเงื้อมมือนางยักษิณีแล้ว ใช่ว่าข้าพระพุทธเจ้าจะเป็ นคนไม่แก่ไม่ตายก็หามิได้ ขึ้นชื่อว่า มฤตยุราชนี้ ใครๆ ไม่อาจชนะ ไม่อาจจะลวงได้ ข้าพระพุทธเจ้าเป็นผู้เอือมระอาในภพ ข้าพระพุทธเจ้าจักบวชประพฤติธรรมไปจนกว่าชรา พยาธิและมรณะจะไม่มาถึง ข้าพระพุทธเจ้า ข้าพระพุทธเจ้าไม่ปรารถนาราชสมบัติ ขอเดชะพระราชบิดาผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ โปรดทรงอนุญาตให้ข้าพระองค์บวชเถิด ดังนี้แล้ว เมื่อจะทรงแสดงธรรมถวายพระราชบิดา จึงตรัส (พระคาถา) ความว่า สัตว์ถือปฏิสนธิกลางคืนก็ตาม กลางวันก็ตาม ย่อมอยู่ในครรภ์มารดาก่อน สัตว์นั้นย่อมเกิดเพราะกาลังลม ย่อมไปสู่ความเป็นกลละเป็ นต้น ย่อมไม่ย้อนกลับมาสู่ความเป็ นกลละเป็นต้นอีก. นรชนทั้งหลายจะยกพลโยธายุทธนาการกับชรา พยาธิ มรณะไม่ได้เลยเป็ นอันขาด เพราะว่าชีวิตของสัตว์ทั้งมวลนี้ ถูกความเกิดและความแก่เข้าไปประทุษร้ายเบียดเบียน เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. พระราชาผู้เป็นอธิบดีในรัฐทั้งหลาย ย่อมจะข่มขี่ราชศัตรูผู้มีเสนาอันประกอบด้วยองค์ ๔ ล้วนรูปร่างน่าสะพรึงกลัว เอาชัยชนะได้ แต่ไม่สามารถจะชนะเสนาแห่งมัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. พระราชาบางพวกแวดล้อมด้วยพลม้า พลรถและพลเดินเท้า ย่อมพ้นจากเงื้อมมือของข้าศึก แต่ก็ไม่อาจจะพ้นจากสานักของมัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. พระราชาทั้งหลายผู้กล้าหาญย่อมหักค่ายทาลายพระนครแห่งราชศัตรูใ ห้ย่อยยับได้ และกาจัดมหาชนได้ด้วยพลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า แต่ไม่สามารถจะหักรานเสนาแห่งมัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. คชสารทั้งหลายที่ตกมัน มีมันเหลวแตกออกจากกระพอง ย่อมย่ายีนครทั้งหลาย และเข่นฆ่าประชาชนได้ แต่ไม่สามารถจะย่ายีเสนาแห่งมัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. นายขมังธนูทั้งหลาย แม้มีมืออันได้ฝึกฝนมาดีแล้ว เป็นผู้มีปัญญา สามารถยิงธนูให้ถูกได้ในที่ไกล ยิงได้แม่นยาไม่ผิดพลาด ก็ไม่สามารถจะยิงต่อต้านมัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. สระทั้งหลายและมหาปฐพีกับทั้งภูเขาราวไพร ย่อมเสื่อมสิ้นไป
  • 8. 8 สังขารทั้งปวงนั้นจะตั้งอยู่นานสักเท่าไรก็ย่อมเสื่อมสิ้นไป เพราะสังขารทั้งปวงนั้น ครั้นถึงกาลกาหนดแล้วย่อมจะแตกทาลายไป เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. แท้จริง ชีวิตของสัตว์ทั้งมวลทั้งที่เป็ นสตรี และบุรุษในโลกนี้ เป็นของหวั่นไหว เหมือนแผ่นผ้าของนักเลงสุรา และต้นไม้เกิดใกล้ฝั่ง เป็นของหวั่นไหวไม่ยั่งยืนฉะนั้น เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. ผลไม้ที่สุกแล้วย่อมหล่นล่วงฉันใด สัตว์ทั้งหลายทั้งหนุ่มแก่ ทั้งปานกลาง ทั้งหญิง ทั้งชาย ย่อมเป็นผู้มีสรีระทาลายหล่นไปฉันนั้น เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. พระจันทร์ อันเป็นราชาแห่งดวงดาวเป็นฉันใด วัยนี้หาเป็นฉันนั้นไม่ เพราะส่วนใดล่วงไปแล้ว ส่วนนั้นเป็นอันล่วงไปแล้วในบัดนี้ อนึ่ง ความยินดีในกามคุณของคนแก่ชราแล้วย่อมไม่มี ความสุขจะมีมาแต่ไหน เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. ยักษ์ก็ดี ปีศาจก็ดี หรือเปรตก็ดี โกรธเคืองแล้ว ย่อมเข้าสิงมนุษย์ได้ แต่ไม่สามารถจะเข้าสิงมัจจุราชได้เลย เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. มนุษย์ทั้งหลายย่อมกระทาการบวงสรวงยักษ์ ปีศาจ หรือเปรตทั้งหลายผู้โกรธเคืองแล้วได้ แต่ไม่สามารถจะบวงสรวงมัจจุราชได้เลย เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. พระราชาทั้งหลายทรงทราบโทษผิดแล้ว ย่อมลงอาชญากะบุคคลผู้กระทาความผิด ผู้ประทุษร้ายต่อราชสมบัติ และผู้เบียดเบียนประชาชนตามสมควร แต่ไม่สามารถลงอาชญามัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. ชนทั้งหลายผู้กระทาความผิดฐานประทุษร้ายต่อพระราชาก็ดี ผู้ประทุษร้ายต่อราชสมบัติก็ดี ผู้เบียดเบียนประชาชนก็ดี ย่อมจะขอพระราชทานอภัยโทษได้ แต่หาทามัจจุราชให้ผ่อนปรน กรุณาปรานีได้ไม่ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. มัจจุราชมิได้มีความเกรงใจเลยว่า ผู้นี้เป็นกษัตริย์ ผู้นี้เป็นพราหมณ์ ผู้นี้มั่งคั่ง ผู้นี้มีกาลัง ผู้นี้มีเดชานุภาพ ย่อมย่ายีทั่วทั้งหมด เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. ราชสีห์ก็ดี เสือโคร่งก็ดี เสือเหลืองก็ดี ย่อมข่มขี่เคี้ยวกินสัตว์ที่ดิ้นรนอยู่ได้ แต่ไม่สามารถจะเคี้ยวกินมัจจุราชได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. นักเล่นกลทั้งหลาย เมื่อกระทากลมายา ณ ท่ามกลางสนาม
  • 9. 9 ย่อมลวงนัยน์ตาประชาชนในที่นั้นๆ ให้หลงเชื่อได้ แต่ไม่สามารถจะลวงมัจจุราชให้หลงเชื่อได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. อสรพิษที่มีพิษร้ายโกรธขึ้นมาแล้ว ย่อมขบกัดมนุษย์ให้ถึงตายได้ แต่ไม่สามารถจะขบกัดมัจจุราชให้ตายได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. อสรพิษทั้งหลายโกรธขึ้นแล้ว ขบกัดผู้ใด หมอทั้งหลายย่อมถอนพิษร้ายนั้นได้ แต่จะถอนพิษของผู้ถูกมัจจุราชประทุษร้ายหาได้ไม่ เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. แพทย์ผู้มีชื่อเสียงเหล่านี้คือ แพทย์ธรรมมนตรี แพทย์เวตตรุณะ แพทย์โภชะ อาจจะกาจัดพิษพระยานาคได้ แต่แพทย์เหล่านั้นต้องทากาลกิริยานอนตาย เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. วิชาธรทั้งหลาย เมื่อร่ายอาคมชื่อ โฆรมนต์ ย่อมหายตัวไปได้ด้วยโอสถทั้งหลาย แต่หายตัวไม่ให้มัจจุราชเห็นไม่ได้เลย เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงคิดว่า จะบวชประพฤติธรรม. ธรรมแลย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม ธรรมที่บุคคลประพฤติดีแล้ว ย่อมนาความสุขมาให้ นี้เป็ นอานิสงส์ในธรรมที่ประพฤติดีแล้ว ผู้มีปกติประพฤติธรรม ย่อมไม่ไปสู่ทุคติ. สภาพทั้งสองคือ ธรรมและอธรรม มีวิบากไม่เสมอกัน อธรรมย่อมนาไปสู่นรก ธรรมย่อมยังสัตว์ให้ถึงสุคติ. ครั้นพระมหาสัตว์เจ้าแสดงธรรมถวายพระราชบิดา ด้วยคาถา ๒๔ คาถาอย่างนี้แล้ว กราบทูลว่า ขอเดชะพระชนกมหาราชเจ้า ราชสมบัติของพระราชบิดา จงเป็ นของพระราชบิดาผู้เดียวเถิด ข้าพระพุทธเจ้าไม่มีความต้องการด้วยราชสมบัตินี้ ชรา พยาธิและมรณะ ย่อมรุกรานข้าพระพุทธเจ้าซึ่งกาลังกราบทูลสนทนากับพระองค์อยู่ทีเดียว ขอพระองค์จงอยู่เป็นสุขเถิดดังนี้แล้ว สละกามทั้งหลายถวายบังคมลาพระชนกชนนี เสด็จออกบรรพชา อุปมาเหมือนช้างซับมัน สลัดตัดเสียซึ่งห่วงเหล็กแล่นไป หรือดุจสีหโปดกทาลายกรงทองไปได้ฉะนั้น. ลาดับนั้น พระราชบิดาของพระมหาสัตว์ ทรงดาริว่า ประโยชน์อะไรด้วยราชสมบัติแม้แก่เรา จึงสละราชสมบัติ เสด็จออกพร้อมกับพระราชโอรสทีเดียว. เมื่อพระเจ้าพรหมทัตกาลังเสด็จออกไปนั้น ทั้งพระเทวี
  • 10. 10 ทั้งหมู่อามาตย์ราชบริพาร ตลอดจนชาวพระนครทั้งสิ้น มีพราหมณ์และคฤหบดีเป็นต้น ต่างพากันสละเคหสถานออกตามเสด็จพระเจ้าพรหมทัต ได้เกิดเป็นมหาสมาคมใหญ่ มีบริษัทนับได้ประมาณ ๑๒ โยชน์ พระมหาสัตว์เจ้าพาบริษัทนั้นเข้าไปสู่หิมวันตประเทศ ท้าวสักกเทวราชทรงทราบว่า พระมหาสัตว์เจ้าเสด็จออกแล้ว จึงส่งวิสสุกรรมเทพบุตรไปเนรมิตอาศรมบทให้ยาว ๑๒ โยชน์ กว้าง ๗ โยชน์ ทั้งให้จัดแจงบรรพชิตบริขารไว้ครบถ้วน. ต่อจากนี้ไป การบรรพชาของพระมหาสัตว์เจ้าก็ดี การให้โอวาทก็ดี ความเป็นผู้มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้าก็ดี ความไม่ไปสู่อบายของบริษัทก็ดี พึงทราบโดยนัยที่กล่าวแล้วในหนหลังทั้งหมด. พระบรมศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ในชาติก่อน ตถาคตก็ออกสู่มหาภิเนษกรมณ์อย่างนี้เหมือนกัน แล้วทรงประชุมชาดกว่า พระราชมารดาบิดาในครั้งนั้น ได้มาเป็ น มหาราชสกุล บริษัทได้มาเป็ น พุทธบริษัท ส่วนอโยฆรบัณฑิตได้มาเป็ น เราผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ฉะนี้เลย. จบอรรถกถาอโยฆรชาดกที่ ๑๔ จบอรรถกถาวีสตินิบาต เพียงเท่านี้ -----------------------------------------------------