SlideShare a Scribd company logo
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ
ชุดที่
ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด
มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด
ระดับ
พฤติกรรม
การคิด
ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ
ระดับพฤติกรรมการคิด รวม
1
ว 4.1
1 14-15 A ความรู ความจํา 1, 2, 14, 19, 25, 27-30, 33-34, 37-38 13
2 16-18 B ความเขาใจ 3-6, 9-10, 16-18, 20-21, 31-32,
44, 46
15
3 19-24
4 25-26 C การนําไปใช 12-13, 15, 22, 35-36, 39, 47-48 9
ว 4.2
1 1-8 D การวิเคราะห 7, 11, 23, 26, 45, 49 6
2 9-11 E การสังเคราะห 8, 24, 41-42 4
3 11-13 F การประเมินคา 40, 43, 50 3
ว 5.1
1 27-32
2 33-36
3 37
4 38-40
5 41
6 42
7 43
8 44-45
9 46-50
แบบทดสอบอิงมาตรฐาน
เนนการคิด
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนอานออก เขียนได คิดคํานวณเปน มุงใหเกิดทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต
เตรียมตัวเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ และมีความสามารถในการแขงขันไดในอนาคต การจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับจุดมุงหมายดังกลาว
จึงควรใหผูเรียนฝกฝนการนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริง สามารถคิดวิเคราะหและแกปญหาได ดังนั้นเพื่อเปนการเตรียมความพรอม
ของผูเรียน ทางโครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด จึงไดจัดทําแบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด
โดยดําเนินการวิเคราะหสาระการเรียนรูที่สําคัญตามที่ระบุไวในมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นป แลวนํามากําหนดเปนระดับพฤติกรรมการคิด
เพื่อสรางแบบทดสอบที่มีคุณสมบัติ ดังน�้
แบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด ที่จัดทําโดย โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ประกอบดวย
แบบทดสอบ 3 ชุด แตละชุดมีทั้งแบบทดสอบปรนัย และแบบทดสอบอัตนัย โดยวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด และระดับพฤติกรรมการคิดที่
สัมพันธกับแบบทดสอบไวอยางชัดเจน เพื่อใหผูสอนนําไปใชเปนเครื่องมือวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ
สอดคลองกับมาตรฐาน
ตัวชี้วัดชั้นปทุกขอ
ตามระดับพฤติกรรมการคิด
ที่ระบุไวในตัวชี้วัด
วัดผลการเรียนรู เนนใหผูเรียนเกิดการคิด1 2 ผูสอนสามารถนําแบบทดสอบน�้ไปใชเปนเครื่องมือวัด
และประเมินผล รวมทั้งเปนเครื่องบงชี้ความสําเร็จและรายงาน
คุณภาพของผูเรียนแตละคน เพื่อเปนการเตรียมความพรอม
ของนักเรียนใหมีความสามารถในดานการใชภาษา ดานการ
คิดคํานวณ และดานเหตุผล สําหรับรองรับการประเมินผลผูเรียน
ในระดับประเทศ (O-NET) และระดับนานาชาติ (PISA) ตอไป
หมายเหตุ : มีเฉลยและคําอธิบายเชิงวิเคราะห อยูทายแบบทดสอบชุดที่ 3
(1)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
ชุดที่
ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด
มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด
ระดับ
พฤติกรรม
การคิด
ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ
ระดับพฤติกรรมการคิด รวม
2
ว 4.1
1 14-16 A ความรู ความจํา 1, 9, 14, 17, 21, 26, 28-29, 33 9
2 17-20 B ความเขาใจ 2-4, 15, 18, 22, 23, 30-32, 34, 41,
44-47
16
3 21-25
4 26-27 C การนําไปใช 5-6, 12, 19, 24, 35, 48 7
ว 4.2
1 1-8 D การวิเคราะห 10-11, 13, 16, 25, 36, 38, 49 8
2 9-11 E การสังเคราะห 7-8, 20, 27, 39-40, 43, 50 8
3 12-13 F การประเมินคา 37, 42 2
ว 5.1
1 28-32
2 33-36
3 37
4 38-40
5 41
6 42
7 43
8 44-45
9 46-50
3
ว 4.1
1 15-16 A ความรู ความจํา 1, 9, 18, 20-21, 28-29, 33, 38-39,
41, 42, 45-46
14
2 18-19
3 20-25 B ความเขาใจ 2-6, 10-11, 15-16, 22-23, 26,
30-31, 43, 47
16
4 26-27
ว 4.2
1 1-8 C การนําไปใช 19, 24, 34-35, 48 5
2 9-12 D การวิเคราะห 7, 12, 17, 36-37, 40, 49 7
3 13-14 E การสังเคราะห 8, 13, 25, 27, 32, 44, 50 7
ว 5.1
1 28-32 F การประเมินคา 14 1
2 33-37
3 38
4 39-40
5 41-42
6 43
7 44
8 45
9 46-50
(2)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
4. การกระจัดจากบานไปยังโรงเรียนมีคาเทาไร
1. 30 เมตร 2. 50 เมตร
3. 70 เมตร 4. 90 เมตร
5. รถยนต A เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งโดยมีความเร็วเพิ่มขึ้น
2 เมตร/วินาที2
ทุกๆ 1 วินาที เมื่อสิ้นวินาทีที่ 5 รถยนต
จะมีความเร็วเทาไร
1. 5 เมตร/วินาที 2. 10 เมตร/วินาที
3. 15 เมตร/วินาที 4. 20 เมตร/วินาที
6. หากปลอยวัตถุใหตกลงมาในแนวดิ่งเมื่อเวลาผานไป4วินาที
วัตถุจะมีความเรงเทาใด
1. 9.8 เมตร/วินาที2
2. 19.6 เมตร/วินาที2
3. 29.4 เมตร/วินาที2
4. 39.2 เมตร/วินาที2
7.
จากภาพ ชวงเวลาใดที่วัตถุมีความเรงคงตัวเปนลบ
1. A 2. B
3. C 4. D
4.4. การกระจัดจากบานไปยังโรงเรียนมีคาเทาไร
1. 30 เมตร 2. 50 เมตรB
5.5. รถยนต A เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งโดยมีความเร็วเพิ่มขึ้น
2 เมตร/วินาทีB
6.6. หากปลอยวัตถุใหตกลงมาในแนวดิ่งเมื่อเวลาผานไป4วินาที
วัตถุจะมีความเรงเทาใดB
7.7.
D
1. ขอใดเปนปริมาณเวกเตอรทั้งหมด
1. แรง โมเมนต นํ้าหนัก
2. ระยะทาง การกระจัด เวลา
3. ความเร็ว ความเรง อุณหภูมิ
4. ความเขมแสง นํ้าหนัก ความเร็ว
2. ขอใดกลาวถูกตอง
1. อัตราเร็ว หมายถึง อัตราสวนของการกระจัดตอเวลา
2. ความเร็ว หมายถึง อัตราสวนของการกระจัดตอเวลา
3. อัตราเรง หมายถึง อัตราสวนของการกระจัดตอเวลา
4. ความเรง หมายถึง อัตราสวนของการกระจัดตอเวลา
พิจารณาภาพแลวตอบคําถามขอ 3.-4.
1.1. ขอใดเปนปริมาณเวกเตอรทั้งหมด
1. แรง โมเมนต นํ้าหนักA
2.2. ขอใดกลาวถูกตอง
1. อัตราเร็ว หมายถึง อัตราสวนของการกระจัดตอเวลาA
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
50
ตอนที่ 1 แบบปรนัย 4 ตัวเลือก แตละขอมีคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
จํานวน 50 ขอ ขอละ 1 คะแนน
ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..
เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
60
แบบทดสอบว�ชา แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6
ชุดที่ 1
โรงเรียน
บาน
25
3015 ความเร็ว
เวลา
D
C
B
A
3. ระยะทางจากบานไปยังโรงเรียนมีคาเทาไร
1. 30 เมตร 2. 50 เมตร
3. 70 เมตร 4. 90 เมตร
3.3. ระยะทางจากบานไปยังโรงเรียนมีคาเทาไร
1. 30 เมตร 2. 50 เมตรB
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา
A B C D E F
(3)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
8. เพราะเหตุใดเมื่อปลอยขนนกและกอนหินจากที่สูงในระดับ
เดียวกัน วัตถุทั้งสองนั้นจึงตกถึงพื้นไมพรอมกัน
1. ขนนกมีพื้นที่ผิวมากกวา
2. ขนนกมีมวลนอยกวากอนหิน
3. ขนนกมีคุณสมบัติในการลอยตัวไดดี
4. มีแรงตานในอากาศกระทําและพยุงขนนกไว
9. หากผูกเชือกเขากับจุกยางแลวเหวี่ยงใหจุกยางเคลื่อนที่เปน
วงกลมในระดับเหนือศีรษะดวยความเร็วคงตัว ขอใดถูกตอง
1. จุกยางมีความเร็วคงตัว
2. จุกยางมีความเรงเปนศูนย
3. แรงที่กระทําตอจุกยางมีทิศเขาสูศูนยกลางวงกลม
4. แรงที่กระทําตอจุกยางมีทิศเดียวกับความเร็วของ
จุกยาง
10. ขวางลูกบอล m จากตึกสูง 10 เมตร ไปในแนวระดับ
ดวยอัตราเร็ว 5 เมตรตอวินาที ลูกบอลจะตกสูพื้นดวย
ความเรงเทาไร
1. 5 เมตร/วินาที2
2. 10 เมตร/วินาที2
3. 15 เมตร/วินาที2
4. 20 เมตร/วินาที2
11. ขอใดเปนลักษณะของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
1. เตยปนจักรยานไปซื้อของ
2. ธีรรถนํ้าตนไมดวยสายยาง
3. วินนั่งบนบอลลูนที่ลอยขึ้นจากพื้นดิน
4. ตาขับรถยนตเลี้ยวโคงบริเวณทางโคง
12. เพราะเหตุใดนักกระโดดรมที่กระโดดลงมาจากเครื่องบิน
จึงคอยๆ ตกลงมาอยางชาๆ
1. รมมีขนาดใหญ ทําใหตกลงมาอยางชาๆ
2. ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงมีคาลดลง
3. นักกระโดดรมถูกฝกใหลอยตัวไดเองในอากาศ
4. มีแรงตานในอากาศที่ปะทะกับรมทําใหความเรงมีคาลดลง
13. ดอกยางรถยนตมีความสําคัญตอการเคลื่อนที่ในทางโคง
อยางไร
1. ชวยใหรถเขาโคงไดเร็วขึ้น
2. เพิ่มความถี่ในการเคลื่อนที่ของรถยนต
3. เพิ่มแรงเสียดทานซึ่งเปนแรงเขาสูศูนยกลาง
4. ลดแรงเสียดทานเพื่อใหวัตถุเขาโคงไดเร็วขึ้น
8.8. เพราะเหตุใดเมื่อปลอยขนนกและกอนหินจากที่สูงในระดับ
เดียวกัน วัตถุทั้งสองนั้นจึงตกถึงพื้นไมพรอมกันE
9.9. หากผูกเชือกเขากับจุกยางแลวเหวี่ยงใหจุกยางเคลื่อนที่เปน
วงกลมในระดับเหนือศีรษะดวยความเร็วคงตัว ขอใดถูกตองB
10.10. ขวางลูกบอล m จากตึกสูง 10 เมตร ไปในแนวระดับ
ดวยอัตราเร็ว 5 เมตรตอวินาที ลูกบอลจะตกสูพื้นดวยB
11.11. ขอใดเปนลักษณะของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
1. เตยปนจักรยานไปซื้อของD
12.12. เพราะเหตุใดนักกระโดดรมที่กระโดดลงมาจากเครื่องบิน
จึงคอยๆ ตกลงมาอยางชาๆC
13.13. ดอกยางรถยนตมีความสําคัญตอการเคลื่อนที่ในทางโคง
อยางไรC
14. สนามของแรงชนิดใดมีทิศตั้งฉากกับพื้นโลก
1. สนามไฟฟา 2. สนามแมเหล็ก
3. สนามโนมถวง 4. สนามแมเหล็กไฟฟา
15. ดาวเทียมโคจรรอบโลกไดอยางไร
1. มีตัวกลางอีเทอรอยูในอวกาศ
2. เปนผลเนื่องจากสนามโนมถวงของโลก
3. มีแรงขับจากเชื้อเพลิงภายในดาวเทียม
4. สมดุลระหวางแรงไฟฟาและแรงโนมถวงของดาวเทียม
16. การเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟาในลวดตัวนํามีลักษณะอยางไร
1. เปนการเคลื่อนที่ของโปรตอนในลวดตัวนํา
2. เปนการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในลวดตัวนํา
3. ทิศของกระแสไฟฟามีทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ของ
โปรตอน
4. ทิศของกระแสไฟฟาสวนทางกับการเคลื่อนที่ของ
อิเล็กตรอน
17. ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตอง
1. สนามไฟฟาเปนปริมาณเวกเตอร และมีทิศทางจาก
ประจุบวกไปประจุลบเสมอ
2. วัตถุที่เปนฉนวนไฟฟาจะไมยอมใหประจุไฟฟาไหลผาน
แตสามารถเกิดสนามไฟฟาไดถาถูกกระตุน
3. ประจุไฟฟาชนิดเดียวกัน ถาอยูใกลกันจะออกแรง
ผลักกัน และเคลื่อนที่หางกันไปเรื่อยๆ เปนระยะอนันต
4. ถานําวัตถุที่เปนกลางทางไฟฟาวางคั่นระหวางประจุ
บวกกับประจุลบ วัตถุนั้นจะไมสงผลใดๆ ตอสนามไฟฟา
18. วางอนุภาคอิเล็กตรอนลงในบริเวณซึ่งมีเฉพาะสนามไฟฟา
ที่มีทิศไปทางดานขวา ดังรูป อนุภาคอิเล็กตรอนจะมีการ
เคลื่อนที่เปนไปตามขอใด
1. เคลื่อนที่เปนเสนโคง เบนขึ้นขางบน
2. เคลื่อนที่เปนเสนโคง เบนลงขางลาง
3. เคลื่อนที่เปนเสนตรงขนานกับสนามไฟฟา
ไปทางดานขวา
4. เคลื่อนที่เปนเสนตรงขนานกับสนามไฟฟา
ไปทางดานซาย
14.14. สนามของแรงชนิดใดมีทิศตั้งฉากกับพื้นโลก
1. สนามไฟฟา 2. สนามแมเหล็กA
15.15. ดาวเทียมโคจรรอบโลกไดอยางไร
1. มีตัวกลางอีเทอรอยูในอวกาศC
16.16. การเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟาในลวดตัวนํามีลักษณะอยางไร
1. เปนการเคลื่อนที่ของโปรตอนในลวดตัวนําB
17.17. ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตอง
1. สนามไฟฟาเปนปริมาณเวกเตอร และมีทิศทางจากB
18.18. วางอนุภาคอิเล็กตรอนลงในบริเวณซึ่งมีเฉพาะสนามไฟฟา
ที่มีทิศไปทางดานขวา ดังรูป อนุภาคอิเล็กตรอนจะมีการB
(4)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
19. ขอใดกลาวถึงสนามแมเหล็กไดถูกตอง
1. สนามแมเหล็กพัฒนาขึ้นมาจากสนามไฟฟา
2. สนามแมเหล็กพุงจากสารแมเหล็กชนิดตางๆ เขาสู
แมเหล็ก
3. สนามแมเหล็กพุงออกจากขั้วแมเหล็กใตไปยัง
ขั้วแมเหล็กเหนือ
4. สนามแมเหล็กพุงออกจากขั้วแมเหล็กเหนือไปยัง
ขั้วแมเหล็กใต
20. วัตถุชนิดใดไมถูกกระทําเมื่ออยูในสนามแมเหล็ก
1. ตะปู 2. ชอนสังกะสี
3. กระดาษสีเงิน 4. ลวดหนีบกระดาษ
21. เมื่อนําเข็มทิศมาวางใกลๆ กับกึ่งกลางแทงแมเหล็กที่
ตําแหนง ดังรูป เข็มทิศจะชี้ในลักษณะใด
1. 2.
3. 4.
22. หากตองการผลิตแมเหล็กชั่วคราวขึ้น สามารถทําไดดวย
วิธีใด
1. นําแทงเหล็กวางในบริเวณที่มีสนามไฟฟา
2. นําแทงเหล็กสองแทงมาถูกกันเพื่อใหเกิดสนามไฟฟา
3. นําแมเหล็กมาติดกับแทงเหล็กที่ตองการทําใหเกิด
อํานาจไฟฟา
4. นําลวดตัวนําพันรอบแทงโลหะแลวจายกระแสไฟฟา
ผานลวดตัวนํา
23. ขอใดไมใชปจจัยที่มีผลตอการผลิตกระแสไฟฟาของไดนาโม
1. จํานวนรอบของขดลวด
2. ความเขมของสนามแมเหล็ก
3. ปริมาณไฟฟาที่จายแกไดนาโม
4. ความเร็วในการเคลื่อนที่ของแทงแมเหล็ก
19.19. ขอใดกลาวถึงสนามแมเหล็กไดถูกตอง
1. สนามแมเหล็กพัฒนาขึ้นมาจากสนามไฟฟาA
20.20. วัตถุชนิดใดไมถูกกระทําเมื่ออยูในสนามแมเหล็ก
1. ตะปู 2. ชอนสังกะสีB
21.21. เมื่อนําเข็มทิศมาวางใกลๆ กับกึ่งกลางแทงแมเหล็กที่
ตําแหนง ดังรูป เข็มทิศจะชี้ในลักษณะใดB
22.22. หากตองการผลิตแมเหล็กชั่วคราวขึ้น สามารถทําไดดวย
วิธีใดC
23.23. ขอใดไมใชปจจัยที่มีผลตอการผลิตกระแสไฟฟาของไดนาโม
1. จํานวนรอบของขดลวดD
24. ขอใดแสดงการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟาในสนามแมเหล็ก
ไดถูกตอง
1. 2.
3. 4.
25. แรงระหวางอนุภาคซึ่งอยูภายในนิวเคลียสจะประกอบดวย
แรงอะไร
1. แรงนิวเคลียรเทานั้น
2. แรงนิวเคลียรและแรงไฟฟา
3. แรงนิวเคลียรและแรงดึงดูดระหวางมวล
4. แรงนิวเคลียร แรงไฟฟา และแรงดึงดูดระหวางมวล
26. เหตุใดโปรตอนซึ่งเปนอนุภาคบวกจึงสามารถอยูรวมกันได
ในนิวเคลียสของอะตอม
1. มีแรงผลักจากอิเล็กตรอนโดยรอบ
2. แรงทางไฟฟาระหวางโปรตอนหักลางกันพอดี
3. แรงนิวเคลียรภายในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวอนุภาคไว
4. นิวตรอนในนิวเคลียสชวยลดแรงผลักระหวางโปรตอน
27. ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับคลื่นตามยาว
1. เปนคลื่นที่ไมตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
2. เปนคลื่นที่เคลื่อนที่ไปตามแนวยาวของตัวกลาง
3. เปนคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นไดหลายแนว
4. เปนคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นในแนวเดียวกับ
การเคลื่อนที่ของตัวกลาง
28. ปริมาณใดแปรผกผันกับความถี่คลื่น
1. อัตราเร็วคลื่น
2. คาบของคลื่น
3. การกระจัดของคลื่น
4. แอมพลิจูดของคลื่น
29. เมื่อโยนกอนหินลงไปในผิวนํ้านิ่งจะเกิดคลื่นนํ้าแผเปน
วงกลม คลื่นดังกลาวจัดเปนคลื่นประเภทใด
1. คลื่นวงกลม 2. คลื่นตามยาว
3. คลื่นตามขวาง 4. ไมสามารถสรุปได
24.24. ขอใดแสดงการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟาในสนามแมเหล็ก
ไดถูกตองE
25.25. แรงระหวางอนุภาคซึ่งอยูภายในนิวเคลียสจะประกอบดวย
แรงอะไรA
26.26. เหตุใดโปรตอนซึ่งเปนอนุภาคบวกจึงสามารถอยูรวมกันได
ในนิวเคลียสของอะตอมD
27.27. ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับคลื่นตามยาว
1. เปนคลื่นที่ไมตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่A
28.28. ปริมาณใดแปรผกผันกับความถี่คลื่น
1. อัตราเร็วคลื่นA
29.29. เมื่อโยนกอนหินลงไปในผิวนํ้านิ่งจะเกิดคลื่นนํ้าแผเปน
วงกลม คลื่นดังกลาวจัดเปนคลื่นประเภทใดA
N S
N
S
NS
N
S
x x x x x x x x x
x x x x x x x x x
x x x x x x x x x
x x x x x x x x x
+q
+q
+q
x x x x x x x x x
x x x x x x x x x
x x x x x x x x x
x x x x x x x x x
+q
N S
เข็มทิศ
(5)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
30. ขอใดกลาวถึงสมบัติของคลื่นไมถูกตอง
1. การหักเหของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานรอยตอ
ระหวางตัวกลางที่มีสมบัติตางกัน
2. คลื่นที่มีความยาวคลื่นมากจะเกิดการเลี้ยวเบนของคลื่น
ไดดีกวาคลื่นที่มีความยาวคลื่นนอย
3. การสะทอนของคลื่น มุมของคลื่นตกกระทบจะเทากับ
มุมของคลื่นสะทอนเสมอ
4. ถาอัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนแปลงไป จะทําใหความถี่
ของคลื่นเปลี่ยนแปลงตามไปดวย
31. จากภาพ ความยาวของคลื่นมีคาเทาไร
1. 10 m 2. 20 m
3. 30 m 4. 40 m
32. จุมปากกาลงบนผิวนํ้า30 ครั้งในเวลา1 นาที คลื่นนํ้าจาก
ปลายปากกาเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 0.05 เมตรตอวินาที
จงหาคาบของคลื่นนํ้าดังกลาว
1. 2 วินาที
2. 5 วินาที
3. 10 วินาที
4. 15 วินาที
33. อัตราเร็วของคลื่นเสียงในอากาศขึ้นอยูกับปจจัยในขอใด
1. ความเขมเสียง
2. อุณหภูมิของอากาศ
3. ความถี่ของแหลงกําเนิด
4. ความเร็วของแหลงกําเนิด
34. สมบัติตามขอใดของคลื่นเสียงที่เกี่ยวของกับการเกิดบีตส
1. การหักเห
2. การสะทอน
3. การเลี้ยวเบน
4. การสอดแทรก
30.30. ขอใดกลาวถึงสมบัติของคลื่นไมถูกตอง
1. การหักเหของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานรอยตอA
31.31. จากภาพ ความยาวของคลื่นมีคาเทาไร
B
32.32. จุมปากกาลงบนผิวนํ้า30 ครั้งในเวลา1 นาที คลื่นนํ้าจาก
ปลายปากกาเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 0.05 เมตรตอวินาทีB
33.33. อัตราเร็วของคลื่นเสียงในอากาศขึ้นอยูกับปจจัยในขอใด
1. ความเขมเสียงA
34.34. สมบัติตามขอใดของคลื่นเสียงที่เกี่ยวของกับการเกิดบีตส
1. การหักเหA
35. การเลนกีตารเมื่อตองการใหเกิดเสียงสูง เหตุใดจึงตอง
กดสายใหสั้นลง
1. เพื่อปรับคุณภาพเสียง
2. เพื่อเพิ่มความถี่ในการสั่น
3. เพื่อเพิ่มความเขมของเสียง
4. เพื่อเพิ่มความยาวคลื่นเสียง
36. ขอใดเปนการใชประโยชนจากการสะทอนของคลื่น
1. การสงสัญญาณวิทยุ
2. การเลนเครื่องดนตรี
3. การตรวจสอบชั้นหิน
4. การแยกสีแสงผานสเปกตรัม
37. องคการอนามัยโลก ไดกําหนดระดับของความเขมเสียงที่
ปลอดภัยตอหูและจิตใจของผูฟงไวไมเกินกี่เดซิเบล และ
ไดยินติดตอกันไมเกินกี่ชั่วโมง
1. ไมเกิน75 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกิน8 ชั่วโมง
2. ไมเกิน85 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกิน8 ชั่วโมง
3. ไมเกิน75 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกิน9 ชั่วโมง
4. ไมเกิน85 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกิน9 ชั่วโมง
38. คลื่นใดตอไปนี้ มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด
1. คลื่นวิทยุ
2. คลื่นแสง
3. คลื่นไมโครเวฟ
4. คลื่นอินฟราเรด
39. เพราะเหตุใดเราจึงไมสามารถมองเห็นรังสีจากรีโมตโทรทัศน
1. ใชคลื่นเสียงในการควบคุม
2. ใชสัญญาณคลื่นวิทยุ ซึ่งไมสามารถมองเห็นไดดวย
ตาเปลา
3. ใชสัญญาณคลื่นไมโครเวฟ ซึ่งไมสามารถมองเห็นได
ดวยตาเปลา
4. ใชสัญญาณคลื่นอินฟราเรด ซึ่งไมสามารถมองเห็นได
ดวยตาเปลา
40. คลื่นแมเหล็กไฟฟามีความสําคัญอยางไร
1. ชวยในการไดยิน
2. ชวยขับเคลื่อนไฟฟา
3. ชวยในการสื่อสารผานสุญญากาศ
4. เชื่อมโยงสนามไฟฟาและสนามแมเหล็กเขาดวยกัน
35.35. การเลนกีตารเมื่อตองการใหเกิดเสียงสูง เหตุใดจึงตอง
กดสายใหสั้นลงC
36.36. ขอใดเปนการใชประโยชนจากการสะทอนของคลื่น
1. การสงสัญญาณวิทยุC
37.37. องคการอนามัยโลก ไดกําหนดระดับของความเขมเสียงที่
ปลอดภัยตอหูและจิตใจของผูฟงไวไมเกินกี่เดซิเบล และA
38.38. คลื่นใดตอไปนี้ มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด
1. คลื่นวิทยุA
39.39. เพราะเหตุใดเราจึงไมสามารถมองเห็นรังสีจากรีโมตโทรทัศน
1. ใชคลื่นเสียงในการควบคุมC
40.40. คลื่นแมเหล็กไฟฟามีความสําคัญอยางไร
1. ชวยในการไดยินF
การกระจัด (m)
ระยะทาง (m)0 10 20 30 40
-30
30
(6)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
41. จากการทดลองปลอยรังสีแอลฟาและรังสีบีตาผาน
สนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ เมื่อรังสีทั้งสองเบี่ยงเบนใน
สนามแมเหล็กจะมีลักษณะตางกันหรือไม อยางไร
1. ไมแตกตางกัน เนื่องจากเบี่ยงเบนไปตามเสนทาง
เดียวกัน
2. แตกตางกัน คือ เบี่ยงเบนในทิศทางตรงกันขาม แตมี
รัศมีความโคงเทากัน
3. แตกตางกัน คือ เบี่ยงเบนในทิศทางเดียวกัน แตมีรัศมี
ความโคงแตกตางกัน
4. แตกตางกัน คือ เบี่ยงเบนในทิศทางตรงกันขาม และ
มีรัศมีความโคงแตกตางกัน
42. ขอใดกลาวไมถูกตอง
1. ปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชันหรือปฏิกิริยาลูกโซเหมาะที่จะ
นํามาผลิตกระแสไฟฟา
2. โรงไฟฟานิวเคลียรสามารถผลิตพลังงานไฟฟาได
ปริมาณมาก
3. ตนทุนจากมาตรการควบคุมดานความปลอดภัยของ
การผลิตไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียรตํ่ากวาการผลิต
ไฟฟาดวยพลังงานอื่น
4. การทํางานของเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรทําใหเกิด
ของเสียที่เรียกวา กากกัมมันตรังสี ซึ่งเปนอันตราย
ตอสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
43. นักเรียนคิดวาพลังงานนิวเคลียรมีความสําคัญตอมนุษย
หรือไม อยางไร
1. ไมมี เพราะเปนพลังงานที่อันตราย ไมสามารถ
ควบคุมได
2. ไมมี เพราะเปนพลังงานที่ไมเสถียร อาจมีมาก
เกินความจําเปน
3. มี เพราะเปนพลังงานทดแทนพลังงานธรรมชาติได
ในอนาคต
4. มี เพราะเปนแหลงพลังงานที่สามารถใชประโยชน
ไดในระยะยาว
44. รังสีชนิดใดสามารถทําใหอากาศแตกตัวไดดีที่สุด
1. รังสีบีตา
2. รังสีแอลฟา
3. รังสีแกมมา
4. รังสีอินฟราเรด
41.41. จากการทดลองปลอยรังสีแอลฟาและรังสีบีตาผาน
สนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ เมื่อรังสีทั้งสองเบี่ยงเบนในE
42.42. ขอใดกลาวไมถูกตอง
1. ปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชันหรือปฏิกิริยาลูกโซเหมาะที่จะE
43.43. นักเรียนคิดวาพลังงานนิวเคลียรมีความสําคัญตอมนุษย
หรือไม อยางไรF
44.44. รังสีชนิดใดสามารถทําใหอากาศแตกตัวไดดีที่สุด
1. รังสีบีตาB
45. รังสีA สามารถเคลื่อนที่ผานกระดาษบางๆ ไดดี แตไมเกิด
การเปลี่ยนแปลงเมื่อเคลื่อนที่ตั้งฉากผานสนามแมเหล็ก
สมํ่าเสมอ รังสี A เปนรังสีชนิดใด
1. รังสีบีตา
2. รังสีแกมมา
3. รังสีแอลฟา
4. รังสีอินฟราเรด
46. การคนพบกัมมันตภาพรังสี เบ็กเคอเรลทราบไดอยางไรวา
รอยดําจากฟลมไมไดเกิดจากรังสีเอกซ
1. ใชแผนฟลมที่ตางชนิดกัน
2. พบการเบี่ยงเบนในสนามแมเหล็กของรังสีดังกลาว
3. รอยดํามีความเขมมากกวารอยดําเนื่องจากรังสีเอกซ
4. เบ็กเคอเรลคนพบรังสีดังกลาวกอนมีการคนพบ
รังสีเอกซ
47. การหาอายุของซากฟอสซิลโบราณมีการนําหลักการทาง
กัมมันตภาพรังสีมาใชไดอยางไร
1. วัดสเปกตรัมของรังสีที่แผออกมา
2. ฉายรังสีไปยังฟอสซิลเพื่อวัดรองรอยอายุ
3. ใชเครื่องมือตรวจจับชนิดของรังสีที่แตกตางกัน
4. ใชหลักการสลายตัวครึ่งชีวิตของสารกัมมันตรังสี
48. สารกัมมันตรังสีชนิดใดนํามาใชในการรักษาโรคมะเร็ง
ตอมไทรอยด
1. โคบอลต -60 2. ไอโอดีน -131
3. ไอโอดีน -132 4. แกลเลียม -67
49. ไอโซโทปใดสามารถเกิดการสลายตัวแลวไดกัมมันตภาพรังสี
1. 4
2He 2. 13
6C
3. 129
53 I 4. 60
27Co
50. นักเรียนคิดวาสารกัมมันตรังสีมีประโยชนในดานตางๆ
หรือไม อยางไร
1. มี เพราะสามารถใชประโยชนในการบําบัดรักษาโรคได
2. มี เพราะรังสีจากสารกัมมันตรังสีเปนสารที่มีมูลคาทาง
เศรษฐกิจ
3. ไมมี เพราะเปนสารอันตรายที่ควรหลีกเลี่ยง
4. ไมมี เพราะเปนสารที่ไมเสถียร และไมเปนประโยชน
ในทางวิทยาศาสตร
45.45. รังสีA สามารถเคลื่อนที่ผานกระดาษบางๆ ไดดี แตไมเกิด
การเปลี่ยนแปลงเมื่อเคลื่อนที่ตั้งฉากผานสนามแมเหล็กD
46.46. การคนพบกัมมันตภาพรังสี เบ็กเคอเรลทราบไดอยางไรวา
รอยดําจากฟลมไมไดเกิดจากรังสีเอกซB
47.47. การหาอายุของซากฟอสซิลโบราณมีการนําหลักการทาง
กัมมันตภาพรังสีมาใชไดอยางไรC
48.48. สารกัมมันตรังสีชนิดใดนํามาใชในการรักษาโรคมะเร็ง
ตอมไทรอยดC
49.49. ไอโซโทปใดสามารถเกิดการสลายตัวแลวไดกัมมันตภาพรังสี
1.D
50.50. นักเรียนคิดวาสารกัมมันตรังสีมีประโยชนในดานตางๆ
หรือไม อยางไรF
(7)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
1. จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเสนตรงโดยใชเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ไดจุดบนแถบกระดาษ ดังรูป ซึ่งระยะหาง
ระหวางจุดมีชวงเวลาเทากัน จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางความเรงและเวลา
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2. มอเตอรชนิดหนึ่งทําใหใบพัดหมุนเปนวงกลมดวยความถี่40 เฮิรตซ หากเปดใหใบพัดหมุนเปนเวลา1 นาที ใบพัดจะหมุนได
กี่รอบ และหมุนดวยคาบเทาไร
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
3. เพราะเหตุใดภายในมอเตอรจึงมีขดลวดและแมเหล็กเปนสวนประกอบ
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
4. ใหนักเรียนวิเคราะหความหนาแนนของสนามแมเหล็กสําหรับแมเหล็กรูปเกือกมา พรอมแสดงเสนแรงแมเหล็ก
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
5. ไอโอดีน -128 มีคาครึ่งชีวิต 25 นาที ถาเริ่มตนมีไอโอดีน -128 อยู 400 มิลลิกรัม ไอโอดีน -128 จะลดลงเหลือ 50 มิลลิกรัม
เมื่อเวลาผานไปกี่นาที
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
1.1. จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเสนตรงโดยใชเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ไดจุดบนแถบกระดาษ ดังรูป ซึ่งระยะหาง
ระหวางจุดมีชวงเวลาเทากัน จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางความเรงและเวลาE
2.2. มอเตอรชนิดหนึ่งทําใหใบพัดหมุนเปนวงกลมดวยความถี่40 เฮิรตซ หากเปดใหใบพัดหมุนเปนเวลา1 นาที ใบพัดจะหมุนได
กี่รอบ และหมุนดวยคาบเทาไรE
3. เพราะเหตุใดภายในมอเตอรจึงมีขดลวดและแมเหล็กเปนสวนประกอบ
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................B
4. ใหนักเรียนวิเคราะหความหนาแนนของสนามแมเหล็กสําหรับแมเหล็กรูปเกือกมา พรอมแสดงเสนแรงแมเหล็ก
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................D
5.5. ไอโอดีน -128 มีคาครึ่งชีวิต 25 นาที ถาเริ่มตนมีไอโอดีน -128 อยู 400 มิลลิกรัม ไอโอดีน -128 จะลดลงเหลือ 50 มิลลิกรัม
เมื่อเวลาผานไปกี่นาทีB
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10
ตอนที่ 2 แบบอัตนัย จํานวน 5 ขอ ขอละ 2 คะแนน
t = 0
. . . . . . .
(8)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
5. มาตรวัดความเร็วบนหนาปดรถยนตบอกคาความเร็วชนิดใด
1. ความเร็วตน 2. ความเร็วเฉลี่ย
3. ความเร็วปลาย 4. ความเร็วขณะหนึ่ง
6. หากตองการใหวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นในแนวดิ่งใหไดสูงที่สุด
สามารถทําไดอยางไร (ไมคิดแรงตานในอากาศ)
1. เพิ่มขนาดของวัตถุ
2. ปรับรูปรางของวัตถุ
3. ลดปริมาณมวลของวัตถุ
4. เพิ่มความเร็วตนของวัตถุ
7. การทดลองเรื่องการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งควรระมัดระวัง
เรื่องใดเปนพิเศษ
1. มวลของวัตถุ
2. นํ้าหนักของวัตถุ
3. แรงตานในอากาศ
4. อุณหภูมิในหองทดลอง
8. หากปลอยวัตถุที่มีมวลเทากันใหตกจากความสูงระดับ
เดียวกันบนผิวดวงจันทร การเคลื่อนที่ของวัตถุนี้จะมีความ
เหมือนหรือแตกตางจากการปลอยวัตถุบนพื้นโลกอยางไร
1. วัตถุบนดวงจันทรจะลอยขึ้นไปในอากาศ
2. ความเร็วของวัตถุที่ตกบนดวงจันทรมีคาคงตัว
3. ความเร็วของวัตถุที่ตกบนดวงจันทรมีคาไมคงตัว
4. วัตถุบนดวงจันทรตกลงดวยความเรงนอยกวาคา g
5.5. มาตรวัดความเร็วบนหนาปดรถยนตบอกคาความเร็วชนิดใด
1. ความเร็วตน 2. ความเร็วเฉลี่ยC
6.6. หากตองการใหวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นในแนวดิ่งใหไดสูงที่สุด
สามารถทําไดอยางไร (ไมคิดแรงตานในอากาศ)C
7.7. การทดลองเรื่องการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งควรระมัดระวัง
เรื่องใดเปนพิเศษE
8.8. หากปลอยวัตถุที่มีมวลเทากันใหตกจากความสูงระดับ
เดียวกันบนผิวดวงจันทร การเคลื่อนที่ของวัตถุนี้จะมีความE
1. ขอใดไมใชลักษณะของวัตถุที่ตกอยางอิสระ
1. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งดวยความเรงคงที่ 9.8 m/s2
2. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งดวยความเร็วลดลงอยางคงที่
3. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งดวยความเร็วเพิ่มขึ้นอยางคงที่
4. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งถูกกระทําดวยแรงโนมถวงตลอด
การเคลื่อนที่
2. เมื่อปาวัตถุขึ้นไปในแนวดิ่ง วัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลง
ความเร็วขณะเคลื่อนที่ขึ้นอยางไร
1. ความเร็วมีคาคงตัว
2. ความเร็วลดลงคงที่
3. ความเร็วเพิ่มขึ้นคงที่
4. ความเร็วมีคาเปนศูนย
3. เด็กคนหนึ่งวิ่งไปทางขวา 20 เมตร ใชเวลา 4 วินาที
จากนั้นหันกลับหลังแลววิ่งอีก 2 เมตร ในเวลา 1 วินาที
เด็กคนนี้มีความเร็วเฉลี่ยเทาใด
1. 3.6 m/s 2. 3.8 m/s
3. 6.0 m/s 4. 7.0 m/s
4. รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที
แลวเรงเครื่องดวยความเรง5 เมตร/วินาที2
ภายในเวลา20
วินาที รถยนตคันนี้จะมีความเร็วสุดทายเปนกี่เมตร/วินาที
1. 100 เมตร/วินาที 2. 110 เมตร/วินาที
3. 120 เมตร/วินาที 4. 130 เมตร/วินาที
1.1. ขอใดไมใชลักษณะของวัตถุที่ตกอยางอิสระ
1. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งดวยความเรงคงที่ 9.8 m/sA
2.2. เมื่อปาวัตถุขึ้นไปในแนวดิ่ง วัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลง
ความเร็วขณะเคลื่อนที่ขึ้นอยางไรB
3.3. เด็กคนหนึ่งวิ่งไปทางขวา 20 เมตร ใชเวลา 4 วินาที
จากนั้นหันกลับหลังแลววิ่งอีก 2 เมตร ในเวลา 1 วินาทีB
4.4. รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที
แลวเรงเครื่องดวยความเรง5 เมตร/วินาทีB
ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..
เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
60
แบบทดสอบว�ชา แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6
ชุดที่ 2
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
50
ตอนที่ 1 แบบปรนัย 4 ตัวเลือก แตละขอมีคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
จํานวน 50 ขอ ขอละ 1 คะแนน
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา
A B C D E F
(9)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
9. ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล ปริมาณใดมีคาคงตัว
1. การกระจัดในแนวดิ่ง 2. ความเร็วในแนวดิ่ง
3. การกระจัดในแนวระดับ 4. ความเร็วในแนวระดับ
10. ขอใดเปนการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย
1. เด็กไกวชิงชา 2. รถยนตเลี้ยวโคง
3. ลูกบอลกลิ้งตามพื้นเอียง 4. เรือดํานํ้าดิ่งลงในทะเล
11. ขอใดตอไปนี้ไมไดทําใหวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิก
อยางงาย
1. แขวนลูกตุมดวยเชือกในแนวดิ่ง แลวผลักลูกตุมให
แกวงเปนวงกลมในแนวดิ่ง
2. แขวนลูกตุมดวยเชือกในแนวดิ่ง แลวดึงลูกตุมออกมา
จนเชือกทํามุมกับแนวดิ่งเล็กนอยจึงปลอยมือ
3. ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวดิ่ง โดยตรึงอีกดานของ
สปริงไว จากนั้นดึงวัตถุใหสปริงยืดออกเล็กนอยแลว
ปลอยมือ
4. ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวระดับ โดยตรึงอีกดานของ
สปริงไว จากนั้นดึงวัตถุใหสปริงยืดออกเล็กนอยแลว
ปลอยมือ
12. เพราะเหตุใดจึงตองใหลูกตุมนาฬกาแกวงดวยมุมเล็กๆ
1. เพื่อใหแกวงไดเร็วขึ้น
2. เพื่อเพิ่มความถี่ในการแกวงกวัด
3. เพื่อใหความถี่ในการแกวงกวัดมีคาคงตัว
4. เพื่อใหจํานวนคาบของการกวัดแกวงคอยๆ ลดลง
13. เพราะเหตุใดในการเล็งเปายิงธนูจึงตองเล็งใหสูงเหนือ
เปาเล็กนอย
1. เปายิงอาจมีการเปลี่ยนตําแหนง
2. เพื่อเพิ่มแรงยิงในการยิงธนูใหแรงขึ้น
3. ธนูไมมีอุปกรณในการเล็งเปาที่แนนอน
4. ลูกธนูมีการโคงลงเมื่อเคลื่อนที่ในระยะไกล
14. ขอใดกลาวถึงสนามโนมถวงไมถูกตอง
1. การตกของวัตถุในสนามโนมถวง วัตถุจะเคลื่อนที่ดวย
ความเรงคงที่
2. สนามโนมถวงของโลกที่ระดับความสูงตางๆ จากผิวโลก
จะมีคาเทากัน
3. สนามโนมถวง ณ ตําแหนงตางๆ บนผิวโลก มีคา
ประมาณ 9.8 นิวตัน/กิโลกรัม
4. ไมวาจะปลอยวัตถุ ณ ตําแหนงใดที่สูงจากพื้นโลก วัตถุ
จะตกลงสูพื้นโลกเสมอ
9.9. ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล ปริมาณใดมีคาคงตัว
1. การกระจัดในแนวดิ่ง 2. ความเร็วในแนวดิ่งA
10.10. ขอใดเปนการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย
1. เด็กไกวชิงชา 2. รถยนตเลี้ยวโคงD
11.11. ขอใดตอไปนี้ไมไดทําใหวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิก
อยางงายD
12.12. เพราะเหตุใดจึงตองใหลูกตุมนาฬกาแกวงดวยมุมเล็กๆ
1. เพื่อใหแกวงไดเร็วขึ้นC
13.13. เพราะเหตุใดในการเล็งเปายิงธนูจึงตองเล็งใหสูงเหนือ
เปาเล็กนอยD
14.14. ขอใดกลาวถึงสนามโนมถวงไมถูกตอง
1. การตกของวัตถุในสนามโนมถวง วัตถุจะเคลื่อนที่ดวยA
15. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม เมื่ออยูบนดวงจันทรจะมีนํ้าหนัก
16 นิวตัน อยากทราบวาสนามโนมถวงของดวงจันทร
มีคาเทาใด
1. 1.6 m/s2
2. 3.2 m/s2
3. 6.4 m/s2
4. 9.6 m/s2
16. แรงในขอใดตอไปนี้เปนแรงชนิดเดียวกับแรงที่ทําใหใบไม
รวงลงสูพื้น
1. แรงที่ทําใหอิเล็กตรอนอยูในอะตอมได
2. แรงที่ทําใหแผนแมเหล็กติดอยูบนตูเย็น
3. แรงที่ทําใหดาวเทียมอยูในวงโคจรรอบโลก
4. แรงที่ยกใหขดลวดตัวนําที่อยูระหวางขั้วแมเหล็กลอยขึ้น
17. ขอใดคือสมบัติของเสนแรงไฟฟา
1. ตั้งฉากกับเสนแรงแมเหล็ก
2. เคลื่อนที่ผานตัวนํา แตไมผานฉนวน
3. มีทิศทางจากขั้วไฟฟาลบไปขั้วไฟฟาบวก
4. มีทิศทางจากขั้วไฟฟาบวกไปขั้วไฟฟาลบ
18. ลําอนุภาคQ และR เมื่อเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็กB ที่มี
ทิศพุงเขาตั้งฉากกับกระดาษจะมีการเบี่ยงเบน ดังรูป ถานํา
อนุภาคทั้งสองไปวางไวในบริเวณที่มีสนามไฟฟาสมํ่าเสมอ
แนวการเคลื่อนที่จะเปนอยางไร
1. เคลื่อนที่ไปทางเดียวกันในทิศทางตามเสนสนามไฟฟา
2. เคลื่อนที่ไปทางเดียวกันในทิศทางตรงขามกับเสนสนาม
ไฟฟา
3. เคลื่อนที่ไปทิศตรงขามกัน โดยอนุภาคR ไปทางเดียว
กับเสนสนามไฟฟา
4. เคลื่อนที่ไปทิศตรงขามกัน โดยอนุภาคQ ไปทางเดียว
กับเสนสนามไฟฟา
19. จากหลักการของกระแสไฟฟาเหนี่ยวนํา สามารถนําไปใช
สรางเครื่องมือชนิดใด
1. ไดนาโม 2. มอเตอร
3. ลําโพงไฟฟา 4. แกลวานอมิเตอร
15.15. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม เมื่ออยูบนดวงจันทรจะมีนํ้าหนัก
16 นิวตัน อยากทราบวาสนามโนมถวงของดวงจันทรB
16.16. แรงในขอใดตอไปนี้เปนแรงชนิดเดียวกับแรงที่ทําใหใบไม
รวงลงสูพื้นD
17.17. ขอใดคือสมบัติของเสนแรงไฟฟา
1. ตั้งฉากกับเสนแรงแมเหล็กA
18.18. ลําอนุภาคQ และR เมื่อเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็กB ที่มี
ทิศพุงเขาตั้งฉากกับกระดาษจะมีการเบี่ยงเบน ดังรูป ถานําB
19.19. จากหลักการของกระแสไฟฟาเหนี่ยวนํา สามารถนําไปใช
สรางเครื่องมือชนิดใดC
x x x x x x x x x x x
x x x x x x x x x x x
x x x x x x x x x x x
x x x x x x x x x x x
Q
R
(10)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
20. การทดลองหลอดรังสีแคโทด เหตุใดจึงตองทําใหความดัน-
อากาศภายในหลอดลดตํ่าลงเกือบเปนสุญญากาศ
1. เพื่อใหสังเกตรังสีแคโทดไดชัดเจน
2. เพื่อลดอันตรายจากแรงดันอากาศที่เพิ่มขึ้นในหลอดแกว
3. เพื่อลดการชนระหวางอนุภาคของรังสีแคโทดกับอากาศ
4. เพื่อไมใหสนามไฟฟาหรือสนามแมเหล็กที่ใชไปรบกวน
การเคลื่อนที่ของรังสีแคโทด
21. สนามแมเหล็กไมมีผลตอสิ่งใด
1. ประจุไฟฟาที่หยุดนิ่ง
2. ประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่
3. สารแมเหล็กที่หยุดนิ่ง
4. สารแมเหล็กที่เคลื่อนที่
22. วางลวดตัวนําไวในสนามแมเหล็กดังรูป เมื่อใหกระแสไฟฟา
ผานลวดตัวนํา จะเกิดแรงเนื่องจากสนามแมเหล็กกระทําตอ
ลวดนี้ในทิศทางใด
1. ทิศชี้ลง 2. ทิศชี้ขึ้น
3. ทิศไปทางขั้วเหนือ 4. ทิศไปทางขั้วใต
23. จากแผนภาพแสดงลักษณะของเสนแรงแมเหล็กที่เกิดจาก
แทงแมเหล็กสองแทงวางใกลกัน
ขอใดบอกถึงขั้วของแมเหล็กที่ตําแหนง A, B, C และ D
ไดอยางถูกตอง
1. A และ C เปนขั้วเหนือ สวน B และ D เปนขั้วใต
2. A และ D เปนขั้วเหนือ สวน B และ C เปนขั้วใต
3. B และ D เปนขั้วเหนือ สวน A และ C เปนขั้วใต
4. B และ C เปนขั้วเหนือ สวน A และ D เปนขั้วใต
20.20. การทดลองหลอดรังสีแคโทด เหตุใดจึงตองทําใหความดัน-
อากาศภายในหลอดลดตํ่าลงเกือบเปนสุญญากาศE
21.21. สนามแมเหล็กไมมีผลตอสิ่งใด
1. ประจุไฟฟาที่หยุดนิ่งA
22.22. วางลวดตัวนําไวในสนามแมเหล็กดังรูป เมื่อใหกระแสไฟฟา
ผานลวดตัวนํา จะเกิดแรงเนื่องจากสนามแมเหล็กกระทําตอB
23.23. จากแผนภาพแสดงลักษณะของเสนแรงแมเหล็กที่เกิดจาก
แทงแมเหล็กสองแทงวางใกลกันB
24. เหตุใดภายในมอเตอรไฟฟาจึงตองมีแมเหล็กเปน
องคประกอบ
1. เพื่อสรางสนามไฟฟาจากขดลวดตัวนํา
2. เพื่อสรางสนามแมเหล็กจากขดลวดตัวนํา
3. เพื่อยึดโครงสรางมอเตอรที่เปนเหล็กใหติดกัน
4. เพื่อทําใหขดลวดตัวนําภายในมอเตอรเกิดการหมุน
เมื่อจายกระแสไฟฟาเขาไป
25. เพราะเหตุใดเมื่อตัดแทงแมเหล็กที่มีขั้วเหนือใตออกเปน
ครึ่งหนึ่ง จึงยังคงไดแมเหล็กที่มีขั้วเหนือใตเสมอ
1. ขั้วเหนือใตของแมเหล็กกระจายตัวอยูทั่วทั้ง
แทงแมเหล็ก
2. ขั้วเหนือใตของแมเหล็กเรียงตัวสลับกันตลอดทั้ง
แทงแมเหล็ก
3. แมเหล็กมีสมบัติคูขั้ว ทําใหแมเหล็กแตละแทงตองมี
สองขั้วเสมอ
4. แมเหล็กมีสนามแมเหล็กอยูรอบๆ สงผลใหแมเหล็กที่
ถูกตัดแบงจะมีอํานาจแมเหล็กเหมือนแทงเดิม
26. ขอใดกลาวถึงแรงนิวเคลียรไมถูกตอง
1. แรงนิวเคลียรตองเปนแรงดูดที่มีคานอยกวาแรงผลัก
ทางไฟฟา
2. แรงที่ยึดโปรตอนทุกตัวและนิวตรอนทุกตัวไวดวยกันใน
นิวเคลียส
3. แรงนิวเคลียรแบบเขม เปนแรงที่ดึงดูดอนุภาคมูลฐาน
ใหรวมกันอยูได
4. แรงนิวเคลียรแบบออน เปนแรงที่เกี่ยวของกับปฏิกิริยา
นิวเคลียรฟวชัน
27. แรงนิวเคลียรมีความสําคัญตอชีวิตของมนุษยหรือไม
อยางไร
1. ไมสําคัญ เนื่องจากแรงนิวเคลียรกอใหเกิดอันตรายใน
วงกวาง
2. ไมสําคัญ เนื่องจากแรงนิวเคลียรมีผลตอการคงอยูของ
อะตอมเพียงอยางเดียว
3. สําคัญ เนื่องจากแรงนิวเคลียรมีสวนในกระบวนการผลิต
ของโรงงานอุตสาหกรรมหลายประเภท
4. สําคัญ เนื่องจากแรงนิวเคลียรนําไปสูการสรางพลังงาน
ในการนําไปใชประโยชนไดอยางมหาศาล
24.24. เหตุใดภายในมอเตอรไฟฟาจึงตองมีแมเหล็กเปน
องคประกอบC
25.25. เพราะเหตุใดเมื่อตัดแทงแมเหล็กที่มีขั้วเหนือใตออกเปน
ครึ่งหนึ่ง จึงยังคงไดแมเหล็กที่มีขั้วเหนือใตเสมอD
26.26. ขอใดกลาวถึงแรงนิวเคลียรไมถูกตอง
1. แรงนิวเคลียรตองเปนแรงดูดที่มีคานอยกวาแรงผลักA
27.27. แรงนิวเคลียรมีความสําคัญตอชีวิตของมนุษยหรือไม
อยางไรE
N S
BA
C D
I
(11)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
28. ปรากฏการณใดของคลื่นที่ทําใหคลื่นเกิดการเปลี่ยนแปลง
ความยาวคลื่น
1. การหักเห 2. การสะทอน
3. การเลี้ยวเบน 4. การแทรกสอด
29. คลื่นชนิดใดมีความยาวคลื่นมากที่สุด
1. รังสีเอกซ 2. ไมโครเวฟ
3. อินฟราเรด 4. อัลตราไวโอเลต
30. ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง
1. คลื่นบางชนิดเคลื่อนที่ไดโดยไมตองอาศัยตัวกลาง
2. ความยาวคลื่นมีความสัมพันธแบบแปรผันตรงกับ
ความถี่คลื่น
3. คลื่นเปนพลังงานที่สงผานพลังงานไปพรอมกับตัวกลาง
ที่เคลื่อนที่
4. การแทรกสอดของคลื่นและการเลี้ยวเบนของคลื่นเปน
ปรากฏการณที่เกิดขึ้นคูกัน
31. เพราะเหตุใดเมื่อสังเกตปลาที่วายอยูในนํ้า จะมองเห็นวา
ปลามีขนาดใหญกวาปกติ
1. เปนผลจากการหักเหของคลื่นแสง
2. เปนผลจากการสะทอนของคลื่นแสง
3. เปนผลจากการเลี้ยวเบนของคลื่นแสง
4. เปนผลจากการแทรกสอดของคลื่นแสง
32. ลูกบอลลูกหนึ่งตกนํ้าและสั่นขึ้นลงหลายรอบ ทําใหเกิด
คลื่นผิวนํ้าแผออกเปนรูปวงกลม เมื่อเวลาผานไป10 วินาที
คลื่นแผออกไปไดรัศมีสูงสุด 20 เมตร โดยมีระยะระหวาง
สันคลื่นที่ติดกันเทากับ2 เมตร จากขอมูลดังกลาวลูกบอล
สั่นขึ้นลงดวยความถี่เทาใด
1. 0.5 Hz 2. 1.0 Hz
3. 2.0 Hz 4. 4.0 Hz
33. ความเขมเสียง ใชบอกลักษณะใดของคลื่นเสียง
1. ระดับเสียง 2. คุณภาพเสียง
3. ความดังเสียง 4. บีตสของเสียง
34. เครื่องโซนารในเรือประมงไดรับสัญญาณสะทอนจาก
กนทะเล หลังจากสงสัญญาณไป 0.4 วินาที ถาอัตราเร็ว
ของเสียงในนํ้ามีคาประมาณ 1,500 เมตร/วินาที ทะเล
บริเวณนี้มีความลึกเทาใด
1. 100 เมตร 2. 200 เมตร
3. 300 เมตร 4. 400 เมตร
28.28. ปรากฏการณใดของคลื่นที่ทําใหคลื่นเกิดการเปลี่ยนแปลง
ความยาวคลื่นA
29.29. คลื่นชนิดใดมีความยาวคลื่นมากที่สุด
1. รังสีเอกซ 2. ไมโครเวฟA
30.30. ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง
1. คลื่นบางชนิดเคลื่อนที่ไดโดยไมตองอาศัยตัวกลางB
31.31. เพราะเหตุใดเมื่อสังเกตปลาที่วายอยูในนํ้า จะมองเห็นวา
ปลามีขนาดใหญกวาปกติB
32.32. ลูกบอลลูกหนึ่งตกนํ้าและสั่นขึ้นลงหลายรอบ ทําใหเกิด
คลื่นผิวนํ้าแผออกเปนรูปวงกลม เมื่อเวลาผานไป10 วินาทีB
33.33. ความเขมเสียง ใชบอกลักษณะใดของคลื่นเสียง
1. ระดับเสียง 2. คุณภาพเสียงA
34.34. เครื่องโซนารในเรือประมงไดรับสัญญาณสะทอนจาก
กนทะเล หลังจากสงสัญญาณไป 0.4 วินาที ถาอัตราเร็วB
35. เครื่องโซนารใชสมบัติใดของคลื่นในการทํางาน
1. การหักเห 2. การสะทอน
3. การเลี้ยวเบน 4. การแทรกสอด
36. การที่นายพรานแนบหูเพื่อฟงเสียงจากพื้น วิธีดังกลาวชวย
ใหไดยินเสียงไดอยางไร
1. เสียงแทรกสอดผานชองวางใตดินมาได
2. เสียงผานตัวกลางคืออากาศที่อยูบริเวณผิวดิน
3. เสียงจะเคลื่อนที่ไดดีผานตัวกลางที่เปนของแข็ง
4. การแนบฟงเสียงบนพื้นดินไมสามารถใชไดจริง
37. นักเรียนคิดวาในโรงงานอุตสาหกรรมควรมีการควบคุม
ระดับความเขมของเสียงหรือไม เพราะเหตุใด
1. ควร เพราะเปนการสรางมาตรฐานโรงงานที่กระทรวง
อุตสาหกรรมยอมรับ
2. ควร เพราะเสียงที่มีความเขมมากเกินไปจะเกิดมลพิษ
ทางเสียงซึ่งเปนอันตรายตอการไดยิน
3. ควร เพราะเสียงที่มีความเขมมากเกินไปจะมีพลังงานสูง
สงผลตอระบบทอนํ้าในโรงงาน
4. ไมควร เพราะการลดความเขมเสียง หมายถึง การลด
จํานวนเครื่องจักรในโรงงาน ซึ่งสงผลตอผลประกอบการ
38. เพราะเหตุใดจึงใชคลื่นไมโครเวฟในการสื่อสารระยะไกล
แทนการใชคลื่นวิทยุ
1. คลื่นวิทยุเคลื่อนที่ไดในระยะใกลเทานั้น
2. คลื่นวิทยุไมสะทอนในชั้นไอโอโนสเฟยร
3. คลื่นไมโครเวฟมีความถี่สูงกวาคลื่นวิทยุ
4. คลื่นไมโครเวฟไมสะทอนในชั้นบรรยากาศ
39. ขอใดตอไปนี้เรียงลําดับความยาวคลื่นจากมากไปนอย
ไดถูกตอง
1. แสง คลื่นวิทยุ รังสีเอกซ รังสีแกมมา
2. คลื่นวิทยุ อินฟราเรด แสง รังสีแกมมา
3. รังสีเอกซ อินฟราเรด อัลตราไวโอเลต คลื่นวิทยุ
4. อัลตราไวโอเลต อินฟราเรด ไมโครเวฟ รังสีแกมมา
40. คลื่นAเปนคลื่นที่มีความยาวคลื่นตํ่าสามารถทําใหแผนฟลม
ที่หอกระดาษไวเปนรอยได สมมติฐานในขอใดถูกตอง
1. คลื่น A คือ คลื่นกล
2. คลื่น A คือ คลื่นแสง
3. คลื่น A คือ รังสีเอกซ
4. คลื่น A คือ อินฟราเรด
35.35. เครื่องโซนารใชสมบัติใดของคลื่นในการทํางาน
1. การหักเห 2. การสะทอนC
36.36. การที่นายพรานแนบหูเพื่อฟงเสียงจากพื้น วิธีดังกลาวชวย
ใหไดยินเสียงไดอยางไรD
37.37. นักเรียนคิดวาในโรงงานอุตสาหกรรมควรมีการควบคุม
ระดับความเขมของเสียงหรือไม เพราะเหตุใดF
38.38. เพราะเหตุใดจึงใชคลื่นไมโครเวฟในการสื่อสารระยะไกล
แทนการใชคลื่นวิทยุD
39.39. ขอใดตอไปนี้เรียงลําดับความยาวคลื่นจากมากไปนอย
ไดถูกตองE
40.40. คลื่นAเปนคลื่นที่มีความยาวคลื่นตํ่าสามารถทําใหแผนฟลม
ที่หอกระดาษไวเปนรอยได สมมติฐานในขอใดถูกตองE
(12)
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6

More Related Content

What's hot

ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553Yutthana Sriumnaj
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3teerachon
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 

What's hot (20)

การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 

Viewers also liked

แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)Worrachet Boonyong
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3Teacher Sophonnawit
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นChakkrawut Mueangkhon
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 

Viewers also liked (20)

แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
เฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงานเฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงาน
 
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์สรุปสาระที่  3. เศรษฐศาสตร์
สรุปสาระที่ 3. เศรษฐศาสตร์
 

Similar to แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6

แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
ตัวอย่าง Web เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3 วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า)
ตัวอย่าง Web เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3  วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า)ตัวอย่าง Web เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3  วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า)
ตัวอย่าง Web เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3 วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า)amppbbird
 
ตัวอย่าง Web_เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3 วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า).pdf
ตัวอย่าง Web_เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3  วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า).pdfตัวอย่าง Web_เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3  วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า).pdf
ตัวอย่าง Web_เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3 วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า).pdfkevinman16311
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 
การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดทดลองดีจิตอล CPLD XL9572
การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดทดลองดีจิตอล CPLD XL9572การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดทดลองดีจิตอล CPLD XL9572
การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดทดลองดีจิตอล CPLD XL9572ศิริวรรณ คำภักดี
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6KruGift Girlz
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนAon Narinchoti
 

Similar to แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6 (17)

แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
ตัวอย่าง Web เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3 วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า)
ตัวอย่าง Web เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3  วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า)ตัวอย่าง Web เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3  วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า)
ตัวอย่าง Web เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3 วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า)
 
ตัวอย่าง Web_เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3 วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า).pdf
ตัวอย่าง Web_เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3  วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า).pdfตัวอย่าง Web_เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3  วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า).pdf
ตัวอย่าง Web_เนื้อหาคัมภีร์พิชิตข้อสอบ ม.3 เล่ม 3 วิชาคณิตศาสตร์ (30 หน้า).pdf
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
 
อันดับ
อันดับอันดับ
อันดับ
 
อันดับ
อันดับอันดับ
อันดับ
 
การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดทดลองดีจิตอล CPLD XL9572
การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดทดลองดีจิตอล CPLD XL9572การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดทดลองดีจิตอล CPLD XL9572
การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดทดลองดีจิตอล CPLD XL9572
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 

More from teerachon

แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2teerachon
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2teerachon
 

More from teerachon (9)

แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
 

แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6

  • 1. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ ชุดที่ ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด ระดับ พฤติกรรม การคิด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ ระดับพฤติกรรมการคิด รวม 1 ว 4.1 1 14-15 A ความรู ความจํา 1, 2, 14, 19, 25, 27-30, 33-34, 37-38 13 2 16-18 B ความเขาใจ 3-6, 9-10, 16-18, 20-21, 31-32, 44, 46 15 3 19-24 4 25-26 C การนําไปใช 12-13, 15, 22, 35-36, 39, 47-48 9 ว 4.2 1 1-8 D การวิเคราะห 7, 11, 23, 26, 45, 49 6 2 9-11 E การสังเคราะห 8, 24, 41-42 4 3 11-13 F การประเมินคา 40, 43, 50 3 ว 5.1 1 27-32 2 33-36 3 37 4 38-40 5 41 6 42 7 43 8 44-45 9 46-50 แบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนอานออก เขียนได คิดคํานวณเปน มุงใหเกิดทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต เตรียมตัวเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ และมีความสามารถในการแขงขันไดในอนาคต การจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับจุดมุงหมายดังกลาว จึงควรใหผูเรียนฝกฝนการนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริง สามารถคิดวิเคราะหและแกปญหาได ดังนั้นเพื่อเปนการเตรียมความพรอม ของผูเรียน ทางโครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด จึงไดจัดทําแบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด โดยดําเนินการวิเคราะหสาระการเรียนรูที่สําคัญตามที่ระบุไวในมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นป แลวนํามากําหนดเปนระดับพฤติกรรมการคิด เพื่อสรางแบบทดสอบที่มีคุณสมบัติ ดังน�้ แบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด ที่จัดทําโดย โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ประกอบดวย แบบทดสอบ 3 ชุด แตละชุดมีทั้งแบบทดสอบปรนัย และแบบทดสอบอัตนัย โดยวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด และระดับพฤติกรรมการคิดที่ สัมพันธกับแบบทดสอบไวอยางชัดเจน เพื่อใหผูสอนนําไปใชเปนเครื่องมือวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดชั้นปทุกขอ ตามระดับพฤติกรรมการคิด ที่ระบุไวในตัวชี้วัด วัดผลการเรียนรู เนนใหผูเรียนเกิดการคิด1 2 ผูสอนสามารถนําแบบทดสอบน�้ไปใชเปนเครื่องมือวัด และประเมินผล รวมทั้งเปนเครื่องบงชี้ความสําเร็จและรายงาน คุณภาพของผูเรียนแตละคน เพื่อเปนการเตรียมความพรอม ของนักเรียนใหมีความสามารถในดานการใชภาษา ดานการ คิดคํานวณ และดานเหตุผล สําหรับรองรับการประเมินผลผูเรียน ในระดับประเทศ (O-NET) และระดับนานาชาติ (PISA) ตอไป หมายเหตุ : มีเฉลยและคําอธิบายเชิงวิเคราะห อยูทายแบบทดสอบชุดที่ 3 (1)
  • 2. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล ชุดที่ ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด ระดับ พฤติกรรม การคิด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ ระดับพฤติกรรมการคิด รวม 2 ว 4.1 1 14-16 A ความรู ความจํา 1, 9, 14, 17, 21, 26, 28-29, 33 9 2 17-20 B ความเขาใจ 2-4, 15, 18, 22, 23, 30-32, 34, 41, 44-47 16 3 21-25 4 26-27 C การนําไปใช 5-6, 12, 19, 24, 35, 48 7 ว 4.2 1 1-8 D การวิเคราะห 10-11, 13, 16, 25, 36, 38, 49 8 2 9-11 E การสังเคราะห 7-8, 20, 27, 39-40, 43, 50 8 3 12-13 F การประเมินคา 37, 42 2 ว 5.1 1 28-32 2 33-36 3 37 4 38-40 5 41 6 42 7 43 8 44-45 9 46-50 3 ว 4.1 1 15-16 A ความรู ความจํา 1, 9, 18, 20-21, 28-29, 33, 38-39, 41, 42, 45-46 14 2 18-19 3 20-25 B ความเขาใจ 2-6, 10-11, 15-16, 22-23, 26, 30-31, 43, 47 16 4 26-27 ว 4.2 1 1-8 C การนําไปใช 19, 24, 34-35, 48 5 2 9-12 D การวิเคราะห 7, 12, 17, 36-37, 40, 49 7 3 13-14 E การสังเคราะห 8, 13, 25, 27, 32, 44, 50 7 ว 5.1 1 28-32 F การประเมินคา 14 1 2 33-37 3 38 4 39-40 5 41-42 6 43 7 44 8 45 9 46-50 (2)
  • 3. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 4. การกระจัดจากบานไปยังโรงเรียนมีคาเทาไร 1. 30 เมตร 2. 50 เมตร 3. 70 เมตร 4. 90 เมตร 5. รถยนต A เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งโดยมีความเร็วเพิ่มขึ้น 2 เมตร/วินาที2 ทุกๆ 1 วินาที เมื่อสิ้นวินาทีที่ 5 รถยนต จะมีความเร็วเทาไร 1. 5 เมตร/วินาที 2. 10 เมตร/วินาที 3. 15 เมตร/วินาที 4. 20 เมตร/วินาที 6. หากปลอยวัตถุใหตกลงมาในแนวดิ่งเมื่อเวลาผานไป4วินาที วัตถุจะมีความเรงเทาใด 1. 9.8 เมตร/วินาที2 2. 19.6 เมตร/วินาที2 3. 29.4 เมตร/วินาที2 4. 39.2 เมตร/วินาที2 7. จากภาพ ชวงเวลาใดที่วัตถุมีความเรงคงตัวเปนลบ 1. A 2. B 3. C 4. D 4.4. การกระจัดจากบานไปยังโรงเรียนมีคาเทาไร 1. 30 เมตร 2. 50 เมตรB 5.5. รถยนต A เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งโดยมีความเร็วเพิ่มขึ้น 2 เมตร/วินาทีB 6.6. หากปลอยวัตถุใหตกลงมาในแนวดิ่งเมื่อเวลาผานไป4วินาที วัตถุจะมีความเรงเทาใดB 7.7. D 1. ขอใดเปนปริมาณเวกเตอรทั้งหมด 1. แรง โมเมนต นํ้าหนัก 2. ระยะทาง การกระจัด เวลา 3. ความเร็ว ความเรง อุณหภูมิ 4. ความเขมแสง นํ้าหนัก ความเร็ว 2. ขอใดกลาวถูกตอง 1. อัตราเร็ว หมายถึง อัตราสวนของการกระจัดตอเวลา 2. ความเร็ว หมายถึง อัตราสวนของการกระจัดตอเวลา 3. อัตราเรง หมายถึง อัตราสวนของการกระจัดตอเวลา 4. ความเรง หมายถึง อัตราสวนของการกระจัดตอเวลา พิจารณาภาพแลวตอบคําถามขอ 3.-4. 1.1. ขอใดเปนปริมาณเวกเตอรทั้งหมด 1. แรง โมเมนต นํ้าหนักA 2.2. ขอใดกลาวถูกตอง 1. อัตราเร็ว หมายถึง อัตราสวนของการกระจัดตอเวลาA ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹àµçÁ 50 ตอนที่ 1 แบบปรนัย 4 ตัวเลือก แตละขอมีคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว จํานวน 50 ขอ ขอละ 1 คะแนน ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล …………………………………………………………………………………………….. เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………. สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ……………………………………….. โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹ÃÇÁ 60 แบบทดสอบว�ชา แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 ชุดที่ 1 โรงเรียน บาน 25 3015 ความเร็ว เวลา D C B A 3. ระยะทางจากบานไปยังโรงเรียนมีคาเทาไร 1. 30 เมตร 2. 50 เมตร 3. 70 เมตร 4. 90 เมตร 3.3. ระยะทางจากบานไปยังโรงเรียนมีคาเทาไร 1. 30 เมตร 2. 50 เมตรB ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา A B C D E F (3)
  • 4. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 8. เพราะเหตุใดเมื่อปลอยขนนกและกอนหินจากที่สูงในระดับ เดียวกัน วัตถุทั้งสองนั้นจึงตกถึงพื้นไมพรอมกัน 1. ขนนกมีพื้นที่ผิวมากกวา 2. ขนนกมีมวลนอยกวากอนหิน 3. ขนนกมีคุณสมบัติในการลอยตัวไดดี 4. มีแรงตานในอากาศกระทําและพยุงขนนกไว 9. หากผูกเชือกเขากับจุกยางแลวเหวี่ยงใหจุกยางเคลื่อนที่เปน วงกลมในระดับเหนือศีรษะดวยความเร็วคงตัว ขอใดถูกตอง 1. จุกยางมีความเร็วคงตัว 2. จุกยางมีความเรงเปนศูนย 3. แรงที่กระทําตอจุกยางมีทิศเขาสูศูนยกลางวงกลม 4. แรงที่กระทําตอจุกยางมีทิศเดียวกับความเร็วของ จุกยาง 10. ขวางลูกบอล m จากตึกสูง 10 เมตร ไปในแนวระดับ ดวยอัตราเร็ว 5 เมตรตอวินาที ลูกบอลจะตกสูพื้นดวย ความเรงเทาไร 1. 5 เมตร/วินาที2 2. 10 เมตร/วินาที2 3. 15 เมตร/วินาที2 4. 20 เมตร/วินาที2 11. ขอใดเปนลักษณะของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล 1. เตยปนจักรยานไปซื้อของ 2. ธีรรถนํ้าตนไมดวยสายยาง 3. วินนั่งบนบอลลูนที่ลอยขึ้นจากพื้นดิน 4. ตาขับรถยนตเลี้ยวโคงบริเวณทางโคง 12. เพราะเหตุใดนักกระโดดรมที่กระโดดลงมาจากเครื่องบิน จึงคอยๆ ตกลงมาอยางชาๆ 1. รมมีขนาดใหญ ทําใหตกลงมาอยางชาๆ 2. ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงมีคาลดลง 3. นักกระโดดรมถูกฝกใหลอยตัวไดเองในอากาศ 4. มีแรงตานในอากาศที่ปะทะกับรมทําใหความเรงมีคาลดลง 13. ดอกยางรถยนตมีความสําคัญตอการเคลื่อนที่ในทางโคง อยางไร 1. ชวยใหรถเขาโคงไดเร็วขึ้น 2. เพิ่มความถี่ในการเคลื่อนที่ของรถยนต 3. เพิ่มแรงเสียดทานซึ่งเปนแรงเขาสูศูนยกลาง 4. ลดแรงเสียดทานเพื่อใหวัตถุเขาโคงไดเร็วขึ้น 8.8. เพราะเหตุใดเมื่อปลอยขนนกและกอนหินจากที่สูงในระดับ เดียวกัน วัตถุทั้งสองนั้นจึงตกถึงพื้นไมพรอมกันE 9.9. หากผูกเชือกเขากับจุกยางแลวเหวี่ยงใหจุกยางเคลื่อนที่เปน วงกลมในระดับเหนือศีรษะดวยความเร็วคงตัว ขอใดถูกตองB 10.10. ขวางลูกบอล m จากตึกสูง 10 เมตร ไปในแนวระดับ ดวยอัตราเร็ว 5 เมตรตอวินาที ลูกบอลจะตกสูพื้นดวยB 11.11. ขอใดเปนลักษณะของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล 1. เตยปนจักรยานไปซื้อของD 12.12. เพราะเหตุใดนักกระโดดรมที่กระโดดลงมาจากเครื่องบิน จึงคอยๆ ตกลงมาอยางชาๆC 13.13. ดอกยางรถยนตมีความสําคัญตอการเคลื่อนที่ในทางโคง อยางไรC 14. สนามของแรงชนิดใดมีทิศตั้งฉากกับพื้นโลก 1. สนามไฟฟา 2. สนามแมเหล็ก 3. สนามโนมถวง 4. สนามแมเหล็กไฟฟา 15. ดาวเทียมโคจรรอบโลกไดอยางไร 1. มีตัวกลางอีเทอรอยูในอวกาศ 2. เปนผลเนื่องจากสนามโนมถวงของโลก 3. มีแรงขับจากเชื้อเพลิงภายในดาวเทียม 4. สมดุลระหวางแรงไฟฟาและแรงโนมถวงของดาวเทียม 16. การเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟาในลวดตัวนํามีลักษณะอยางไร 1. เปนการเคลื่อนที่ของโปรตอนในลวดตัวนํา 2. เปนการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในลวดตัวนํา 3. ทิศของกระแสไฟฟามีทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ของ โปรตอน 4. ทิศของกระแสไฟฟาสวนทางกับการเคลื่อนที่ของ อิเล็กตรอน 17. ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตอง 1. สนามไฟฟาเปนปริมาณเวกเตอร และมีทิศทางจาก ประจุบวกไปประจุลบเสมอ 2. วัตถุที่เปนฉนวนไฟฟาจะไมยอมใหประจุไฟฟาไหลผาน แตสามารถเกิดสนามไฟฟาไดถาถูกกระตุน 3. ประจุไฟฟาชนิดเดียวกัน ถาอยูใกลกันจะออกแรง ผลักกัน และเคลื่อนที่หางกันไปเรื่อยๆ เปนระยะอนันต 4. ถานําวัตถุที่เปนกลางทางไฟฟาวางคั่นระหวางประจุ บวกกับประจุลบ วัตถุนั้นจะไมสงผลใดๆ ตอสนามไฟฟา 18. วางอนุภาคอิเล็กตรอนลงในบริเวณซึ่งมีเฉพาะสนามไฟฟา ที่มีทิศไปทางดานขวา ดังรูป อนุภาคอิเล็กตรอนจะมีการ เคลื่อนที่เปนไปตามขอใด 1. เคลื่อนที่เปนเสนโคง เบนขึ้นขางบน 2. เคลื่อนที่เปนเสนโคง เบนลงขางลาง 3. เคลื่อนที่เปนเสนตรงขนานกับสนามไฟฟา ไปทางดานขวา 4. เคลื่อนที่เปนเสนตรงขนานกับสนามไฟฟา ไปทางดานซาย 14.14. สนามของแรงชนิดใดมีทิศตั้งฉากกับพื้นโลก 1. สนามไฟฟา 2. สนามแมเหล็กA 15.15. ดาวเทียมโคจรรอบโลกไดอยางไร 1. มีตัวกลางอีเทอรอยูในอวกาศC 16.16. การเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟาในลวดตัวนํามีลักษณะอยางไร 1. เปนการเคลื่อนที่ของโปรตอนในลวดตัวนําB 17.17. ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตอง 1. สนามไฟฟาเปนปริมาณเวกเตอร และมีทิศทางจากB 18.18. วางอนุภาคอิเล็กตรอนลงในบริเวณซึ่งมีเฉพาะสนามไฟฟา ที่มีทิศไปทางดานขวา ดังรูป อนุภาคอิเล็กตรอนจะมีการB (4)
  • 5. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 19. ขอใดกลาวถึงสนามแมเหล็กไดถูกตอง 1. สนามแมเหล็กพัฒนาขึ้นมาจากสนามไฟฟา 2. สนามแมเหล็กพุงจากสารแมเหล็กชนิดตางๆ เขาสู แมเหล็ก 3. สนามแมเหล็กพุงออกจากขั้วแมเหล็กใตไปยัง ขั้วแมเหล็กเหนือ 4. สนามแมเหล็กพุงออกจากขั้วแมเหล็กเหนือไปยัง ขั้วแมเหล็กใต 20. วัตถุชนิดใดไมถูกกระทําเมื่ออยูในสนามแมเหล็ก 1. ตะปู 2. ชอนสังกะสี 3. กระดาษสีเงิน 4. ลวดหนีบกระดาษ 21. เมื่อนําเข็มทิศมาวางใกลๆ กับกึ่งกลางแทงแมเหล็กที่ ตําแหนง ดังรูป เข็มทิศจะชี้ในลักษณะใด 1. 2. 3. 4. 22. หากตองการผลิตแมเหล็กชั่วคราวขึ้น สามารถทําไดดวย วิธีใด 1. นําแทงเหล็กวางในบริเวณที่มีสนามไฟฟา 2. นําแทงเหล็กสองแทงมาถูกกันเพื่อใหเกิดสนามไฟฟา 3. นําแมเหล็กมาติดกับแทงเหล็กที่ตองการทําใหเกิด อํานาจไฟฟา 4. นําลวดตัวนําพันรอบแทงโลหะแลวจายกระแสไฟฟา ผานลวดตัวนํา 23. ขอใดไมใชปจจัยที่มีผลตอการผลิตกระแสไฟฟาของไดนาโม 1. จํานวนรอบของขดลวด 2. ความเขมของสนามแมเหล็ก 3. ปริมาณไฟฟาที่จายแกไดนาโม 4. ความเร็วในการเคลื่อนที่ของแทงแมเหล็ก 19.19. ขอใดกลาวถึงสนามแมเหล็กไดถูกตอง 1. สนามแมเหล็กพัฒนาขึ้นมาจากสนามไฟฟาA 20.20. วัตถุชนิดใดไมถูกกระทําเมื่ออยูในสนามแมเหล็ก 1. ตะปู 2. ชอนสังกะสีB 21.21. เมื่อนําเข็มทิศมาวางใกลๆ กับกึ่งกลางแทงแมเหล็กที่ ตําแหนง ดังรูป เข็มทิศจะชี้ในลักษณะใดB 22.22. หากตองการผลิตแมเหล็กชั่วคราวขึ้น สามารถทําไดดวย วิธีใดC 23.23. ขอใดไมใชปจจัยที่มีผลตอการผลิตกระแสไฟฟาของไดนาโม 1. จํานวนรอบของขดลวดD 24. ขอใดแสดงการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟาในสนามแมเหล็ก ไดถูกตอง 1. 2. 3. 4. 25. แรงระหวางอนุภาคซึ่งอยูภายในนิวเคลียสจะประกอบดวย แรงอะไร 1. แรงนิวเคลียรเทานั้น 2. แรงนิวเคลียรและแรงไฟฟา 3. แรงนิวเคลียรและแรงดึงดูดระหวางมวล 4. แรงนิวเคลียร แรงไฟฟา และแรงดึงดูดระหวางมวล 26. เหตุใดโปรตอนซึ่งเปนอนุภาคบวกจึงสามารถอยูรวมกันได ในนิวเคลียสของอะตอม 1. มีแรงผลักจากอิเล็กตรอนโดยรอบ 2. แรงทางไฟฟาระหวางโปรตอนหักลางกันพอดี 3. แรงนิวเคลียรภายในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวอนุภาคไว 4. นิวตรอนในนิวเคลียสชวยลดแรงผลักระหวางโปรตอน 27. ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับคลื่นตามยาว 1. เปนคลื่นที่ไมตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ 2. เปนคลื่นที่เคลื่อนที่ไปตามแนวยาวของตัวกลาง 3. เปนคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นไดหลายแนว 4. เปนคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นในแนวเดียวกับ การเคลื่อนที่ของตัวกลาง 28. ปริมาณใดแปรผกผันกับความถี่คลื่น 1. อัตราเร็วคลื่น 2. คาบของคลื่น 3. การกระจัดของคลื่น 4. แอมพลิจูดของคลื่น 29. เมื่อโยนกอนหินลงไปในผิวนํ้านิ่งจะเกิดคลื่นนํ้าแผเปน วงกลม คลื่นดังกลาวจัดเปนคลื่นประเภทใด 1. คลื่นวงกลม 2. คลื่นตามยาว 3. คลื่นตามขวาง 4. ไมสามารถสรุปได 24.24. ขอใดแสดงการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟาในสนามแมเหล็ก ไดถูกตองE 25.25. แรงระหวางอนุภาคซึ่งอยูภายในนิวเคลียสจะประกอบดวย แรงอะไรA 26.26. เหตุใดโปรตอนซึ่งเปนอนุภาคบวกจึงสามารถอยูรวมกันได ในนิวเคลียสของอะตอมD 27.27. ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับคลื่นตามยาว 1. เปนคลื่นที่ไมตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่A 28.28. ปริมาณใดแปรผกผันกับความถี่คลื่น 1. อัตราเร็วคลื่นA 29.29. เมื่อโยนกอนหินลงไปในผิวนํ้านิ่งจะเกิดคลื่นนํ้าแผเปน วงกลม คลื่นดังกลาวจัดเปนคลื่นประเภทใดA N S N S NS N S x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x +q +q +q x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x +q N S เข็มทิศ (5)
  • 6. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 30. ขอใดกลาวถึงสมบัติของคลื่นไมถูกตอง 1. การหักเหของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานรอยตอ ระหวางตัวกลางที่มีสมบัติตางกัน 2. คลื่นที่มีความยาวคลื่นมากจะเกิดการเลี้ยวเบนของคลื่น ไดดีกวาคลื่นที่มีความยาวคลื่นนอย 3. การสะทอนของคลื่น มุมของคลื่นตกกระทบจะเทากับ มุมของคลื่นสะทอนเสมอ 4. ถาอัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนแปลงไป จะทําใหความถี่ ของคลื่นเปลี่ยนแปลงตามไปดวย 31. จากภาพ ความยาวของคลื่นมีคาเทาไร 1. 10 m 2. 20 m 3. 30 m 4. 40 m 32. จุมปากกาลงบนผิวนํ้า30 ครั้งในเวลา1 นาที คลื่นนํ้าจาก ปลายปากกาเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 0.05 เมตรตอวินาที จงหาคาบของคลื่นนํ้าดังกลาว 1. 2 วินาที 2. 5 วินาที 3. 10 วินาที 4. 15 วินาที 33. อัตราเร็วของคลื่นเสียงในอากาศขึ้นอยูกับปจจัยในขอใด 1. ความเขมเสียง 2. อุณหภูมิของอากาศ 3. ความถี่ของแหลงกําเนิด 4. ความเร็วของแหลงกําเนิด 34. สมบัติตามขอใดของคลื่นเสียงที่เกี่ยวของกับการเกิดบีตส 1. การหักเห 2. การสะทอน 3. การเลี้ยวเบน 4. การสอดแทรก 30.30. ขอใดกลาวถึงสมบัติของคลื่นไมถูกตอง 1. การหักเหของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผานรอยตอA 31.31. จากภาพ ความยาวของคลื่นมีคาเทาไร B 32.32. จุมปากกาลงบนผิวนํ้า30 ครั้งในเวลา1 นาที คลื่นนํ้าจาก ปลายปากกาเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 0.05 เมตรตอวินาทีB 33.33. อัตราเร็วของคลื่นเสียงในอากาศขึ้นอยูกับปจจัยในขอใด 1. ความเขมเสียงA 34.34. สมบัติตามขอใดของคลื่นเสียงที่เกี่ยวของกับการเกิดบีตส 1. การหักเหA 35. การเลนกีตารเมื่อตองการใหเกิดเสียงสูง เหตุใดจึงตอง กดสายใหสั้นลง 1. เพื่อปรับคุณภาพเสียง 2. เพื่อเพิ่มความถี่ในการสั่น 3. เพื่อเพิ่มความเขมของเสียง 4. เพื่อเพิ่มความยาวคลื่นเสียง 36. ขอใดเปนการใชประโยชนจากการสะทอนของคลื่น 1. การสงสัญญาณวิทยุ 2. การเลนเครื่องดนตรี 3. การตรวจสอบชั้นหิน 4. การแยกสีแสงผานสเปกตรัม 37. องคการอนามัยโลก ไดกําหนดระดับของความเขมเสียงที่ ปลอดภัยตอหูและจิตใจของผูฟงไวไมเกินกี่เดซิเบล และ ไดยินติดตอกันไมเกินกี่ชั่วโมง 1. ไมเกิน75 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกิน8 ชั่วโมง 2. ไมเกิน85 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกิน8 ชั่วโมง 3. ไมเกิน75 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกิน9 ชั่วโมง 4. ไมเกิน85 เดซิเบล และไดยินติดตอกันไมเกิน9 ชั่วโมง 38. คลื่นใดตอไปนี้ มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด 1. คลื่นวิทยุ 2. คลื่นแสง 3. คลื่นไมโครเวฟ 4. คลื่นอินฟราเรด 39. เพราะเหตุใดเราจึงไมสามารถมองเห็นรังสีจากรีโมตโทรทัศน 1. ใชคลื่นเสียงในการควบคุม 2. ใชสัญญาณคลื่นวิทยุ ซึ่งไมสามารถมองเห็นไดดวย ตาเปลา 3. ใชสัญญาณคลื่นไมโครเวฟ ซึ่งไมสามารถมองเห็นได ดวยตาเปลา 4. ใชสัญญาณคลื่นอินฟราเรด ซึ่งไมสามารถมองเห็นได ดวยตาเปลา 40. คลื่นแมเหล็กไฟฟามีความสําคัญอยางไร 1. ชวยในการไดยิน 2. ชวยขับเคลื่อนไฟฟา 3. ชวยในการสื่อสารผานสุญญากาศ 4. เชื่อมโยงสนามไฟฟาและสนามแมเหล็กเขาดวยกัน 35.35. การเลนกีตารเมื่อตองการใหเกิดเสียงสูง เหตุใดจึงตอง กดสายใหสั้นลงC 36.36. ขอใดเปนการใชประโยชนจากการสะทอนของคลื่น 1. การสงสัญญาณวิทยุC 37.37. องคการอนามัยโลก ไดกําหนดระดับของความเขมเสียงที่ ปลอดภัยตอหูและจิตใจของผูฟงไวไมเกินกี่เดซิเบล และA 38.38. คลื่นใดตอไปนี้ มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด 1. คลื่นวิทยุA 39.39. เพราะเหตุใดเราจึงไมสามารถมองเห็นรังสีจากรีโมตโทรทัศน 1. ใชคลื่นเสียงในการควบคุมC 40.40. คลื่นแมเหล็กไฟฟามีความสําคัญอยางไร 1. ชวยในการไดยินF การกระจัด (m) ระยะทาง (m)0 10 20 30 40 -30 30 (6)
  • 7. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 41. จากการทดลองปลอยรังสีแอลฟาและรังสีบีตาผาน สนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ เมื่อรังสีทั้งสองเบี่ยงเบนใน สนามแมเหล็กจะมีลักษณะตางกันหรือไม อยางไร 1. ไมแตกตางกัน เนื่องจากเบี่ยงเบนไปตามเสนทาง เดียวกัน 2. แตกตางกัน คือ เบี่ยงเบนในทิศทางตรงกันขาม แตมี รัศมีความโคงเทากัน 3. แตกตางกัน คือ เบี่ยงเบนในทิศทางเดียวกัน แตมีรัศมี ความโคงแตกตางกัน 4. แตกตางกัน คือ เบี่ยงเบนในทิศทางตรงกันขาม และ มีรัศมีความโคงแตกตางกัน 42. ขอใดกลาวไมถูกตอง 1. ปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชันหรือปฏิกิริยาลูกโซเหมาะที่จะ นํามาผลิตกระแสไฟฟา 2. โรงไฟฟานิวเคลียรสามารถผลิตพลังงานไฟฟาได ปริมาณมาก 3. ตนทุนจากมาตรการควบคุมดานความปลอดภัยของ การผลิตไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียรตํ่ากวาการผลิต ไฟฟาดวยพลังงานอื่น 4. การทํางานของเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรทําใหเกิด ของเสียที่เรียกวา กากกัมมันตรังสี ซึ่งเปนอันตราย ตอสิ่งมีชีวิตทุกชนิด 43. นักเรียนคิดวาพลังงานนิวเคลียรมีความสําคัญตอมนุษย หรือไม อยางไร 1. ไมมี เพราะเปนพลังงานที่อันตราย ไมสามารถ ควบคุมได 2. ไมมี เพราะเปนพลังงานที่ไมเสถียร อาจมีมาก เกินความจําเปน 3. มี เพราะเปนพลังงานทดแทนพลังงานธรรมชาติได ในอนาคต 4. มี เพราะเปนแหลงพลังงานที่สามารถใชประโยชน ไดในระยะยาว 44. รังสีชนิดใดสามารถทําใหอากาศแตกตัวไดดีที่สุด 1. รังสีบีตา 2. รังสีแอลฟา 3. รังสีแกมมา 4. รังสีอินฟราเรด 41.41. จากการทดลองปลอยรังสีแอลฟาและรังสีบีตาผาน สนามแมเหล็กสมํ่าเสมอ เมื่อรังสีทั้งสองเบี่ยงเบนในE 42.42. ขอใดกลาวไมถูกตอง 1. ปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชันหรือปฏิกิริยาลูกโซเหมาะที่จะE 43.43. นักเรียนคิดวาพลังงานนิวเคลียรมีความสําคัญตอมนุษย หรือไม อยางไรF 44.44. รังสีชนิดใดสามารถทําใหอากาศแตกตัวไดดีที่สุด 1. รังสีบีตาB 45. รังสีA สามารถเคลื่อนที่ผานกระดาษบางๆ ไดดี แตไมเกิด การเปลี่ยนแปลงเมื่อเคลื่อนที่ตั้งฉากผานสนามแมเหล็ก สมํ่าเสมอ รังสี A เปนรังสีชนิดใด 1. รังสีบีตา 2. รังสีแกมมา 3. รังสีแอลฟา 4. รังสีอินฟราเรด 46. การคนพบกัมมันตภาพรังสี เบ็กเคอเรลทราบไดอยางไรวา รอยดําจากฟลมไมไดเกิดจากรังสีเอกซ 1. ใชแผนฟลมที่ตางชนิดกัน 2. พบการเบี่ยงเบนในสนามแมเหล็กของรังสีดังกลาว 3. รอยดํามีความเขมมากกวารอยดําเนื่องจากรังสีเอกซ 4. เบ็กเคอเรลคนพบรังสีดังกลาวกอนมีการคนพบ รังสีเอกซ 47. การหาอายุของซากฟอสซิลโบราณมีการนําหลักการทาง กัมมันตภาพรังสีมาใชไดอยางไร 1. วัดสเปกตรัมของรังสีที่แผออกมา 2. ฉายรังสีไปยังฟอสซิลเพื่อวัดรองรอยอายุ 3. ใชเครื่องมือตรวจจับชนิดของรังสีที่แตกตางกัน 4. ใชหลักการสลายตัวครึ่งชีวิตของสารกัมมันตรังสี 48. สารกัมมันตรังสีชนิดใดนํามาใชในการรักษาโรคมะเร็ง ตอมไทรอยด 1. โคบอลต -60 2. ไอโอดีน -131 3. ไอโอดีน -132 4. แกลเลียม -67 49. ไอโซโทปใดสามารถเกิดการสลายตัวแลวไดกัมมันตภาพรังสี 1. 4 2He 2. 13 6C 3. 129 53 I 4. 60 27Co 50. นักเรียนคิดวาสารกัมมันตรังสีมีประโยชนในดานตางๆ หรือไม อยางไร 1. มี เพราะสามารถใชประโยชนในการบําบัดรักษาโรคได 2. มี เพราะรังสีจากสารกัมมันตรังสีเปนสารที่มีมูลคาทาง เศรษฐกิจ 3. ไมมี เพราะเปนสารอันตรายที่ควรหลีกเลี่ยง 4. ไมมี เพราะเปนสารที่ไมเสถียร และไมเปนประโยชน ในทางวิทยาศาสตร 45.45. รังสีA สามารถเคลื่อนที่ผานกระดาษบางๆ ไดดี แตไมเกิด การเปลี่ยนแปลงเมื่อเคลื่อนที่ตั้งฉากผานสนามแมเหล็กD 46.46. การคนพบกัมมันตภาพรังสี เบ็กเคอเรลทราบไดอยางไรวา รอยดําจากฟลมไมไดเกิดจากรังสีเอกซB 47.47. การหาอายุของซากฟอสซิลโบราณมีการนําหลักการทาง กัมมันตภาพรังสีมาใชไดอยางไรC 48.48. สารกัมมันตรังสีชนิดใดนํามาใชในการรักษาโรคมะเร็ง ตอมไทรอยดC 49.49. ไอโซโทปใดสามารถเกิดการสลายตัวแลวไดกัมมันตภาพรังสี 1.D 50.50. นักเรียนคิดวาสารกัมมันตรังสีมีประโยชนในดานตางๆ หรือไม อยางไรF (7)
  • 8. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 1. จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเสนตรงโดยใชเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ไดจุดบนแถบกระดาษ ดังรูป ซึ่งระยะหาง ระหวางจุดมีชวงเวลาเทากัน จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางความเรงและเวลา .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. มอเตอรชนิดหนึ่งทําใหใบพัดหมุนเปนวงกลมดวยความถี่40 เฮิรตซ หากเปดใหใบพัดหมุนเปนเวลา1 นาที ใบพัดจะหมุนได กี่รอบ และหมุนดวยคาบเทาไร .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. เพราะเหตุใดภายในมอเตอรจึงมีขดลวดและแมเหล็กเปนสวนประกอบ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 4. ใหนักเรียนวิเคราะหความหนาแนนของสนามแมเหล็กสําหรับแมเหล็กรูปเกือกมา พรอมแสดงเสนแรงแมเหล็ก .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 5. ไอโอดีน -128 มีคาครึ่งชีวิต 25 นาที ถาเริ่มตนมีไอโอดีน -128 อยู 400 มิลลิกรัม ไอโอดีน -128 จะลดลงเหลือ 50 มิลลิกรัม เมื่อเวลาผานไปกี่นาที .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 1.1. จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเสนตรงโดยใชเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ไดจุดบนแถบกระดาษ ดังรูป ซึ่งระยะหาง ระหวางจุดมีชวงเวลาเทากัน จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางความเรงและเวลาE 2.2. มอเตอรชนิดหนึ่งทําใหใบพัดหมุนเปนวงกลมดวยความถี่40 เฮิรตซ หากเปดใหใบพัดหมุนเปนเวลา1 นาที ใบพัดจะหมุนได กี่รอบ และหมุนดวยคาบเทาไรE 3. เพราะเหตุใดภายในมอเตอรจึงมีขดลวดและแมเหล็กเปนสวนประกอบ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................B 4. ใหนักเรียนวิเคราะหความหนาแนนของสนามแมเหล็กสําหรับแมเหล็กรูปเกือกมา พรอมแสดงเสนแรงแมเหล็ก ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................D 5.5. ไอโอดีน -128 มีคาครึ่งชีวิต 25 นาที ถาเริ่มตนมีไอโอดีน -128 อยู 400 มิลลิกรัม ไอโอดีน -128 จะลดลงเหลือ 50 มิลลิกรัม เมื่อเวลาผานไปกี่นาทีB ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹àµçÁ 10 ตอนที่ 2 แบบอัตนัย จํานวน 5 ขอ ขอละ 2 คะแนน t = 0 . . . . . . . (8)
  • 9. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 5. มาตรวัดความเร็วบนหนาปดรถยนตบอกคาความเร็วชนิดใด 1. ความเร็วตน 2. ความเร็วเฉลี่ย 3. ความเร็วปลาย 4. ความเร็วขณะหนึ่ง 6. หากตองการใหวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นในแนวดิ่งใหไดสูงที่สุด สามารถทําไดอยางไร (ไมคิดแรงตานในอากาศ) 1. เพิ่มขนาดของวัตถุ 2. ปรับรูปรางของวัตถุ 3. ลดปริมาณมวลของวัตถุ 4. เพิ่มความเร็วตนของวัตถุ 7. การทดลองเรื่องการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งควรระมัดระวัง เรื่องใดเปนพิเศษ 1. มวลของวัตถุ 2. นํ้าหนักของวัตถุ 3. แรงตานในอากาศ 4. อุณหภูมิในหองทดลอง 8. หากปลอยวัตถุที่มีมวลเทากันใหตกจากความสูงระดับ เดียวกันบนผิวดวงจันทร การเคลื่อนที่ของวัตถุนี้จะมีความ เหมือนหรือแตกตางจากการปลอยวัตถุบนพื้นโลกอยางไร 1. วัตถุบนดวงจันทรจะลอยขึ้นไปในอากาศ 2. ความเร็วของวัตถุที่ตกบนดวงจันทรมีคาคงตัว 3. ความเร็วของวัตถุที่ตกบนดวงจันทรมีคาไมคงตัว 4. วัตถุบนดวงจันทรตกลงดวยความเรงนอยกวาคา g 5.5. มาตรวัดความเร็วบนหนาปดรถยนตบอกคาความเร็วชนิดใด 1. ความเร็วตน 2. ความเร็วเฉลี่ยC 6.6. หากตองการใหวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นในแนวดิ่งใหไดสูงที่สุด สามารถทําไดอยางไร (ไมคิดแรงตานในอากาศ)C 7.7. การทดลองเรื่องการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งควรระมัดระวัง เรื่องใดเปนพิเศษE 8.8. หากปลอยวัตถุที่มีมวลเทากันใหตกจากความสูงระดับ เดียวกันบนผิวดวงจันทร การเคลื่อนที่ของวัตถุนี้จะมีความE 1. ขอใดไมใชลักษณะของวัตถุที่ตกอยางอิสระ 1. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งดวยความเรงคงที่ 9.8 m/s2 2. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งดวยความเร็วลดลงอยางคงที่ 3. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งดวยความเร็วเพิ่มขึ้นอยางคงที่ 4. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งถูกกระทําดวยแรงโนมถวงตลอด การเคลื่อนที่ 2. เมื่อปาวัตถุขึ้นไปในแนวดิ่ง วัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลง ความเร็วขณะเคลื่อนที่ขึ้นอยางไร 1. ความเร็วมีคาคงตัว 2. ความเร็วลดลงคงที่ 3. ความเร็วเพิ่มขึ้นคงที่ 4. ความเร็วมีคาเปนศูนย 3. เด็กคนหนึ่งวิ่งไปทางขวา 20 เมตร ใชเวลา 4 วินาที จากนั้นหันกลับหลังแลววิ่งอีก 2 เมตร ในเวลา 1 วินาที เด็กคนนี้มีความเร็วเฉลี่ยเทาใด 1. 3.6 m/s 2. 3.8 m/s 3. 6.0 m/s 4. 7.0 m/s 4. รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที แลวเรงเครื่องดวยความเรง5 เมตร/วินาที2 ภายในเวลา20 วินาที รถยนตคันนี้จะมีความเร็วสุดทายเปนกี่เมตร/วินาที 1. 100 เมตร/วินาที 2. 110 เมตร/วินาที 3. 120 เมตร/วินาที 4. 130 เมตร/วินาที 1.1. ขอใดไมใชลักษณะของวัตถุที่ตกอยางอิสระ 1. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งดวยความเรงคงที่ 9.8 m/sA 2.2. เมื่อปาวัตถุขึ้นไปในแนวดิ่ง วัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลง ความเร็วขณะเคลื่อนที่ขึ้นอยางไรB 3.3. เด็กคนหนึ่งวิ่งไปทางขวา 20 เมตร ใชเวลา 4 วินาที จากนั้นหันกลับหลังแลววิ่งอีก 2 เมตร ในเวลา 1 วินาทีB 4.4. รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที แลวเรงเครื่องดวยความเรง5 เมตร/วินาทีB ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล …………………………………………………………………………………………….. เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………. สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ……………………………………….. โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹ÃÇÁ 60 แบบทดสอบว�ชา แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 ชุดที่ 2 ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹àµçÁ 50 ตอนที่ 1 แบบปรนัย 4 ตัวเลือก แตละขอมีคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว จํานวน 50 ขอ ขอละ 1 คะแนน ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา A B C D E F (9)
  • 10. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 9. ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล ปริมาณใดมีคาคงตัว 1. การกระจัดในแนวดิ่ง 2. ความเร็วในแนวดิ่ง 3. การกระจัดในแนวระดับ 4. ความเร็วในแนวระดับ 10. ขอใดเปนการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย 1. เด็กไกวชิงชา 2. รถยนตเลี้ยวโคง 3. ลูกบอลกลิ้งตามพื้นเอียง 4. เรือดํานํ้าดิ่งลงในทะเล 11. ขอใดตอไปนี้ไมไดทําใหวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิก อยางงาย 1. แขวนลูกตุมดวยเชือกในแนวดิ่ง แลวผลักลูกตุมให แกวงเปนวงกลมในแนวดิ่ง 2. แขวนลูกตุมดวยเชือกในแนวดิ่ง แลวดึงลูกตุมออกมา จนเชือกทํามุมกับแนวดิ่งเล็กนอยจึงปลอยมือ 3. ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวดิ่ง โดยตรึงอีกดานของ สปริงไว จากนั้นดึงวัตถุใหสปริงยืดออกเล็กนอยแลว ปลอยมือ 4. ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวระดับ โดยตรึงอีกดานของ สปริงไว จากนั้นดึงวัตถุใหสปริงยืดออกเล็กนอยแลว ปลอยมือ 12. เพราะเหตุใดจึงตองใหลูกตุมนาฬกาแกวงดวยมุมเล็กๆ 1. เพื่อใหแกวงไดเร็วขึ้น 2. เพื่อเพิ่มความถี่ในการแกวงกวัด 3. เพื่อใหความถี่ในการแกวงกวัดมีคาคงตัว 4. เพื่อใหจํานวนคาบของการกวัดแกวงคอยๆ ลดลง 13. เพราะเหตุใดในการเล็งเปายิงธนูจึงตองเล็งใหสูงเหนือ เปาเล็กนอย 1. เปายิงอาจมีการเปลี่ยนตําแหนง 2. เพื่อเพิ่มแรงยิงในการยิงธนูใหแรงขึ้น 3. ธนูไมมีอุปกรณในการเล็งเปาที่แนนอน 4. ลูกธนูมีการโคงลงเมื่อเคลื่อนที่ในระยะไกล 14. ขอใดกลาวถึงสนามโนมถวงไมถูกตอง 1. การตกของวัตถุในสนามโนมถวง วัตถุจะเคลื่อนที่ดวย ความเรงคงที่ 2. สนามโนมถวงของโลกที่ระดับความสูงตางๆ จากผิวโลก จะมีคาเทากัน 3. สนามโนมถวง ณ ตําแหนงตางๆ บนผิวโลก มีคา ประมาณ 9.8 นิวตัน/กิโลกรัม 4. ไมวาจะปลอยวัตถุ ณ ตําแหนงใดที่สูงจากพื้นโลก วัตถุ จะตกลงสูพื้นโลกเสมอ 9.9. ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล ปริมาณใดมีคาคงตัว 1. การกระจัดในแนวดิ่ง 2. ความเร็วในแนวดิ่งA 10.10. ขอใดเปนการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย 1. เด็กไกวชิงชา 2. รถยนตเลี้ยวโคงD 11.11. ขอใดตอไปนี้ไมไดทําใหวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิก อยางงายD 12.12. เพราะเหตุใดจึงตองใหลูกตุมนาฬกาแกวงดวยมุมเล็กๆ 1. เพื่อใหแกวงไดเร็วขึ้นC 13.13. เพราะเหตุใดในการเล็งเปายิงธนูจึงตองเล็งใหสูงเหนือ เปาเล็กนอยD 14.14. ขอใดกลาวถึงสนามโนมถวงไมถูกตอง 1. การตกของวัตถุในสนามโนมถวง วัตถุจะเคลื่อนที่ดวยA 15. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม เมื่ออยูบนดวงจันทรจะมีนํ้าหนัก 16 นิวตัน อยากทราบวาสนามโนมถวงของดวงจันทร มีคาเทาใด 1. 1.6 m/s2 2. 3.2 m/s2 3. 6.4 m/s2 4. 9.6 m/s2 16. แรงในขอใดตอไปนี้เปนแรงชนิดเดียวกับแรงที่ทําใหใบไม รวงลงสูพื้น 1. แรงที่ทําใหอิเล็กตรอนอยูในอะตอมได 2. แรงที่ทําใหแผนแมเหล็กติดอยูบนตูเย็น 3. แรงที่ทําใหดาวเทียมอยูในวงโคจรรอบโลก 4. แรงที่ยกใหขดลวดตัวนําที่อยูระหวางขั้วแมเหล็กลอยขึ้น 17. ขอใดคือสมบัติของเสนแรงไฟฟา 1. ตั้งฉากกับเสนแรงแมเหล็ก 2. เคลื่อนที่ผานตัวนํา แตไมผานฉนวน 3. มีทิศทางจากขั้วไฟฟาลบไปขั้วไฟฟาบวก 4. มีทิศทางจากขั้วไฟฟาบวกไปขั้วไฟฟาลบ 18. ลําอนุภาคQ และR เมื่อเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็กB ที่มี ทิศพุงเขาตั้งฉากกับกระดาษจะมีการเบี่ยงเบน ดังรูป ถานํา อนุภาคทั้งสองไปวางไวในบริเวณที่มีสนามไฟฟาสมํ่าเสมอ แนวการเคลื่อนที่จะเปนอยางไร 1. เคลื่อนที่ไปทางเดียวกันในทิศทางตามเสนสนามไฟฟา 2. เคลื่อนที่ไปทางเดียวกันในทิศทางตรงขามกับเสนสนาม ไฟฟา 3. เคลื่อนที่ไปทิศตรงขามกัน โดยอนุภาคR ไปทางเดียว กับเสนสนามไฟฟา 4. เคลื่อนที่ไปทิศตรงขามกัน โดยอนุภาคQ ไปทางเดียว กับเสนสนามไฟฟา 19. จากหลักการของกระแสไฟฟาเหนี่ยวนํา สามารถนําไปใช สรางเครื่องมือชนิดใด 1. ไดนาโม 2. มอเตอร 3. ลําโพงไฟฟา 4. แกลวานอมิเตอร 15.15. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม เมื่ออยูบนดวงจันทรจะมีนํ้าหนัก 16 นิวตัน อยากทราบวาสนามโนมถวงของดวงจันทรB 16.16. แรงในขอใดตอไปนี้เปนแรงชนิดเดียวกับแรงที่ทําใหใบไม รวงลงสูพื้นD 17.17. ขอใดคือสมบัติของเสนแรงไฟฟา 1. ตั้งฉากกับเสนแรงแมเหล็กA 18.18. ลําอนุภาคQ และR เมื่อเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็กB ที่มี ทิศพุงเขาตั้งฉากกับกระดาษจะมีการเบี่ยงเบน ดังรูป ถานําB 19.19. จากหลักการของกระแสไฟฟาเหนี่ยวนํา สามารถนําไปใช สรางเครื่องมือชนิดใดC x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x Q R (10)
  • 11. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 20. การทดลองหลอดรังสีแคโทด เหตุใดจึงตองทําใหความดัน- อากาศภายในหลอดลดตํ่าลงเกือบเปนสุญญากาศ 1. เพื่อใหสังเกตรังสีแคโทดไดชัดเจน 2. เพื่อลดอันตรายจากแรงดันอากาศที่เพิ่มขึ้นในหลอดแกว 3. เพื่อลดการชนระหวางอนุภาคของรังสีแคโทดกับอากาศ 4. เพื่อไมใหสนามไฟฟาหรือสนามแมเหล็กที่ใชไปรบกวน การเคลื่อนที่ของรังสีแคโทด 21. สนามแมเหล็กไมมีผลตอสิ่งใด 1. ประจุไฟฟาที่หยุดนิ่ง 2. ประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่ 3. สารแมเหล็กที่หยุดนิ่ง 4. สารแมเหล็กที่เคลื่อนที่ 22. วางลวดตัวนําไวในสนามแมเหล็กดังรูป เมื่อใหกระแสไฟฟา ผานลวดตัวนํา จะเกิดแรงเนื่องจากสนามแมเหล็กกระทําตอ ลวดนี้ในทิศทางใด 1. ทิศชี้ลง 2. ทิศชี้ขึ้น 3. ทิศไปทางขั้วเหนือ 4. ทิศไปทางขั้วใต 23. จากแผนภาพแสดงลักษณะของเสนแรงแมเหล็กที่เกิดจาก แทงแมเหล็กสองแทงวางใกลกัน ขอใดบอกถึงขั้วของแมเหล็กที่ตําแหนง A, B, C และ D ไดอยางถูกตอง 1. A และ C เปนขั้วเหนือ สวน B และ D เปนขั้วใต 2. A และ D เปนขั้วเหนือ สวน B และ C เปนขั้วใต 3. B และ D เปนขั้วเหนือ สวน A และ C เปนขั้วใต 4. B และ C เปนขั้วเหนือ สวน A และ D เปนขั้วใต 20.20. การทดลองหลอดรังสีแคโทด เหตุใดจึงตองทําใหความดัน- อากาศภายในหลอดลดตํ่าลงเกือบเปนสุญญากาศE 21.21. สนามแมเหล็กไมมีผลตอสิ่งใด 1. ประจุไฟฟาที่หยุดนิ่งA 22.22. วางลวดตัวนําไวในสนามแมเหล็กดังรูป เมื่อใหกระแสไฟฟา ผานลวดตัวนํา จะเกิดแรงเนื่องจากสนามแมเหล็กกระทําตอB 23.23. จากแผนภาพแสดงลักษณะของเสนแรงแมเหล็กที่เกิดจาก แทงแมเหล็กสองแทงวางใกลกันB 24. เหตุใดภายในมอเตอรไฟฟาจึงตองมีแมเหล็กเปน องคประกอบ 1. เพื่อสรางสนามไฟฟาจากขดลวดตัวนํา 2. เพื่อสรางสนามแมเหล็กจากขดลวดตัวนํา 3. เพื่อยึดโครงสรางมอเตอรที่เปนเหล็กใหติดกัน 4. เพื่อทําใหขดลวดตัวนําภายในมอเตอรเกิดการหมุน เมื่อจายกระแสไฟฟาเขาไป 25. เพราะเหตุใดเมื่อตัดแทงแมเหล็กที่มีขั้วเหนือใตออกเปน ครึ่งหนึ่ง จึงยังคงไดแมเหล็กที่มีขั้วเหนือใตเสมอ 1. ขั้วเหนือใตของแมเหล็กกระจายตัวอยูทั่วทั้ง แทงแมเหล็ก 2. ขั้วเหนือใตของแมเหล็กเรียงตัวสลับกันตลอดทั้ง แทงแมเหล็ก 3. แมเหล็กมีสมบัติคูขั้ว ทําใหแมเหล็กแตละแทงตองมี สองขั้วเสมอ 4. แมเหล็กมีสนามแมเหล็กอยูรอบๆ สงผลใหแมเหล็กที่ ถูกตัดแบงจะมีอํานาจแมเหล็กเหมือนแทงเดิม 26. ขอใดกลาวถึงแรงนิวเคลียรไมถูกตอง 1. แรงนิวเคลียรตองเปนแรงดูดที่มีคานอยกวาแรงผลัก ทางไฟฟา 2. แรงที่ยึดโปรตอนทุกตัวและนิวตรอนทุกตัวไวดวยกันใน นิวเคลียส 3. แรงนิวเคลียรแบบเขม เปนแรงที่ดึงดูดอนุภาคมูลฐาน ใหรวมกันอยูได 4. แรงนิวเคลียรแบบออน เปนแรงที่เกี่ยวของกับปฏิกิริยา นิวเคลียรฟวชัน 27. แรงนิวเคลียรมีความสําคัญตอชีวิตของมนุษยหรือไม อยางไร 1. ไมสําคัญ เนื่องจากแรงนิวเคลียรกอใหเกิดอันตรายใน วงกวาง 2. ไมสําคัญ เนื่องจากแรงนิวเคลียรมีผลตอการคงอยูของ อะตอมเพียงอยางเดียว 3. สําคัญ เนื่องจากแรงนิวเคลียรมีสวนในกระบวนการผลิต ของโรงงานอุตสาหกรรมหลายประเภท 4. สําคัญ เนื่องจากแรงนิวเคลียรนําไปสูการสรางพลังงาน ในการนําไปใชประโยชนไดอยางมหาศาล 24.24. เหตุใดภายในมอเตอรไฟฟาจึงตองมีแมเหล็กเปน องคประกอบC 25.25. เพราะเหตุใดเมื่อตัดแทงแมเหล็กที่มีขั้วเหนือใตออกเปน ครึ่งหนึ่ง จึงยังคงไดแมเหล็กที่มีขั้วเหนือใตเสมอD 26.26. ขอใดกลาวถึงแรงนิวเคลียรไมถูกตอง 1. แรงนิวเคลียรตองเปนแรงดูดที่มีคานอยกวาแรงผลักA 27.27. แรงนิวเคลียรมีความสําคัญตอชีวิตของมนุษยหรือไม อยางไรE N S BA C D I (11)
  • 12. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 28. ปรากฏการณใดของคลื่นที่ทําใหคลื่นเกิดการเปลี่ยนแปลง ความยาวคลื่น 1. การหักเห 2. การสะทอน 3. การเลี้ยวเบน 4. การแทรกสอด 29. คลื่นชนิดใดมีความยาวคลื่นมากที่สุด 1. รังสีเอกซ 2. ไมโครเวฟ 3. อินฟราเรด 4. อัลตราไวโอเลต 30. ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง 1. คลื่นบางชนิดเคลื่อนที่ไดโดยไมตองอาศัยตัวกลาง 2. ความยาวคลื่นมีความสัมพันธแบบแปรผันตรงกับ ความถี่คลื่น 3. คลื่นเปนพลังงานที่สงผานพลังงานไปพรอมกับตัวกลาง ที่เคลื่อนที่ 4. การแทรกสอดของคลื่นและการเลี้ยวเบนของคลื่นเปน ปรากฏการณที่เกิดขึ้นคูกัน 31. เพราะเหตุใดเมื่อสังเกตปลาที่วายอยูในนํ้า จะมองเห็นวา ปลามีขนาดใหญกวาปกติ 1. เปนผลจากการหักเหของคลื่นแสง 2. เปนผลจากการสะทอนของคลื่นแสง 3. เปนผลจากการเลี้ยวเบนของคลื่นแสง 4. เปนผลจากการแทรกสอดของคลื่นแสง 32. ลูกบอลลูกหนึ่งตกนํ้าและสั่นขึ้นลงหลายรอบ ทําใหเกิด คลื่นผิวนํ้าแผออกเปนรูปวงกลม เมื่อเวลาผานไป10 วินาที คลื่นแผออกไปไดรัศมีสูงสุด 20 เมตร โดยมีระยะระหวาง สันคลื่นที่ติดกันเทากับ2 เมตร จากขอมูลดังกลาวลูกบอล สั่นขึ้นลงดวยความถี่เทาใด 1. 0.5 Hz 2. 1.0 Hz 3. 2.0 Hz 4. 4.0 Hz 33. ความเขมเสียง ใชบอกลักษณะใดของคลื่นเสียง 1. ระดับเสียง 2. คุณภาพเสียง 3. ความดังเสียง 4. บีตสของเสียง 34. เครื่องโซนารในเรือประมงไดรับสัญญาณสะทอนจาก กนทะเล หลังจากสงสัญญาณไป 0.4 วินาที ถาอัตราเร็ว ของเสียงในนํ้ามีคาประมาณ 1,500 เมตร/วินาที ทะเล บริเวณนี้มีความลึกเทาใด 1. 100 เมตร 2. 200 เมตร 3. 300 เมตร 4. 400 เมตร 28.28. ปรากฏการณใดของคลื่นที่ทําใหคลื่นเกิดการเปลี่ยนแปลง ความยาวคลื่นA 29.29. คลื่นชนิดใดมีความยาวคลื่นมากที่สุด 1. รังสีเอกซ 2. ไมโครเวฟA 30.30. ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตอง 1. คลื่นบางชนิดเคลื่อนที่ไดโดยไมตองอาศัยตัวกลางB 31.31. เพราะเหตุใดเมื่อสังเกตปลาที่วายอยูในนํ้า จะมองเห็นวา ปลามีขนาดใหญกวาปกติB 32.32. ลูกบอลลูกหนึ่งตกนํ้าและสั่นขึ้นลงหลายรอบ ทําใหเกิด คลื่นผิวนํ้าแผออกเปนรูปวงกลม เมื่อเวลาผานไป10 วินาทีB 33.33. ความเขมเสียง ใชบอกลักษณะใดของคลื่นเสียง 1. ระดับเสียง 2. คุณภาพเสียงA 34.34. เครื่องโซนารในเรือประมงไดรับสัญญาณสะทอนจาก กนทะเล หลังจากสงสัญญาณไป 0.4 วินาที ถาอัตราเร็วB 35. เครื่องโซนารใชสมบัติใดของคลื่นในการทํางาน 1. การหักเห 2. การสะทอน 3. การเลี้ยวเบน 4. การแทรกสอด 36. การที่นายพรานแนบหูเพื่อฟงเสียงจากพื้น วิธีดังกลาวชวย ใหไดยินเสียงไดอยางไร 1. เสียงแทรกสอดผานชองวางใตดินมาได 2. เสียงผานตัวกลางคืออากาศที่อยูบริเวณผิวดิน 3. เสียงจะเคลื่อนที่ไดดีผานตัวกลางที่เปนของแข็ง 4. การแนบฟงเสียงบนพื้นดินไมสามารถใชไดจริง 37. นักเรียนคิดวาในโรงงานอุตสาหกรรมควรมีการควบคุม ระดับความเขมของเสียงหรือไม เพราะเหตุใด 1. ควร เพราะเปนการสรางมาตรฐานโรงงานที่กระทรวง อุตสาหกรรมยอมรับ 2. ควร เพราะเสียงที่มีความเขมมากเกินไปจะเกิดมลพิษ ทางเสียงซึ่งเปนอันตรายตอการไดยิน 3. ควร เพราะเสียงที่มีความเขมมากเกินไปจะมีพลังงานสูง สงผลตอระบบทอนํ้าในโรงงาน 4. ไมควร เพราะการลดความเขมเสียง หมายถึง การลด จํานวนเครื่องจักรในโรงงาน ซึ่งสงผลตอผลประกอบการ 38. เพราะเหตุใดจึงใชคลื่นไมโครเวฟในการสื่อสารระยะไกล แทนการใชคลื่นวิทยุ 1. คลื่นวิทยุเคลื่อนที่ไดในระยะใกลเทานั้น 2. คลื่นวิทยุไมสะทอนในชั้นไอโอโนสเฟยร 3. คลื่นไมโครเวฟมีความถี่สูงกวาคลื่นวิทยุ 4. คลื่นไมโครเวฟไมสะทอนในชั้นบรรยากาศ 39. ขอใดตอไปนี้เรียงลําดับความยาวคลื่นจากมากไปนอย ไดถูกตอง 1. แสง คลื่นวิทยุ รังสีเอกซ รังสีแกมมา 2. คลื่นวิทยุ อินฟราเรด แสง รังสีแกมมา 3. รังสีเอกซ อินฟราเรด อัลตราไวโอเลต คลื่นวิทยุ 4. อัลตราไวโอเลต อินฟราเรด ไมโครเวฟ รังสีแกมมา 40. คลื่นAเปนคลื่นที่มีความยาวคลื่นตํ่าสามารถทําใหแผนฟลม ที่หอกระดาษไวเปนรอยได สมมติฐานในขอใดถูกตอง 1. คลื่น A คือ คลื่นกล 2. คลื่น A คือ คลื่นแสง 3. คลื่น A คือ รังสีเอกซ 4. คลื่น A คือ อินฟราเรด 35.35. เครื่องโซนารใชสมบัติใดของคลื่นในการทํางาน 1. การหักเห 2. การสะทอนC 36.36. การที่นายพรานแนบหูเพื่อฟงเสียงจากพื้น วิธีดังกลาวชวย ใหไดยินเสียงไดอยางไรD 37.37. นักเรียนคิดวาในโรงงานอุตสาหกรรมควรมีการควบคุม ระดับความเขมของเสียงหรือไม เพราะเหตุใดF 38.38. เพราะเหตุใดจึงใชคลื่นไมโครเวฟในการสื่อสารระยะไกล แทนการใชคลื่นวิทยุD 39.39. ขอใดตอไปนี้เรียงลําดับความยาวคลื่นจากมากไปนอย ไดถูกตองE 40.40. คลื่นAเปนคลื่นที่มีความยาวคลื่นตํ่าสามารถทําใหแผนฟลม ที่หอกระดาษไวเปนรอยได สมมติฐานในขอใดถูกตองE (12)