SlideShare a Scribd company logo
~ 1 ~
ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 1
ข้อ
มาตรฐานตัวชี้วัด
มฐ พ 1.1 มฐ พ 2.1 มฐ พ 3.1 มฐ พ 3.2 มฐ พ 4.1 มฐ พ 5.1
1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3
1 
2  
3  
4  
5  
6  
7  
8  
9  
10  
11     
12     
13     
14     
15     
16   
17   
18    
19     
20   
21   
22   
23   
24     
25   
26     
27     
28       
29    
~ 2 ~
ข้อ
มาตรฐานตัวชี้วัด
มฐ พ 1.1 มฐ พ 2.1 มฐ พ 3.1 มฐ พ 3.2 มฐ พ 4.1 มฐ พ 5.1
1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3
30     
31   
32       
33      
34   
35       
36       
37   
38   
39   
40   
41   
42   
43      
44      
45   
46   
47   
48      
49    
50       
51   
52      
53    
54    
55     
56  
57  
58  
59   
60 

~ 3 ~
ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง
1. การที่เพศชายมีการหลั่งอสุจิครั้งแรกและเพศหญิงเริ่มมีประจาเดือนเป็นครั้งแรก แสดงถึง
การเจริญเติบโตอย่างไร
1. แรงขับทางเพศ 2. แรงกระตุ้นทางเพศ
3. การมีวุฒิภาวะทางเพศ 4. การผลิตฮอร์โมนของร่างกาย
2. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายของวัยรุ่น
1. หญิงมีขนรักแร้ ชายมีทรวดทรงเพิ่มขึ้น
2. หญิงมีเสียงแตก ชายมีกล้ามเนื้อใหญ่ขึ้น
3. หญิงมีประจ้าเดือน ชายมีการหลั่งน้้าอสุจิ
4. หญิงมีกล้ามเนื้อใหญ่ขึ้น ชายมีไขมันเพิ่มขึ้น
3. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสติปัญญาจะพัฒนาสูงขึ้นจนมีความคิดเป็นรูปธรรม หมายถึงข้อใด
1. ความสามารถทางการสื่อสาร
2. ความสามารถทางการจินตนาการ
3. ความสามารถทางการคิดแบบนามธรรม
4. ความสามารถทางการเรียนรู้เข้าใจเหตุการณ์ต่างๆ อย่างลึกซึ้ง
4. ข้อใดกล่าวถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตได้ตามศักยภาพ
1. อาหารมื้อเย็นเป็นอาหารที่ส้าคัญของวัยเรียน
2. ถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจะมีการเจริญเติบโตได้ตามศักยภาพ
3. ลักษณะทางพันธุกรรมสามารถปรับเปลี่ยนเพื่อให้เด็กมีพัฒนาการได้
4. สิ่งแวดล้อมเมื่ออยู่ในครรภ์มารดา ไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
5. ปัจจัยใดมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น
1. พันธุกรรม 2. สัมพันธภาพ
3. บุคคลรอบข้าง 4. จิตใจและอารมณ์
90
1สุขศึกษาและพลศึกษา ชุดที่ 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
~ 4 ~
6. คาว่า “หญิงไทยควรรักนวลสงวนตัว รักษาพรหมจรรย์ ไม่ชิงสุกก่อนห่าม” เป็นคาที่แสดงให้เห็นถึง
สิ่งใด
1. เจตคติทางเพศ 2. บทบาททางเพศ
3. การกดขี่ทางเพศ 4. ความเสมอภาคทางเพศ
7. สิ่งใดเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้วัยรุ่นนิยมแต่งกายให้ดูโดดเด่นในสายตาผู้อื่น
1. ต้องการเลียนแบบดารานักแสดง
2. ต้องการเลียนแบบคนที่ตนเองชื่นชอบ
3. ต้องการเรียกร้องความสนใจจากคนรอบข้าง
4. ต้องการการยอมรับจากเพื่อนและเพศตรงข้าม
8. นักเรียนคิดว่า สื่อชนิดใดมีอิทธิพลต่อการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นมากที่สุด
1. วิทยุ 2. นิตยสาร
3. โทรทัศน์ 4. อินเทอร์เน็ต
9. ผลกระทบที่เป็นปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนที่เป็นปัญหาสังคมในปัจจุบันมากที่สุดคือข้อใด
1. ปัญหากามโรค 2. ปัญหาการหนีเรียน
3. ปัญหาการเรียนตกต่้า 4. ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
10. ถ้าเพื่อนชายชวนไปดูหนังรอบดึกสองต่อสอง นักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไร
1. ปฏิเสธอย่างตรงไปตรงมา 2. ให้เพื่อนชายชวนเพื่อนที่มีคู่รักไปอีกคู่
3. ไม่ปฏิเสธเพราะกลัวเพื่อนชายไม่พอใจ 4. ลองไปก่อนแล้วค่อยหาโอกาสกลับบ้าน
11. ข้อใดแสดงให้เห็นว่าสังคมไทยให้ความเสมอภาคทางเพศมากที่สุด
1. หญิงที่แต่งงานแล้วมีสิทธิใช้นามสกุลเดิม
2. การก้าหนดสิทธิเท่าเทียมกันของชายและหญิง
3. หญิงที่แต่งงานแล้วมีสิทธิใช้นามสกุลของสามี
4. หญิงที่จดทะเบียนสมรสแล้วสามารถใช้นางสาวได้
12. ความเสมอภาคทางเพศ เป็นเรื่องของความเท่าเทียมกันของเพศชายและเพศหญิงในเรื่องใด
1. ทางสังคม 2. ทางกฎหมาย
3. ทางเศรษฐกิจ 4. ทางสังคมและทางกฎหมาย
13. ข้อใดเป็นความเสมอภาคทางเพศที่ถูกเรียกร้องให้มีการแก้ไขในปัจจุบัน
1. การยินยอมให้เพศหญิงมีอ้านาจเหนือกว่าเพศชาย
2. การยินยอมให้เพศหญิงมีสามีได้หลายคนในเวลาเดียวกัน
3. การยินยอมให้เพศหญิงดื่มเหล้า สูบบุหรี่ได้เทียบเท่ากับเพศชาย
4. การยินยอมให้เพศหญิงที่แต่งงานแล้วใช้ค้าน้าหน้าเป็นนางสาวได้
~ 5 ~
14. การวางตัวของนักเรียนหญิงในข้อใดไม่เหมาะสมที่สุด
1. แต่งกายล่อแหลม 2. อยู่ตามล้าพังกับเพื่อนชาย
3.ให้ฝ่ายชายออกค่าอาหารให้ 4. แสดงกิริยาสนิทสนมกับเพื่อนชาย
15. การวางตัวต่อเพศตรงข้ามอย่างถูกต้อง เหมาะสม มีความสาคัญอย่างไร
1. เพื่อความสงบสุขในสังคม 2. เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้อื่น
3. เพื่อรักษามิตรภาพให้ยาวนาน 4. เพื่อมิให้เกิดเรื่องทะเลาะเบาะแว้งกัน
16. ผู้ที่มีสุขภาพจิตดีก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร
1. บุคลิกภาพดี 2. ร่าเริง แจ่มใส
3. ใบหน้าดูอ่อนเยาว์ 4. ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
17. เพราะเหตุใด จึงกล่าวว่า “จิตใจที่แจ่มใสย่อมอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง”
1. เพราะสุขภาพกายส่งผลต่อสุขภาพจิต
2. เพราะสุขภาพจิตส่งผลต่อสุขภาพกาย
3. เพราะสุขภาพจิตมีความส้าคัญกว่าสุขภาพกาย
4. เพราะสุขภาพกายและสุขภาพจิตมีความสัมพันธ์กัน
18. พฤติกรรมใดไม่ใช่องค์ประกอบในการสร้างความสมดุลระหว่างสุขภาพกายและสุขภาพจิต
1. ใช้เป็น 2. สมาธิเป็น
3. สังคมเป็น 4. กินเป็น อยู่เป็น
19. ปัญหาสุขภาพจิตก่อให้เกิดอาการผิดปกติทางร่างกายยกเว้นข้อใด
1. ฉุนเฉียว โมโหง่าย
2. หายใจติดขัด ใจสั่น
3. อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง
4. ยิ้ม และหัวเราะตลอดเวลา
20. หากปล่อยให้ตนเองมีความเครียดสะสมไว้เป็นเวลานาน จะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยที่รุนแรงได้ยกเว้น
ข้อใด
1. โรคจิต 2. โรคเกาต์
3. โรคกระเพาะอาหาร 4. โรคประสาทบางชนิด
21. เพราะเหตุใด วัยรุ่นจึงควรออกกาลังกายเป็นประจา
1. เพราะวัยรุ่นเป็นวัยที่ต้องการใช้ก้าลัง
2. เพราะวัยรุ่นต้องการเป็นที่ยอมรับในกลุ่มเพื่อน
3. เพราะจะท้าให้ดูโดดเด่นในสายตาของเพศตรงข้าม
4. เพราะช่วยกระตุ้นให้ร่างกายเจริญเติบโตอย่างเต็มที่
~ 6 ~
22. ผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายดีจะมีผลต่อสุขภาพอย่างไร
1. ท้างานเหนื่อยช้า หายเหนื่อยช้า 2. ท้างานเหนื่อยเร็ว หายเหนื่อยช้า
3. ท้างานเหนื่อยช้า หายเหนื่อยเร็ว 4. ท้างานเหนื่อยเร็ว หายเหนื่อยเร็ว
23. สมรรถภาพทางกายด้านใดมีประโยชน์ในชีวิตประจาวันมากที่สุด
1. ความอดทน 2. ความอ่อนตัว
3. ความคล่องตัว 4. ความสมดุลหรือการทรงตัว
24. ธเนศ ยืนตรง มือทั้งสองประสานกันไว้ที่ท้ายทอย ค่อยๆ ก้มลงด้านหน้า ให้ศอกทั้งสองแตะที่เข่า ขาทั้ง
สองเหยียดตรง เป็นการวัดสมรรถภาพด้านใด
1. ความอดทน 2. ความอ่อนตัว
3. ความแข็งแรง 4. พลังกล้ามเนื้อ
25. ใครเลือกเทคนิควิธีการปรับปรุงและพัฒนาสมรรถภาพทางกายของตนเองได้อย่างเหมาะสม
1. บัว ออกก้าลังกายทุกครั้งเมื่อมีโอกาส
2. ปัท จ้างครูฝึกมาสอนที่บ้าน เพื่อให้มีสมรรถภาพทางกายดีขึ้น
3. วุ้น ออกก้าลังกายด้วยการปั่นจักรยานวันละหลายสิบกิโลเมตร
4. นัท เลือกเล่นกีฬาหลายๆ ประเภท โดยค้านึงถึงความสามารถของตนเอง
26. การกระทาของบุคคลในข้อใดเห็นได้ชัดว่า เริ่มเกิดความเครียดแล้ว
1. เอ รู้สึกเบื่ออาหาร 2. บี อยู่กลางแจ้งได้ไม่นาน
3. ซี รับประทานอาหารบ่อยมาก 4. ดี อารมณ์เสียบ่อยๆ และหงุดหงิดง่าย
27. ข้อใดคือลักษณะอาการของผู้มีปัญหาสุขภาพจิต
1. รู้จักควบคุมอารมณ์ 2. รู้จักและเข้าใจตนเอง
3. ไม่สามารถเผชิญกับปัญหาได้ 4. มีสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลอื่น
28. คนที่มักอารมณ์ไม่ดีเป็นประจาจะส่งผลกระทบต่อร่างกายหลายประการยกเว้นข้อใด
1. ปวดท้อง 2. ปวดศีรษะ
3. ความดันโลหิตสูง 4. ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
29. การปฏิบัติตนในข้อใดไม่ใช่วิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครียด
1. นั่งสมาธิ 2. ฟังเพลงเบาๆ
3. นวดแผนไทย 4. เล่นเกมคอมพิวเตอร์
30. การออกกาลังกายช่วยผ่อนคลายความเครียดได้อย่างไร
1. ท้าให้รู้สึกสดชื่น 2. ท้าให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย
3. ท้าให้เกิดความสนุกสนาน 4. ท้าให้ลืมความเครียดไปชั่วขณะหนึ่ง
~ 7 ~
31. การตัดสินใจไปใช้บริการที่สถานบริการสุขภาพมีหลายประการยกเว้นข้อใด
1. ค่าใช้จ่าย 2. อาการของโรค
3. ความสะดวกสบาย 4. ยาและเครื่องมือแพทย์
32. หากนักเรียนมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรงควรไปใช้สถานบริการสุขภาพในข้อใด
1. คลินิก 2. ร้านขายยา
3. โรงพยาบาล 4. สถานีอนามัย
33. ปัจจัยสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่ควรคานึงเพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการสุขภาพ คือข้อใด
1. ระยะเวลาในการเดินทาง 2. ความปลอดภัยในการรักษา
3. สวัสดิการในการรักษาพยาบาล 4. ความสะดวกสบายของผู้ช่วยเหลือ
34. สถานบริการสุขภาพในข้อใด จัดเป็นการบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ
1. สถานีอนามัย 2. โรงพยาบาลศูนย์
3. โรงพยาบาลมหาราช 4. สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
35. บุคคลซึ่งเป็นข้าราชการ ควรเลือกใช้บริการทางสุขภาพในข้อใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
1. ระบบประกันสังคม 2. หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
3. การประกันสุขภาพภาคเอกชน 4. สวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ
36. การนาเทคโนโลยีทางสุขภาพมาช่วยก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดูแลสุขภาพต่างๆ ยกเว้นข้อใด
1. การสร้างเสริมสุขภาพ 2. การช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุ
3. การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย 4. การป้องกันโรครักษาโรคภัยไข้เจ็บ
37. ข้อใดไม่ใช่การแสดงถึงการใช้เทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพ
1. การผลิตหุ่นยนต์
2. การผลิตวัคซีนป้องกันโรค
3. การผลิตผลิตภัณฑ์ส้าหรับการออกก้าลังกาย
4. การใช้ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อช่วยในการรักษาโรค
38. ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบด้านบวกของเทคโนโลยีที่มีต่อสุขภาพ
1. เกิดการเรียนรู้ทางด้านสุขภาพในรูปแบบใหม่
2. ท้าให้รูปแบบของผลิตภัณฑ์มีความแปลกใหม่
3. เทคโนโลยีทางสุขภาพสร้างโอกาสให้คนพิการ
4. การใช้เทคโนโลยีเกี่ยวกับสุขภาพจะได้รายได้สูง
39. ข้อใดเป็นผลจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ที่ใช้ในการรักษาโรค
1. เครื่องให้ยาสลบ 2. เครื่องตรวจสารเคมี
3. เครื่องช่วยการได้ยิน 4. เครื่องตรวจคลื่นความถี่
~ 8 ~
40. ตัวอย่างความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ที่ใช้เลเซอร์ในการผ่าตัดก่อให้เกิดผลดีอย่างไร
1. ลดภาวะแทรกซ้อนเพียงเล็กน้อย 2. ความสะดวกของแพทย์และผู้ป่วย
3. เลือดออกน้อยมากระหว่างการผ่าตัด 4. ใช้รักษาโรคของต่อมไทรอยด์ให้หายขาด
41. หากนักเรียนมีเพื่อนติดสารเสพติด นักเรียนควรทาอย่างไร
1. ไม่พูดกับเพื่อน 2. เลิกคบกับเพื่อน
3. แสดงท่าทางรังเกียจเพื่อน 4. แนะน้าให้เพื่อนเลิกเสพสารเสพติด
42. ข้อใดคือวิธีการช่วยเหลือผู้ติดสารเสพติดให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
1. ไม่พูดคุยกับผู้ป่วย
2. ห้ามผู้ป่วยออกจากบ้าน
3. ห้ามผู้ป่วยเสพสารเสพติดโดยเด็ดขาด
4. ยอมรับและให้ก้าลังใจผู้ป่วยในการเลิกเสพสารเสพติด
43. นักเรียนไปทารายงานบ้านเพื่อน และเพื่อนชักชวนให้นักเรียนสูบบุหรี่ นักเรียนจะพูดว่าอย่างไร
1. “ เอาไว้ค่อยสูบวันหลัง ” 2. “ ดีเหมือนกัน เราก้าลังต้องการอยู่พอดี ”
3. “ ถ้ามีหมากฝรั่งระงับกลิ่น เราถึงจะสูบ ” 4. “ เราให้สัญญากับแม่ไว้ว่าจะไม่สูบบุหรี่ ”
44. การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดมีประโยชน์ต่อสังคม ยกเว้นข้อใด
1. ท้าให้สังคมสงบ 2. ช่วยลดปัญหาอาชญากรรม
3. ท้าให้มีผู้ใช้แรงงานเพิ่มมากขึ้น 4. ให้โอกาสผู้กระท้าผิดได้กลับสู่สังคม
45. ข้อใดเป็นการป้องกันการติดสารเสพติดที่เริ่มต้นจากครอบครัว
1. ช่วยเหลือผู้ติดสารเสพติดให้เข้ารับการบ้าบัดรักษา
2. ช่วยกันสร้างความร่วมมือในการป้องกันสารเสพติด
3. สร้างความรัก ความอบอุ่น ความเข้าใจในครอบครัว
4. คบเพื่อนที่ดีไม่ชักชวนกันไปสู่อบายมุขและสิ่งเสพติด
46. เมื่อพบเห็นเพื่อนกาลังจะเข้าไปในแหล่งอบายมุข อันดับแรกที่นักเรียนควรทาคือข้อใด
1. รีบโทรแจ้งต้ารวจ
2. รีบแจ้งให้ครูอาจารย์ทราบทันที
3. โทรบอกคุณพ่อคุณแม่ของเพื่อนให้มารับ
4. ห้ามเพื่อน และพยายามพาเพื่อนออกจากสถานที่ดังกล่าว
47. เมื่อนักเรียนพบเห็นกลุ่มบุคคลแข่งรถจักรยานยนต์บนท้องถนน สิ่งแรกที่ควรทาคือข้อใด
1. มองดูด้วยความสนุกสนาน
2. ส่งเสียงเชียร์คันที่เราคิดว่าชนะ
3. รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ต้ารวจให้เร็วที่สุด
4. น้ารถจักรยานยนต์มาแข่งกับเขาบ้าง
~ 9 ~
48. หากนักเรียนต้องการพักผ่อน นักเรียนควรไปสถานที่ใด เพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยง
1. สนามแข่งรถ 2. สถานเริงรมย์
3. สวนสาธารณะ 4. ร้านคอมพิวเตอร์
49. ทักษะการปฏิเสธในข้อใดมีความสาคัญในการหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยงมากที่สุด
1. ปฏิเสธที่จะใช้สารเสพติด 2. ปฏิเสธที่จะใช้อินเทอร์เน็ต
3. ปฏิเสธที่จะไปมั่วสุมเล่นการพนัน 4. ปฏิเสธที่จะแข่งขันรถจักรยานยนต์
50. สิ่งใดที่ควรนามาใช้ร่วมกับทักษะการคิด ตัดสินใจ และแก้ปัญหา เพื่อหลีกเลี่ยงต่อสถานการณ์เสี่ยง
ต่างๆ
1. ความรอบรู้ และความกล้าหาญ 2. ความมั่นคง และความกล้าหาญ
3. ความรอบรู้ และประสบการณ์ชีวิต 4. ความมุ่งมั่น และประสบการณ์ชีวิต
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม
นักเรียนต้องการเล่นกีฬาฟุตบอล แต่ไม่ทราบถึงกฎ กติกา วิธีการเล่น หรือการแข่งขัน
อย่างชัดเจน จึงไปสอบถามผู้เชี่ยวชาญกีฬาฟุตบอลโดยตรง ซึ่งเขาได้ฝึกสอนให้นักเรียน
ได้มีความรู้ในกีฬาชนิดนั้นเป็นอย่างดี
51. หากนักเรียนต้องการที่จะพัฒนาการเล่นกีฬาดังกล่าว นักเรียนควรทาอย่างไร
1. สร้างพลังจิตในการฝึก
2. ตั้งเป้าหมายในการฝึกซ้อม
3. ฝึกเทคนิคการเล่นแบบต่างๆ เป็นประจ้า
4. จัดโปรแกรมพัฒนาตนเองสู่ความเป็นเลิศ
52. การเคลื่อนไหวแบบต่างๆ ที่ดีมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประโยชน์กับตนเองอย่างไร
1. สามารถเดินหรือวิ่งได้อย่างรวดเร็ว
2. กล้ามเนื้อส่วนขามีความแข็งแรงมากยิ่งขึ้น
3. สามารถด้าเนินชีวิตประจ้าวันได้อย่างราบรื่น
4. สามารถท้างานที่ต้องใช้พละก้าลังได้เป็นอย่างดี
53. การออกกาลังกายและการเล่นกีฬา ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสติปัญญาอย่างไร
1. ช่วยเสริมสร้างเส้นใยประสาทให้มีจ้านวนเพิ่มมากขึ้น
2. ช่วยพัฒนาด้านจิตใจ และช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด
3. ช่วยพัฒนาความสามารถในด้านสติปัญญาให้เฉียบแหลม
4. ช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพการท้างานของอวัยวะของร่างกาย
~ 10 ~
54. หากนักเรียนต้องการออกกาลังกาย นักเรียนควรเลือกออกกาลังกายแบบใดจึงจะเหมาะสมกับตนเอง
มากที่สุด
1. ปีนป่าย 2. ยืดหยุ่น
3. ร้ามวยจีน 4. เต้นแอโรบิก
55. หากผลการปฏิบัติในการเล่นกีฬาของนักเรียนไม่เป็นที่น่าพอใจ นักเรียนควรทาอย่างไรก่อนเป็น
ลาดับแรก
1. เพิ่มทักษะการเล่นกีฬา
2. แก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง
3. ก้าหนดเป้าหมายของการเล่นกีฬา
4. เพิ่มสมรรถภาพทางกายของตนเองให้หนักหน่วง
56. นักเรียนคิดว่า กีฬาตะกร้อลอดห่วง เหมาะสมกับบุคคลใด
1. ผู้ชายที่มีความแข็งแรง 2. ผู้หญิงและผู้ชายทุกวัย
3. วัยรุ่นที่มีส่วนสูงมากพอ 4. วัยเด็กที่มีความคล่องแคล่ว
57. ข้อใดไม่ใช่กฎ กติกา มารยาทในการแข่งขันกีฬาตะกร้อลอดห่วง
1. ก้าหนดให้มีเวลาในการแข่งขัน 40 นาที
2. ในการแข่งขัน ผู้เล่นจะยืนเป็นรูปสี่เหลี่ยม
3. นักกีฬาที่เข้าท้าการแข่งขันจะมีจ้านวนผู้เล่น 7 คน
4. ห้ามผู้เล่นใช้มือในการจับลูกตะกร้อระหว่างการโต้ลูก
58. ก่อนการเล่นกีฬาตะกร้อทุกครั้ง นักเรียนควรทาอย่างไรก่อนเป็นลาดับแรก
1. อบอุ่นร่างกาย 2. เลือกเครื่องแต่งกาย
3. ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ 4. ท้าความสะอาดลูกตะกร้อ
59. หากนักเรียนต้องการเล่นกรีฑาประเภทลู่ นักเรียนควรเลือกเล่นกีฬาชนิดใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
1. ขว้างจักร 2. พุ่งแหลน
3. กระโดดสูง 4. วิ่งระยะสั้น
60. ในการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ นักเรียนควรคานึงถึงสิ่งใดเป็นหลัก
1. มุ่งหวังเพื่อท้าเป็นงานอาชีพ 2. สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมนั้นๆ
3. ค่าตอบแทนในการท้ากิจกรรม 4. ความถนัดหรือความสนใจของตนเอง

~ 11 ~
ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง
1. ข้อใดเป็นลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ของวัยรุ่นที่ชัดเจนมากที่สุด
1. หงุดหงิด อารมณ์แปรปรวนง่าย
2. มีความผูกผันกับเพื่อนต่างเพศมาก
3. พยายามเอาชนะความรู้สึกแบบเด็กๆ
4. คิดหมกมุ่นกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
2. ปัญหาของการเกิดสิวและกลิ่นตัว มีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงในข้อใด
1. การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน 2. การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างใบหน้า
3. การเปลี่ยนแปลงของไขมันและกล้ามเนื้อ 4. การเปลี่ยนแปลงของร่างกายและความสูง
3. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะการเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
1. มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูก
2. มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายอย่างชัดเจน
3. มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
4. มีการเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญาสูงเทียบเท่ากับผู้ใหญ่
4. ปัจจัยใดมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์มากที่สุด
1. อาหาร 2. พันธุกรรม
3. สภาพแวดล้อมทางสังคม 4. การอบรมเลี้ยงดูของผู้ปกครอง
5. นักเรียนคิดว่าการอบรมเลี้ยงดูมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่นหรือไม่อย่างไร
1. มีผล เพราะมีความส้าคัญต่อความประพฤติและบุคลิกภาพของวัยรุ่น
2. มีผล เพราะลักษณะการอบรมเลี้ยงดูของแต่ละครอบครัวจะแตกต่างกันไป
3. ไม่มีผล เพราะขึ้นอยู่กับปัจจัยทางด้านพันธุกรรมมากกว่า
4. ไม่มีผล เพราะสิ่งที่จะท้าให้วัยรุ่นเจริญเติบโตได้ดีนั้นมาจากการได้รับอาหารที่มีประโยชน์
1 90
1สุขศึกษาและพลศึกษา ชุดที่ 2
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
~ 12 ~
6. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่นมากที่สุด คือข้อใด
1. สื่อ 2. เพื่อน
3. ครอบครัว 4. วัฒนธรรม
7. ข้อใดไม่ใช่อิทธิพลของครอบครัวที่มีต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่น
1. ความศรัทธาในศาสนา
2. ความสัมพันธ์ในครอบครัว
3. ปลูกฝังเจตคติในเรื่องบทบาทชายหญิง
4. ปลูกฝังความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม และการปฏิบัติต่างๆ
8. พฤติกรรมในข้อใดมีโอกาสเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์มากที่สุด
1. เที่ยวแหล่งสถานบันเทิง 2. ดื่มสุราและเสพสารเสพติด
3. ไปดูหนังรอบดึกกับเพื่อนหลายคน 4. ไปเที่ยวกับเพื่อนต่างเพศสองต่อสอง
9. ข้อใดเป็นการป้องกันตนเองจากปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
1. การหลีกเลี่ยงอยู่ในที่รโหฐาน หรือที่เปลี่ยว
2. การแต่งกายเปิดเผยสัดส่วนแค่เพียงบางส่วน
3. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์เพียงเล็กน้อย
4. ให้เพื่อนเพศตรงข้ามมาค้างที่บ้าน เพราะเป็นเพื่อนสนิทและไว้วางใจได้
10. หากนักเรียนจาเป็นต้องไปงานเลี้ยงสังสรรค์กับเพื่อน นักเรียนจะมีวิธีการป้องกันตนเองไม่ให้ถูก
ล่วงละเมิดทางเพศได้อย่างไร
1. หากจ้าเป็นต้องดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ควรดื่มอย่างรวดเร็ว
2. ชวนพี่ของนักเรียนไปด้วย เมื่อเกิดอะไรขึ้นจะได้มีคนคอยช่วยเหลือ
3. หากงานเลี้ยงเลิกดึก ควรค้างบ้านเพื่อนที่อยู่ใกล้กับสถานที่ที่เราไปสังสรรค์
4. คอยสอดส่องพฤติกรรมบุคคลที่อยู่ภายในงานหรือบุคคลใกล้ชิดว่ามีท่าทีแปลกไปหรือไม่
11. การที่ผู้หญิงบางกลุ่มสูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ถือว่าเป็นความเสมอภาคทางเพศหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. เป็นความเสมอภาคทางเพศ เพราะผู้หญิงสามารถท้าได้เหมือนผู้ชาย
2. เป็นความเสมอภาคทางเพศ เพราะผู้หญิงกับผู้ชายมีสิทธิเท่าเทียมกัน
3. ไม่เป็นความเสมอภาคทางเพศ เพราะเป็นเรื่องยาเสพติดไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
4. ไม่เป็นความเสมอภาคทางเพศ เพราะการกระท้าดังกล่าวสังคมไทยยังไม่ยอมรับ
12. ความเสมอภาคทางเพศต้องมีสิ่งใดเป็นองค์ประกอบ
1. กฎหมายทางเพศ
2. การยอมรับในความสามารถของแต่ละเพศ
3. การวางตัวอย่างเหมาะสมของชายและหญิง
4. บทบาททางเพศของแต่ละเพศกับการพัฒนาสังคม
~ 13 ~
13. ข้อใดเป็นหลักการวางตัวต่อเพศตรงข้ามที่ถูกต้อง
1. ให้เกียรติซึ่งกันและกัน 2. พูดจาประชดประชันกัน
3. ใช้วาจาที่รุนแรงและไม่สุภาพ 4. เล่าเรื่องส่วนตัวให้คู่สนทนาฟัง
14. ข้อใดเป็นการวางตัวต่อเพศตรงข้ามในฐานะเพื่อนต่างเพศอย่างไม่เหมาะสม
1. ดูภาพยนตร์ด้วยกัน 2. จับมือถือแขนต่อหน้าเพื่อนๆ
3. ไปเที่ยวค้างคืนด้วยกันตามล้าพัง 4. โทรศัพท์คุยกันบ่อยๆ ครั้งละเวลานาน
15. การวางตัวหรือปรับตัวที่เหมาะสม ควรปฏิบัติอย่างไร
1. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 2. มีความสุภาพ อ่อนโยน
3. พัฒนาบุคลิกภาพให้ดูดี 4. สร้างแรงจูงใจให้กับผู้อื่น
16. ผู้ที่มีสุขภาพกายดีจะมีลักษณะอย่างไร
1. พัฒนาการสมวัย 2. ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์
3. ร่างกายมีภูมิต้านทานโรคดี 4. ระบบต่างๆ ในร่างกายท้างานเป็นปกติ
17. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตดี
1. ควบคุมอารมณ์ได้ 2. จิตใจร่าเริงแจ่มใส
3. จิตใจอ่อนไหวง่าย 4. ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้
18. จากคากล่าวที่ว่า “ สุขภาพจิตที่ดี มักจะอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์ ” นักเรียนเห็นด้วยกับคากล่าวนี้หรือไม่
เพราะเหตุใด
1. เห็นด้วย เพราะผู้มีสุขภาพกายที่ดี มักจะมีสุขภาพจิตที่ดีด้วย
2. เห็นด้วย เพราะคนที่ร่างกายสมบูรณ์ส่วนใหญ่จะมีสุขภาพจิตดี
3. ไม่เห็นด้วย เพราะสุขภาพกายกับสุขภาพจิตไม่มีความสัมพันธ์กัน
4. ไม่เห็นด้วย เพราะคนที่มีสุขภาพจิตดีไม่จ้าเป็นต้องมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
19. การที่บุคคลรู้จักควบคุมอารมณ์ สามารถยอมรับได้ทั้งความสาเร็จและความผิดหวัง แสดงให้เห็นถึง
อะไร
1.การรู้จักและเข้าใจผู้อื่น 2. การรู้จักและเข้าใจตนเอง
3. ความสามารถในการเผชิญปัญหา 4. การยอมรับความเป็นจริงของชีวิต
20. ข้อใดอธิบายประโยชน์ของการจัดการกับอารมณ์และความเครียดได้ชัดเจนที่สุด
1. หัวใจเต้นช้าลง 2. มีสมรรถภาพทางกายที่ดี
3. รับประทานอาหารได้มากขึ้น 4. มีอารมณ์ร่าเริงแจ่มใส โกรธยาก
21. ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์ของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
1. เพื่อทราบสมดุลของร่างกาย 2. วัดความแข็งแรงของร่างกาย
3. เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรง 4. เพื่อปรับปรุงข้อบกพร่องของร่างกาย
~ 14 ~
22. กิจกรรมในข้อใดเสริมสร้างการทางานประสานสอดคล้องกันระหว่างตา มือ และเท้า
1. วิ่งซิกแซ็ก 2. วิ่ง 100 เมตร
3. กระโดดเท้าแยก 4. กระโดดหมุนตัว
23. เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณนกหวีดของครูผู้สอนแล้วออกวิ่งให้เร็วที่สุด จัดได้ว่าใช้สมรรถภาพทางกาย
ในลักษณะใด
1. ด้านกลไก 2. ด้านความเร็ว
3. ด้านความคล่องตัว 4. ด้านพลังกล้ามเนื้อ
24. ปัจจัยใดสาคัญที่สุดที่จะช่วยให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายที่ดี
1. มีต้นแบบ 2. พรสวรรค์
3. การฝึกฝน 4. มีความพร้อม
25. ข้อใดเป็นหลักการออกกาลังกายเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกาย
1. ออกก้าลังกายจนหัวใจเต้น คิดเป็นร้อยละ 40 – 50 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด เป็นเวลา
ไม่น้อยกว่า 10 นาที สัปดาห์ละ 1 – 2 ครั้ง
2. ออกก้าลังกายจนหัวใจเต้น คิดเป็นร้อยละ 60 – 90 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด เป็นเวลา
ไม่น้อยกว่า 30 นาที สัปดาห์ละ 3 – 5 ครั้ง
3. ออกก้าลังกายจนหัวใจเต้น คิดเป็นร้อยละ 70 – 80 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด เป็นเวลา
ไม่น้อยกว่า 40 นาที สัปดาห์ละ 1 – 2 ครั้ง
4. ออกก้าลังกายจนหัวใจเต้น คิดเป็นร้อยละ 80 – 90 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด เป็นเวลา
ไม่น้อยกว่า 50 นาที สัปดาห์ละ 3 – 5 ครั้ง
26. ปัญหาสุขภาพจิตก่อให้เกิดอาการผิดปกติทางร่างกายยกเว้นข้อใด
1. ฉุนเฉียว โมโหง่าย 2. หายใจติดขัด ใจสั่น
3. ยิ้ม และหัวเราะตลอดเวลา 4. อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง
27. ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตมักจะมีอารมณ์แปรปรวนง่าย นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. เห็นด้วย เพราะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ให้คงที่ได้
2. เห็นด้วย เพราะผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตจะมีอารมณ์หลายลักษณะ
3. ไม่เห็นด้วย เพราะคนปกติทั่วไปก็สามารถมีอารมณ์แปรปรวนได้
4. ไม่เห็นด้วย เพราะอารมณ์แปรปรวนนั้นเกิดขึ้นได้ทุกเวลาเมื่อมีความวิตกกังวล
28. ใครจัดการกับความเครียดได้เหมาะสมที่สุด
1. กาย ปาและท้าลายสิ่งของทุกอย่าง
2. แก้ว ซื้อของที่ตนเองอยากได้ทุกอย่าง
3. เกด ออกไปเที่ยวสถานเริงรมย์กับเพื่อน
4. กุ๊ก อ่านหนังสือที่ตนเองชอบ แม้จะเคยอ่านแล้ว
~ 15 ~
29. การจัดการกับอารมณ์และความเครียดมีความจาเป็นหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. จ้าเป็น เพราะความเครียดไม่มีประโยชน์ใดๆ เลย
2. จ้าเป็น เพราะความเครียดมีผลกระทบต่อสุขภาพและจิตใจ
3. ไม่จ้าเป็น เพราะไม่มีทางที่จะขจัดความเครียดได้
4. ไม่จ้าเป็น เพราะความเครียดก่อให้เกิดความกระตือรือร้น
30. การหัวเราะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกาจัดความเครียดอย่างไร
1. ท้าให้รู้สึกสดชื่น เกิดความสนุกสนาน
2. เป็นการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
3. ช่วยให้ร่างกายได้ผ่อนคลายความเครียด
4. ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง
31. การประกันสุขภาพรูปแบบใดมักเป็นกลุ่มผู้มีฐานะและมีรายได้สูงเข้าใช้บริการ
1. ระบบประกันสังคม
2. หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
3. การประกันสุขภาพภาคเอกชน
4. สวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ
32. ข้อใดไม่ใช่สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับในระบบประกันสังคม
1. ประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ
2. ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร
3. ประโยชน์ทดแทนในกรณีสงเคราะห์บุตร
4. คุ้มครองด้านการรักษาพยาบาลแก่ครอบครัว
33. หากทุกคนไม่มีแนวทางการเลือกใช้บริการทางสุขภาพจะส่งผลกระทบอย่างไร
1. ไม่ได้รับความเอาใจใส่ดูแลอย่างทั่วถึงเท่าที่ควร
2. อาจท้าให้สูญเสียโอกาสในการรับบริการที่มีคุณภาพ
3. ได้รับการรักษาจากแพทย์ที่ไม่มีความเชี่ยวชาญมากพอ
4. เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่มากเกินความจ้าเป็น
34. “ ควรประเมินว่าอาการของเรานั้นเป็นมากน้อยเพียงใด ” ข้อความดังกล่าว เป็นแนวทางการเลือกใช้
บริการสุขภาพในข้อใด
1. การพิจารณาปัจจัยแวดล้อมอื่น
2. การตัดสินใจเลือกใช้บริการสุขภาพ
3. การประเมินภาวะสุขภาพของตนเอง
4. การประเมินขีดความสามารถของสถานบริการสุขภาพ
~ 16 ~
35. เพราะเหตุใด เราจึงควรมีวิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกใช้บริการสุขภาพ
1. เพราะจะได้ผลจากการรักษาที่ดี
2. เพราะจะได้รับบริการได้อย่างทันท่วงที
3. เพราะจะได้เข้ารับบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ
4. เพราะจะได้ประเมินค่าใช้จ่ายในการเดินทางได้ถูกต้อง
36. การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพยกเว้นข้อใด
1. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท้าให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น
2. การใช้โทรศัพท์มือถือนานๆ จะท้าให้เกิดอาการปวดหู
3. การใช้คอมพิวเตอร์นานเกิน 6 ชั่วโมง ท้าให้เกิดความเครียด
4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถืออาจท้าให้เกิดโรคความจ้าเสื่อม
37. ข้อใดเป็นผลระยะสั้นที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ
1. หูตึง 2. โรคมะเร็งสมอง
3. โรคความจ้าเสื่อม 4. ปวดหู ปวดศีรษะ
38. ข้อใดเป็นความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ที่มีผลต่อสุขภาพ
1. การผลิตหุ่นยนต์ช่วยเหลือมนุษย์
2. การคิดค้นวิธีรักษาโรคด้วยวิธีใหม่ๆ
3. การผลิตเครื่องช่วยก้าจัดแมลงในพืช
4. การแปรรูปวัตถุดิบเพื่อเป็นการถนอมอาหาร
39. ระบบการแพทย์ใดที่สามารถพิสูจน์และตรวจสอบได้ รวมทั้งประชาชนให้การยอมรับเป็นอย่างสูง
1. การแพทย์แผนไทย 2. การแพทย์ทางเลือก
3. การแพทย์แผนปัจจุบัน 4. การแพทย์แผนไทยประยุกต์
40. ในการพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีทางสุขภาพ ควรยึดหลักต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
1. ความคุ้มค่า 2. ความประหยัด
3. ความน่าเชื่อถือ 4. การมีประสิทธิผล
41. สิ่งสาคัญที่สุดที่จะทาให้การบาบัดฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดประสบความสาเร็จได้คือข้อใด
1. ชุมชนยอมรับ 2. โอกาสที่สังคมเปิดให้
3. ความพร้อมของครอบครัว 4. ความพร้อมของผู้ที่จะรับการบ้าบัด
42. ข้อใดหมายถึงการบาบัดทางจิตให้กับผู้ติดสารเสพติด
1. การแก้ไขพฤติกรรมของผู้ใช้สารเสพติด
2. การให้ผู้ติดสารเสพติดนั่งสมาธิเพื่อท้าจิตใจให้สงบ
3. การรักษาโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากการใช้สารเสพติด
4. การให้ก้าลังใจ หรือรักษาอาการทางจิตที่เกิดจากเซลล์สมองถูกท้าลาย
~ 17 ~
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามข้อ 43. – 44.
แก้วกับจุ๋มเป็นเพื่อนกัน ทั้ง 2 คนก้าลังเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ทั้งคู่เป็น
เด็กเรียนดี และชอบท้ากิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน วันหนึ่งคุณครูประจ้าชั้นได้แจ้งผลคะแนนเก็บ
ประจ้าภาคเรียนให้นักเรียนทุกคนทราบ ผลปรากฏว่า แก้วได้คะแนนเก็บมากกว่าจุ๋ม จุ๋มรู้สึกเครียด
มาก เพราะตนเองจะได้คะแนนมากกว่าแก้วเสมอ จุ๋มจึงไปปรึกษาพี่ป้อง ซึ่งเป็นรุ่นพี่ที่โรงเรียนและมี
บ้านอยู่ในละแวกเดียวกัน พี่ป้องให้ยาเม็ดกับจุ๋มมา 10 เม็ด บอกว่าให้กินก่อนอ่านหนังสือทุกวัน
เพราะยานี้เป็นยาขยัน จะท้าให้อ่านหนังสือได้นานและจดจ้าได้ดี ซึ่งจุ๋มไม่รู้เลยว่าเป็นยาอะไร
43. หากนักเรียนเป็นเพื่อนของจุ๋ม นักเรียนจะให้จุ๋มรับประทานยาที่พี่ป้องให้มาหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. ให้รับประทาน เพราะจะช่วยให้จุ๋มท้าคะแนนได้ดี
2. ให้รับประทาน เพราะเป็นยาขยันท้าให้อ่านหนังสือได้นานและจดจ้าได้ดี
3. ไม่ให้รับประทาน เพราะหากรับประทานหมดแล้ว อาจไม่มีเงินไปซื้อเพิ่ม
4. ไม่ให้รับประทาน เพราะยานั้นอาจเป็นยาเสพติด ก่อให้เกิดโทษมากกว่าประโยชน์
44. นักเรียนจะให้คาแนะนาจุ๋มอย่างไร เพื่อให้จุ๋มมีผลการเรียนที่ดีตามที่ตั้งใจไว้
1. ให้จุ๋มมุ่งมั่นตั้งใจอ่านหนังสือทุกคืนจนถึงเช้า
2. ให้จุ๋มตั้งใจเรียน และหมั่นทบทวนความรู้อยู่เสมอ
3. ให้จุ๋มดื่มเครื่องดื่มชูก้าลังเพื่อกระตุ้นการอ่านหนังสือได้นานขึ้น
4. ให้จุ๋มเลิกท้ากิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน และไปเรียนพิเศษเพิ่มเติม
45. กระบวนการบาบัดรักษาผู้ป่วยที่ติดสารเสพติดในขั้นฟื้นฟูสมรรถภาพมีเป้าหมายสาคัญคืออะไร
1. มุ่งให้รู้จักรักษาสุขภาพ
2. มุ่งให้ปรับตัวเข้าสู่สังคมได้
3. มุ่งเสริมทักษะในการกลับคืนสู่สังคม
4. มุ่งให้ผู้ป่วยหลุดพ้นจากการเสพติดทั้งกายและใจ
46. นักเรียนคิดว่าจาเป็นหรือไม่ที่ต้องหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์เสี่ยง
1. จ้าเป็น เพราะช่วยลดผลกระทบต่อสังคม
2. จ้าเป็น เพราะช่วยสร้างความปลอดภัยของบุคคล
3. ไม่จ้าเป็น เพราะเป็นเรื่องไกลตัวเรา
4. ไม่จ้าเป็น เพราะหน่วยงานต่างๆ คอยปราบปรามอยู่
47. ข้อใดคือพฤติกรรมเสี่ยงที่ทาให้เกิดความรุนแรงมากที่สุด
1. ดื่มสุรา 2. เล่นการพนัน
3. เสพสารเสพติด 4. เล่นเกมคอมพิวเตอร์
~ 18 ~
48. บุคคลใดสามารถหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์เสี่ยงต่ออันตรายได้อย่างเหมาะสม
1. แสน ชอบเล่นการพนันบอลเมื่อมีโอกาส
2. นิด ชอบไปเที่ยวกับเพื่อนๆ หลังเลิกเรียน
3. สน ชอบนัดเพื่อนไปดื่มสุราในตึกร้างแถวบ้าน
4. นุ่น ชอบพูดคุยกับเพื่อนที่สนิทและไว้วางใจได้
49. ข้อใดไม่ใช่ทักษะชีวิตในการป้องกันตนเองเพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยงที่อาจนาไปสู่อันตราย
1. ทักษะการคิด 2. ทักษะการต่อสู้
3. ทักษะการต่อรอง 4. ทักษะการปฏิเสธ
50. บุคคลต่อไปนี้ผู้ใดอยู่ในสถานการณ์ที่คับขันมากที่สุด
1. เอ ถูกเพื่อนบังคับให้สูบบุหรี่ 2. บี ถูกคนเมายาบ้าจับเป็นตัวประกัน
3. ซี ใช้ค้าพูดโต้ตอบกับเพื่อนอย่างดุดัน 4. ดี ถูกโจรกระชากสร้อยบนสะพานลอย
51. ทักษะกลไกและความสามารถทางกลไกมีประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตอย่างไร
1. ช่วยท้าให้มีรูปร่างที่สมส่วน
2. ช่วยให้สามารถเคลื่อนไหวได้ดี
3. ช่วยพัฒนาบุคลิกภาพให้ดูดียิ่งขึ้น
4. ช่วยท้าให้เกิดความปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุสุดวิสัย
52. การเคลื่อนไหวเพื่อการออกกาลังกาย และการเคลื่อนไหวเพื่อปฏิบัติกิจกรรมในการดาเนิน
ชีวิตประจาวันมีความแตกต่างกันในเรื่องใด
1. เวลาและสถานที่ 2. ค่าใช้จ่ายอุปกรณ์
3. การเผาผลาญพลังงาน 4. รูปแบบการเคลื่อนไหว
53. การออกกาลังกายและเล่นกีฬา ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างไร
1. ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง 2. ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด
3. ช่วยให้กล้ามเนื้อทุกส่วนแข็งแรง 4. ช่วยให้ระบบประสาทท้างานได้ดี
54. นักเรียนต้องการออกกาลังกาย แต่ไม่ค่อยถนัดการเล่นกีฬาต่างๆ นักเรียนควรเลือกออกกาลังกายแบบใด
จึงจะเหมาะสมที่สุด
1. วิ่ง 2. โยคะ
3. ฟุตบอล 4. ยกน้้าหนัก
55. หากนักเรียนจะเพิ่มทักษะการเล่นกีฬาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นักเรียนควรทาอย่างไร
1. ก้าหนดเป้าหมายเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง
2. เพิ่มทักษะการเล่นด้วยวิธีการฝึกแบบหนักสลับเบา
3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้เชี่ยวชาญทางกีฬานั้นๆ
4. สร้างประสบการณ์ที่สร้างสรรค์ให้กับตนเองด้วยการฝึกซ้อมบ่อยๆ
~ 19 ~
56. การเตรียมความพร้อมสาหรับการเล่นตะกร้อลอดห่วง มีความสาคัญอย่างไร
1. เพื่อให้เกิดความสุขุมรอบคอบในการเล่นหรือแข่งขัน
2. เพื่อความปลอดภัยและความสะดวกในการเล่นหรือแข่งขัน
3. เพื่อให้ผู้เล่นเกิดความสามัคคี และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
4. เพื่อให้ผู้เล่นเกิดความแคล่วคล่องว่องไวในการเล่นหรือแข่งขัน
57. ข้อใดคือ กฎ กติกา มารยาทในการแข่งขันตะกร้อลอดห่วง
1. ห้ามไม่ให้ผู้เล่นใช้มือในการโต้ลูก
2. เมื่อเริ่มการแข่งขันผู้เล่นห้ามสลับเปลี่ยนที่กัน
3. ในระหว่างการแข่งขันไม่อนุญาตให้เปลี่ยนตัวผู้เล่น
4. เมื่อเกิดอุบัติเหตุระหว่างการแข่งขัน ให้หยุดได้ไม่เกิน 10 นาที
58. เพราะเหตุใด ในขณะเล่นตะกร้อจึงต้องคอยตรวจดูสภาพลูกตะกร้ออยู่เสมอ
1. เพื่อความปลอดภัยของผู้เล่น
2. เพื่อไม่ให้ผิดกฎ กติกา ในการแข่งขัน
3. เพื่อให้ผู้เล่นมีสมาธิในระหว่างการแข่งขัน
4. เพื่อจะได้เปลี่ยนลูกตะกร้อใหม่ที่ดีกว่าเดิม
59. การวิ่งผลัดที่ถูกต้องตามกฎ กติกา ควรปฏิบัติอย่างไร
1. ส่งไม้คทาด้วยมือซ้ายและรับด้วยมือขวาเสมอ
2. ถือคทาด้วยมือที่เหวี่ยงไปข้างหลังในก้าวแรก
3. นักกีฬาต้องรู้จักควบคุมความเร็วในการวิ่งสม่้าเสมอ
4. การส่งไม้คทาจะท้าในช่วงใดก็ได้ที่ผู้ส่งและผู้รับพร้อม
60. ข้อใดคือประโยชน์ที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการจะได้รับเมื่อเข้าร่วมกิจกรรม
1. ช่วยส่งเสริมพัฒนาบุคลิกภาพให้ดูดีมากยิ่งขึ้น
2. ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม
3. ช่วยผ่อนคลายความเครียดจากภารกิจหน้าที่ประจ้า
4. ช่วยฟื้นฟูสภาพร่างกายให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง

~ 20 ~
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 2
1. 1 2. 1 3. 4 4. 1 5. 2
6. 3 7. 1 8. 4 9. 1 10. 4
11. 4 12. 3 13. 1 14. 3 15. 1
16. 2 17. 3 18. 1 19. 2 20. 4
21. 2 22. 3 23. 2 24. 3 25. 2
26. 3 27. 1 28. 4 29. 2 30. 3
31. 3 32. 4 33. 2 34. 3 35. 3
36. 1 37. 4 38. 2 39. 3 40. 2
41. 4 42. 4 43. 4 44. 2 45. 4
46. 2 47. 3 48. 4 49. 2 50. 2
51. 4 52. 4 53. 2 54. 1 55. 2
56. 2 57. 1 58. 1 59. 3 60. 3
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 1
1. 3 2. 3 3. 4 4. 2 5. 1
6. 1 7. 4 8. 4 9. 4 10. 1
11. 2 12. 4 13. 4 14. 2 15. 3
16. 4 17. 4 18. 1 19. 4 20. 2
21. 4 22. 3 23. 1 24. 2 25. 4
26. 4 27. 3 28. 3 29. 4 30. 2
31. 3 32. 3 33. 1 34. 1 35. 4
36. 2 37. 1 38. 4 39. 3 40. 3
41. 4 42. 4 43. 4 44. 3 45. 3
46. 4 47. 3 48. 3 49. 1 50. 3
51. 3 52. 3 53. 3 54. 4 55. 2
56. 2 57. 2 58. 1 59. 4 60. 4

~ 21 ~
เฉลยแบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2
เฉลยอย่างละเอียด
1. ตอบ ข้อ 3. แสดงให้เห็นว่าวัยรุ่นชายและวัยรุ่นหญิงมีวุฒิภาวะทางเพศแล้ว ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นกับ
ทุกคนตามธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเพศของมนุษย์ ไม่ใช่เรื่อง
แปลกหรือเป็นสิ่งที่น่าอับอายหรือผิดปกติ แต่เป็นการแสดงออกของร่างกายที่บ่งบอกให้รู้
ว่าร่างกายมีวุฒิภาวะทางเพศที่สมบูรณ์แล้ว และมีความพร้อมทางด้านร่างกายที่จะมีบุตรได้
2. ตอบ ข้อ 3. วัยรุ่นชายจะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายที่เด่นชัด ได้แก่ มีขนขึ้นบริเวณหัวหน่าว
รักแร้ มีหนวด เครา ไหล่กว้างขึ้น เสียงห้าว และมีการหลั่งน้้าอสุจิ ส่วนวัยรุ่นหญิงจะ
มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายที่เด่นชัด ได้แก่ มีขนขึ้นบริเวณหัวหน่าว รักแร้
มีการเจริญเติบโตของเต้านม สะโพกผาย เอวคอด เสียงทุ้ม นุ่มนวล และมีประจ้าเดือน
3. ตอบ ข้อ 4. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสติปัญญาจะพัฒนาสูงขึ้นจนมีความคิดเป็นรูปธรรม หมายถึง
ความสามารถเรียนรู้เข้าใจเหตุการณ์ต่างๆ ได้ลึกซึ้งขึ้น มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์
และสังเคราะห์สิ่งต่างๆ ได้มากขึ้น จนเมื่อพ้นช่วงวัยรุ่นแล้ว จะมีความสามารถทาง
สติปัญญาเหมือนผู้ใหญ่ คือ เริ่มมีความคิดแบบนามธรรม
4. ตอบ ข้อ 2. สิ่งแวดล้อมต่างๆ จะมีอิทธิพลต่อตัวเด็กนับตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิในครรภ์มารดา จนกระทั่ง
คลอดออกมาเป็นทารก เจริญเติบโตและพัฒนาผ่านวัยต่างๆ หากวัยรุ่นอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่
ไม่เหมาะสม เช่น สถานเริงรมย์ พ่อแม่เสพสารเสพติด เล่นการพนันหรือทะเลาะวิวาทกัน
เป็นต้น เมื่อวัยรุ่นพบเห็นเป็นประจ้า จะส่งผลให้มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น มีจิตใจ
แข็งกระด้าง ก้าวร้าว พูดจาหยาบคาย ว้าเหว่ ขาดความอบอุ่น เป็นต้น
5. ตอบ ข้อ 1. ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม เพราะเป็นสิ่งที่ติดตัวมาตั้งแต่ก้าเนิด จึงไม่สามารถเปลี่ยนแปลง
ได้ ซึ่งจะแตกต่างกับสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมหรือการปฏิบัติที่คนเราสามารถปรับปรุง
หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขให้ดีขึ้นได้เสมอ
6. ตอบ ข้อ 1. ข้อความดังกล่าวเป็นค้าที่แสดงให้เห็นถึงเจตคติทางเพศ ซึ่งหมายถึง ความเชื่อ ความรู้สึก
และความพร้อมที่จะกระท้าต่อสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ มีผลต่อการปฏิบัติที่เกี่ยวกับเรื่อง
เพศของบุคคลหากวัยรุ่นมีเจตคติทางเพศในลักษณะที่จะน้าไปสู่การปฏิบัติที่ไม่ถูกต้อง
หรือเสี่ยงต่อการมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่พึงประสงค์ก็จะก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาได้
7. ตอบ ข้อ 4. ผลจากสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทางสังคมไทยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศที่เปลี่ยนไป
ส่งผลให้วัยรุ่นไทยเกิดค่านิยมและมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในหลายลักษณะ เช่น ค่านิยม
ในเรื่องการแต่งกายตามสมัยนิยมที่มากเกินไปของวัยรุ่น ซึ่งพยายามแต่งกายให้เป็นที่
โดดเด่นในสายตาผู้อื่น โดยไม่ได้ค้านึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ทั้งนี้เพียงเพราะว่า
ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนและดูโดดเด่นในสายตาของเพศตรงข้าม
~ 22 ~
8. ตอบ ข้อ 4. ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีมากขึ้น โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นสื่อที่มี
อิทธิพลต่อวัยรุ่นมากทั้งในด้านบวกและด้านลบ แต่ส่วนใหญ่ได้มีการน้าอินเทอร์เน็ตไปใช้
ในทางที่ผิด เช่น การเผยแพร่ภาพลามกอนาจาร การล่อลวงผ่านห้องสนทนา เป็นต้น ส่งผล
ให้เกิดพฤติกรรมด้านลบ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา ดังนั้นจึงปฏิเสธไม่ได้ว่า
อินเทอร์เน็ตมีอิทธิพลต่อการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นมากที่สุด
9. ตอบ ข้อ 4. การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนจะก่อให้เกิดปัญหาและผลกระทบต่างๆ ตามมา ทั้งต่อตัววัยรุ่น
ครอบครัว และสังคม โดยเฉพาะปัญหาทางสังคมที่เกิดจากการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
จะส่งผลให้ประชากรมีจ้านวนเพิ่มมากขึ้น และไม่มีคุณภาพเท่าที่ควร เนื่องจากเด็กที่เกิดมา
ไม่ได้เกิดจาก ความรัก ความตั้งใจของพ่อแม่ แต่เกิดมาจากความผิดพลาดของพ่อแม่
จึงท้าให้เด็กกลุ่มนี้ไม่ได้รับความรัก การดูแลเอาใจใส่ ส่งผลให้มีปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น
เด็กถูกทอดทิ้ง เด็กมีพฤติกรรมก้าวร้าว เป็นต้น
10. ตอบ ข้อ 1. การปฏิเสธ เป็นส่วนหนึ่งของการสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารด้วยความสามารถใน
การใช้ค้าพูด หรือท่าทาง โดยทุกคนมีสิทธิที่จะปฏิเสธในสิ่งที่ตนเองไม่อยากท้าหรือเสี่ยง
ต่อความปลอดภัยได้ ซึ่งการรู้จักปฏิเสธอย่างตรงไปตรงมาถือว่าเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะช่วย
ให้รอดพ้นจากสถานการณ์เสี่ยงนั้นๆ
11. ตอบ ข้อ 2. คือ การก้าหนดสิทธิเท่าเทียมกันของชายและหญิง แต่ต้องอยู่ภายใต้กรอบที่เหมาะสมของ
วัฒนธรรมที่ดีงามของสังคมไทย
12. ตอบ ข้อ 4. ความเสมอภาคทางเพศเป็นเรื่องที่เพศชายและเพศหญิง มีสิทธิและเสรีภาพในการแสดง
บทบาท ทางเพศของตนเองต่อสังคมได้อย่างเท่าเทียมกัน โดยเป็นไปตามที่กฎหมายก้าหนด
13. ตอบ ข้อ 4. ความเสมอภาคทางเพศตามกฎหมายที่มีการเรียกร้องให้มีการแก้ไขในปัจจุบัน คือ
การยินยอมให้เพศหญิงที่แต่งงานแล้วใช้ค้าน้าหน้าเป็นนางสาวได้ และสามารถเลือกใช้
นามสกุลของตนเองหรือสามีได้
14. ตอบ ข้อ 2. ไม่ควรอยู่ตามล้าพังกับเพื่อนชาย โดยเฉพาะการอยู่ด้วยกันตามล้าพังสองต่อสอง ซึ่งเป็นสิ่ง
ที่ไม่เหมาะสมอย่างยิ่ง เพราะอาจจะน้าไปสู่สถานการณ์เสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ได้
15. ตอบ ข้อ 3. การวางตัวต่อเพศตรงข้ามอย่างถูกต้อง เหมาะสม จะช่วยท้าให้เพศชายและเพศหญิง
สามารถปรับตัว เข้าหากันได้เป็นอย่างดี และเป็นการช่วยสร้างสัมพันธภาพอันดีงามเพื่อ
รักษามิตรภาพให้ยาวนาน
16. ตอบ ข้อ 4. ผู้ที่มีสุขภาพจิตดีย่อมมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง เพราะกายและจิตเป็นสิ่งที่สัมพันธ์กัน
ซึ่งถ้าจิตดีและมีความสุขกายก็จะแข็งแรง และปราศจากโรคภัยไข้เจ็บด้วย
17. ตอบ ข้อ 4. เพราะร่างกายและจิตใจมีความสัมพันธ์ที่เชื่อมกันจนแยกไม่ออก โดยสุขภาพกายก็จะแสดง
ให้ทราบถึงสุขภาพทางจิตได้ เช่น จิตใจที่มีความทุกข์ร้อน กระวนกระวาย ส่งผลให้กิน
ไม่ได้นอนไม่หลับร่างกาย ทรุดโทรม ก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ เบียดเบียน แต่ถ้า
~ 23 ~
ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ก็ย่อมที่จะท้าให้จิตใจสุขสบายไม่มัวหมอง
ได้เช่นกัน เป็นต้น
18. ตอบ ข้อ 1. สุขภาพกายและสุขภาพจิตมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ดังนั้นสุขภาพกายและสุขภาพจิต
จึงต้องตั้งอยู่บนคานที่สมดุล ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งเปลี่ยนแปลงจะท้าให้ความสมดุลของคาน
เสียไป ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพได้ ดังนั้นการสร้างความสมดุลระหว่าง
สุขภาพกายและสุขภาพจิตจึงต้องมีองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ กินเป็น อยู่เป็น
สังคมเป็น สมาธิเป็น
19. ตอบ ข้อ 4. ปัญหาสุขภาพจิตก่อให้เกิดอาการผิดปกติทางร่างกาย เช่น ฉุนเฉียว โมโหง่าย หายใจติดขัด
ใจสั่น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ท้างานประจ้าวันไม่ค่อยได้ เป็นต้น
20. ตอบ ข้อ 3. เมื่อมีความเครียดสะสมไว้เป็นเวลานาน โดยไม่ได้ผ่อนคลายจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยที่
รุนแรงได้ เช่น โรคจิต โรคประสาทบางชนิด โรคกระเพาะอาหาร เป็นต้น แต่ส้าหรับ
โรคเกาต์นั้นไม่ได้เป็นโรคที่เกิดจากความเครียด แต่เป็นโรคที่เกิดจากการสะสมของกรด
ยูริกในร่างกายเป็นระยะเวลานาน จนเกิดการตกผลึกของเกลือยูเรตในข้อ และเกิด
ข้ออักเสบตามมาในที่สุด
21. ตอบ ข้อ 4. เพราะการออกก้าลังกายเป็นประจ้า จะช่วยกระตุ้นให้ร่างกายเจริญเติบโตอย่างเต็มที่
โดยเฉพาะวัยรุ่นซึ่งเป็นวัยที่อยู่ในระหว่างการเจริญเติบโต กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกาย
จะมีการพัฒนาอย่างเต็มที่และได้สัดส่วน ท้าให้การท้างานต่างๆ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
22. ตอบ ข้อ 3. เนื่องจากผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายดีนั้น จะสามารถประกอบกิจกรรมในชีวิตประจ้าวันได้
อย่างกระฉับกระเฉงโดยไม่เหนื่อยล้าจนเกินไป ซึ่งถ้าเหนื่อยก็จะหายเหนื่อยได้เร็ว อีกทั้งยัง
มีพลังงานส้ารองมากพอส้าหรับปฏิบัติกิจกรรมนันทนาการหรือใช้ในกรณีฉุกเฉินได้
23. ตอบ ข้อ 1. ทุกข้อถือเป็นสมรรถภาพทางกายที่มีประโยชน์ในชีวิตประจ้าวัน แต่ความอดทนนั้นมี
ประโยชน์ในชีวิตประจ้าวันมากที่สุด เนื่องจากในชีวิตประจ้าวันเราจ้าเป็นต้องใช้
ความอดทนในการประกอบกิจกรรมซ้้าๆ ได้เป็นระยะเวลานานอย่างมีประสิทธิภาพ
24. ตอบ ข้อ 2. จากการปฏิบัติของธเนศ เป็นการวัดสมรรถภาพทางด้านความอ่อนตัว ซึ่งเป็นความสามารถ
ของกล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ ในการเคลื่อนไหวด้วยมุมกว้างหรือไกลที่สุด
25. ตอบ ข้อ 4. นัทเลือกเทคนิควิธีการปรับปรุงและพัฒนาสมรรถภาพทางกายของตนเองได้อย่างเหมาะสม
ด้วยการเลือกเล่นกีฬาหลายๆ ประเภท โดยค้านึงถึงความสามารถของตนเอง ซึ่งจะท้าให้
สามารถพัฒนาสมรรถภาพทางกายของตนเองให้ก้าวหน้าได้ดียิ่งขึ้น
26. ตอบ ข้อ 4. ความเครียดที่เกิดขึ้นสามารถแสดงให้เราทราบได้ โดยมีอาการหรือสัญญาณแสดงออก
ให้สังเกตเห็น และประเมินได้ เช่น กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ อารมณ์เสียบ่อย
หงุดหงิดง่าย เป็นต้น
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2

More Related Content

What's hot

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3
Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
krunueng1
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2fal-war
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เกษสุดา สนน้อย
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
dnavaroj
 
ข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนManit Wongmool
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
พจีกานต์ หว่านพืช
 

What's hot (20)

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
ข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 

Similar to แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2

แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1teerachon
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2teerachon
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Suwicha Tapiaseub
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯnampeungnsc
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50wayosaru01
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50chugafull
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
Weerachat Martluplao
 
....
........
....MM AK
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50yyyim
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5wichsitb
 
แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52
แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52
แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52
Weerachat Martluplao
 
ข้อสอบ o-net สุขะศึกษาและพละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีปี51
ข้อสอบ o-net สุขะศึกษาและพละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีปี51ข้อสอบ o-net สุขะศึกษาและพละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีปี51
ข้อสอบ o-net สุขะศึกษาและพละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีปี51mina612
 
วิชาการงาน
วิชาการงานวิชาการงาน
วิชาการงานsupamatinthong
 
O net ศิลปะฯ 2552
O net ศิลปะฯ 2552O net ศิลปะฯ 2552
O net ศิลปะฯ 2552jaikwangnoey60628
 

Similar to แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2 (20)

แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
 
06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
2550_06
2550_062550_06
2550_06
 
06
0606
06
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
การงานน
การงานนการงานน
การงานน
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
 
พละ51
พละ51พละ51
พละ51
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
 
....
........
....
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
 
7
77
7
 
แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52
แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52
แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52
 
ข้อสอบ o-net สุขะศึกษาและพละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีปี51
ข้อสอบ o-net สุขะศึกษาและพละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีปี51ข้อสอบ o-net สุขะศึกษาและพละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีปี51
ข้อสอบ o-net สุขะศึกษาและพละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีปี51
 
วิชาการงาน
วิชาการงานวิชาการงาน
วิชาการงาน
 
O net ศิลปะฯ 2552
O net ศิลปะฯ 2552O net ศิลปะฯ 2552
O net ศิลปะฯ 2552
 

More from teerachon

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 

More from teerachon (20)

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2

  • 1. ~ 1 ~ ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 1 ข้อ มาตรฐานตัวชี้วัด มฐ พ 1.1 มฐ พ 2.1 มฐ พ 3.1 มฐ พ 3.2 มฐ พ 4.1 มฐ พ 5.1 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 1  2   3   4   5   6   7   8   9   10   11      12      13      14      15      16    17    18     19      20    21    22    23    24      25    26      27      28        29    
  • 2. ~ 2 ~ ข้อ มาตรฐานตัวชี้วัด มฐ พ 1.1 มฐ พ 2.1 มฐ พ 3.1 มฐ พ 3.2 มฐ พ 4.1 มฐ พ 5.1 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 30      31    32        33       34    35        36        37    38    39    40    41    42    43       44       45    46    47    48       49     50        51    52       53     54     55      56   57   58   59    60  
  • 3. ~ 3 ~ ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง 1. การที่เพศชายมีการหลั่งอสุจิครั้งแรกและเพศหญิงเริ่มมีประจาเดือนเป็นครั้งแรก แสดงถึง การเจริญเติบโตอย่างไร 1. แรงขับทางเพศ 2. แรงกระตุ้นทางเพศ 3. การมีวุฒิภาวะทางเพศ 4. การผลิตฮอร์โมนของร่างกาย 2. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายของวัยรุ่น 1. หญิงมีขนรักแร้ ชายมีทรวดทรงเพิ่มขึ้น 2. หญิงมีเสียงแตก ชายมีกล้ามเนื้อใหญ่ขึ้น 3. หญิงมีประจ้าเดือน ชายมีการหลั่งน้้าอสุจิ 4. หญิงมีกล้ามเนื้อใหญ่ขึ้น ชายมีไขมันเพิ่มขึ้น 3. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสติปัญญาจะพัฒนาสูงขึ้นจนมีความคิดเป็นรูปธรรม หมายถึงข้อใด 1. ความสามารถทางการสื่อสาร 2. ความสามารถทางการจินตนาการ 3. ความสามารถทางการคิดแบบนามธรรม 4. ความสามารถทางการเรียนรู้เข้าใจเหตุการณ์ต่างๆ อย่างลึกซึ้ง 4. ข้อใดกล่าวถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตได้ตามศักยภาพ 1. อาหารมื้อเย็นเป็นอาหารที่ส้าคัญของวัยเรียน 2. ถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจะมีการเจริญเติบโตได้ตามศักยภาพ 3. ลักษณะทางพันธุกรรมสามารถปรับเปลี่ยนเพื่อให้เด็กมีพัฒนาการได้ 4. สิ่งแวดล้อมเมื่ออยู่ในครรภ์มารดา ไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ 5. ปัจจัยใดมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น 1. พันธุกรรม 2. สัมพันธภาพ 3. บุคคลรอบข้าง 4. จิตใจและอารมณ์ 90 1สุขศึกษาและพลศึกษา ชุดที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
  • 4. ~ 4 ~ 6. คาว่า “หญิงไทยควรรักนวลสงวนตัว รักษาพรหมจรรย์ ไม่ชิงสุกก่อนห่าม” เป็นคาที่แสดงให้เห็นถึง สิ่งใด 1. เจตคติทางเพศ 2. บทบาททางเพศ 3. การกดขี่ทางเพศ 4. ความเสมอภาคทางเพศ 7. สิ่งใดเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้วัยรุ่นนิยมแต่งกายให้ดูโดดเด่นในสายตาผู้อื่น 1. ต้องการเลียนแบบดารานักแสดง 2. ต้องการเลียนแบบคนที่ตนเองชื่นชอบ 3. ต้องการเรียกร้องความสนใจจากคนรอบข้าง 4. ต้องการการยอมรับจากเพื่อนและเพศตรงข้าม 8. นักเรียนคิดว่า สื่อชนิดใดมีอิทธิพลต่อการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นมากที่สุด 1. วิทยุ 2. นิตยสาร 3. โทรทัศน์ 4. อินเทอร์เน็ต 9. ผลกระทบที่เป็นปัญหาจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนที่เป็นปัญหาสังคมในปัจจุบันมากที่สุดคือข้อใด 1. ปัญหากามโรค 2. ปัญหาการหนีเรียน 3. ปัญหาการเรียนตกต่้า 4. ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ 10. ถ้าเพื่อนชายชวนไปดูหนังรอบดึกสองต่อสอง นักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไร 1. ปฏิเสธอย่างตรงไปตรงมา 2. ให้เพื่อนชายชวนเพื่อนที่มีคู่รักไปอีกคู่ 3. ไม่ปฏิเสธเพราะกลัวเพื่อนชายไม่พอใจ 4. ลองไปก่อนแล้วค่อยหาโอกาสกลับบ้าน 11. ข้อใดแสดงให้เห็นว่าสังคมไทยให้ความเสมอภาคทางเพศมากที่สุด 1. หญิงที่แต่งงานแล้วมีสิทธิใช้นามสกุลเดิม 2. การก้าหนดสิทธิเท่าเทียมกันของชายและหญิง 3. หญิงที่แต่งงานแล้วมีสิทธิใช้นามสกุลของสามี 4. หญิงที่จดทะเบียนสมรสแล้วสามารถใช้นางสาวได้ 12. ความเสมอภาคทางเพศ เป็นเรื่องของความเท่าเทียมกันของเพศชายและเพศหญิงในเรื่องใด 1. ทางสังคม 2. ทางกฎหมาย 3. ทางเศรษฐกิจ 4. ทางสังคมและทางกฎหมาย 13. ข้อใดเป็นความเสมอภาคทางเพศที่ถูกเรียกร้องให้มีการแก้ไขในปัจจุบัน 1. การยินยอมให้เพศหญิงมีอ้านาจเหนือกว่าเพศชาย 2. การยินยอมให้เพศหญิงมีสามีได้หลายคนในเวลาเดียวกัน 3. การยินยอมให้เพศหญิงดื่มเหล้า สูบบุหรี่ได้เทียบเท่ากับเพศชาย 4. การยินยอมให้เพศหญิงที่แต่งงานแล้วใช้ค้าน้าหน้าเป็นนางสาวได้
  • 5. ~ 5 ~ 14. การวางตัวของนักเรียนหญิงในข้อใดไม่เหมาะสมที่สุด 1. แต่งกายล่อแหลม 2. อยู่ตามล้าพังกับเพื่อนชาย 3.ให้ฝ่ายชายออกค่าอาหารให้ 4. แสดงกิริยาสนิทสนมกับเพื่อนชาย 15. การวางตัวต่อเพศตรงข้ามอย่างถูกต้อง เหมาะสม มีความสาคัญอย่างไร 1. เพื่อความสงบสุขในสังคม 2. เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้อื่น 3. เพื่อรักษามิตรภาพให้ยาวนาน 4. เพื่อมิให้เกิดเรื่องทะเลาะเบาะแว้งกัน 16. ผู้ที่มีสุขภาพจิตดีก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร 1. บุคลิกภาพดี 2. ร่าเริง แจ่มใส 3. ใบหน้าดูอ่อนเยาว์ 4. ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง 17. เพราะเหตุใด จึงกล่าวว่า “จิตใจที่แจ่มใสย่อมอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง” 1. เพราะสุขภาพกายส่งผลต่อสุขภาพจิต 2. เพราะสุขภาพจิตส่งผลต่อสุขภาพกาย 3. เพราะสุขภาพจิตมีความส้าคัญกว่าสุขภาพกาย 4. เพราะสุขภาพกายและสุขภาพจิตมีความสัมพันธ์กัน 18. พฤติกรรมใดไม่ใช่องค์ประกอบในการสร้างความสมดุลระหว่างสุขภาพกายและสุขภาพจิต 1. ใช้เป็น 2. สมาธิเป็น 3. สังคมเป็น 4. กินเป็น อยู่เป็น 19. ปัญหาสุขภาพจิตก่อให้เกิดอาการผิดปกติทางร่างกายยกเว้นข้อใด 1. ฉุนเฉียว โมโหง่าย 2. หายใจติดขัด ใจสั่น 3. อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง 4. ยิ้ม และหัวเราะตลอดเวลา 20. หากปล่อยให้ตนเองมีความเครียดสะสมไว้เป็นเวลานาน จะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยที่รุนแรงได้ยกเว้น ข้อใด 1. โรคจิต 2. โรคเกาต์ 3. โรคกระเพาะอาหาร 4. โรคประสาทบางชนิด 21. เพราะเหตุใด วัยรุ่นจึงควรออกกาลังกายเป็นประจา 1. เพราะวัยรุ่นเป็นวัยที่ต้องการใช้ก้าลัง 2. เพราะวัยรุ่นต้องการเป็นที่ยอมรับในกลุ่มเพื่อน 3. เพราะจะท้าให้ดูโดดเด่นในสายตาของเพศตรงข้าม 4. เพราะช่วยกระตุ้นให้ร่างกายเจริญเติบโตอย่างเต็มที่
  • 6. ~ 6 ~ 22. ผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายดีจะมีผลต่อสุขภาพอย่างไร 1. ท้างานเหนื่อยช้า หายเหนื่อยช้า 2. ท้างานเหนื่อยเร็ว หายเหนื่อยช้า 3. ท้างานเหนื่อยช้า หายเหนื่อยเร็ว 4. ท้างานเหนื่อยเร็ว หายเหนื่อยเร็ว 23. สมรรถภาพทางกายด้านใดมีประโยชน์ในชีวิตประจาวันมากที่สุด 1. ความอดทน 2. ความอ่อนตัว 3. ความคล่องตัว 4. ความสมดุลหรือการทรงตัว 24. ธเนศ ยืนตรง มือทั้งสองประสานกันไว้ที่ท้ายทอย ค่อยๆ ก้มลงด้านหน้า ให้ศอกทั้งสองแตะที่เข่า ขาทั้ง สองเหยียดตรง เป็นการวัดสมรรถภาพด้านใด 1. ความอดทน 2. ความอ่อนตัว 3. ความแข็งแรง 4. พลังกล้ามเนื้อ 25. ใครเลือกเทคนิควิธีการปรับปรุงและพัฒนาสมรรถภาพทางกายของตนเองได้อย่างเหมาะสม 1. บัว ออกก้าลังกายทุกครั้งเมื่อมีโอกาส 2. ปัท จ้างครูฝึกมาสอนที่บ้าน เพื่อให้มีสมรรถภาพทางกายดีขึ้น 3. วุ้น ออกก้าลังกายด้วยการปั่นจักรยานวันละหลายสิบกิโลเมตร 4. นัท เลือกเล่นกีฬาหลายๆ ประเภท โดยค้านึงถึงความสามารถของตนเอง 26. การกระทาของบุคคลในข้อใดเห็นได้ชัดว่า เริ่มเกิดความเครียดแล้ว 1. เอ รู้สึกเบื่ออาหาร 2. บี อยู่กลางแจ้งได้ไม่นาน 3. ซี รับประทานอาหารบ่อยมาก 4. ดี อารมณ์เสียบ่อยๆ และหงุดหงิดง่าย 27. ข้อใดคือลักษณะอาการของผู้มีปัญหาสุขภาพจิต 1. รู้จักควบคุมอารมณ์ 2. รู้จักและเข้าใจตนเอง 3. ไม่สามารถเผชิญกับปัญหาได้ 4. มีสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลอื่น 28. คนที่มักอารมณ์ไม่ดีเป็นประจาจะส่งผลกระทบต่อร่างกายหลายประการยกเว้นข้อใด 1. ปวดท้อง 2. ปวดศีรษะ 3. ความดันโลหิตสูง 4. ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ 29. การปฏิบัติตนในข้อใดไม่ใช่วิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครียด 1. นั่งสมาธิ 2. ฟังเพลงเบาๆ 3. นวดแผนไทย 4. เล่นเกมคอมพิวเตอร์ 30. การออกกาลังกายช่วยผ่อนคลายความเครียดได้อย่างไร 1. ท้าให้รู้สึกสดชื่น 2. ท้าให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย 3. ท้าให้เกิดความสนุกสนาน 4. ท้าให้ลืมความเครียดไปชั่วขณะหนึ่ง
  • 7. ~ 7 ~ 31. การตัดสินใจไปใช้บริการที่สถานบริการสุขภาพมีหลายประการยกเว้นข้อใด 1. ค่าใช้จ่าย 2. อาการของโรค 3. ความสะดวกสบาย 4. ยาและเครื่องมือแพทย์ 32. หากนักเรียนมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรงควรไปใช้สถานบริการสุขภาพในข้อใด 1. คลินิก 2. ร้านขายยา 3. โรงพยาบาล 4. สถานีอนามัย 33. ปัจจัยสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่ควรคานึงเพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการสุขภาพ คือข้อใด 1. ระยะเวลาในการเดินทาง 2. ความปลอดภัยในการรักษา 3. สวัสดิการในการรักษาพยาบาล 4. ความสะดวกสบายของผู้ช่วยเหลือ 34. สถานบริการสุขภาพในข้อใด จัดเป็นการบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ 1. สถานีอนามัย 2. โรงพยาบาลศูนย์ 3. โรงพยาบาลมหาราช 4. สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 35. บุคคลซึ่งเป็นข้าราชการ ควรเลือกใช้บริการทางสุขภาพในข้อใดจึงจะเหมาะสมที่สุด 1. ระบบประกันสังคม 2. หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 3. การประกันสุขภาพภาคเอกชน 4. สวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ 36. การนาเทคโนโลยีทางสุขภาพมาช่วยก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดูแลสุขภาพต่างๆ ยกเว้นข้อใด 1. การสร้างเสริมสุขภาพ 2. การช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุ 3. การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย 4. การป้องกันโรครักษาโรคภัยไข้เจ็บ 37. ข้อใดไม่ใช่การแสดงถึงการใช้เทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพ 1. การผลิตหุ่นยนต์ 2. การผลิตวัคซีนป้องกันโรค 3. การผลิตผลิตภัณฑ์ส้าหรับการออกก้าลังกาย 4. การใช้ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อช่วยในการรักษาโรค 38. ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบด้านบวกของเทคโนโลยีที่มีต่อสุขภาพ 1. เกิดการเรียนรู้ทางด้านสุขภาพในรูปแบบใหม่ 2. ท้าให้รูปแบบของผลิตภัณฑ์มีความแปลกใหม่ 3. เทคโนโลยีทางสุขภาพสร้างโอกาสให้คนพิการ 4. การใช้เทคโนโลยีเกี่ยวกับสุขภาพจะได้รายได้สูง 39. ข้อใดเป็นผลจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ที่ใช้ในการรักษาโรค 1. เครื่องให้ยาสลบ 2. เครื่องตรวจสารเคมี 3. เครื่องช่วยการได้ยิน 4. เครื่องตรวจคลื่นความถี่
  • 8. ~ 8 ~ 40. ตัวอย่างความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ที่ใช้เลเซอร์ในการผ่าตัดก่อให้เกิดผลดีอย่างไร 1. ลดภาวะแทรกซ้อนเพียงเล็กน้อย 2. ความสะดวกของแพทย์และผู้ป่วย 3. เลือดออกน้อยมากระหว่างการผ่าตัด 4. ใช้รักษาโรคของต่อมไทรอยด์ให้หายขาด 41. หากนักเรียนมีเพื่อนติดสารเสพติด นักเรียนควรทาอย่างไร 1. ไม่พูดกับเพื่อน 2. เลิกคบกับเพื่อน 3. แสดงท่าทางรังเกียจเพื่อน 4. แนะน้าให้เพื่อนเลิกเสพสารเสพติด 42. ข้อใดคือวิธีการช่วยเหลือผู้ติดสารเสพติดให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม 1. ไม่พูดคุยกับผู้ป่วย 2. ห้ามผู้ป่วยออกจากบ้าน 3. ห้ามผู้ป่วยเสพสารเสพติดโดยเด็ดขาด 4. ยอมรับและให้ก้าลังใจผู้ป่วยในการเลิกเสพสารเสพติด 43. นักเรียนไปทารายงานบ้านเพื่อน และเพื่อนชักชวนให้นักเรียนสูบบุหรี่ นักเรียนจะพูดว่าอย่างไร 1. “ เอาไว้ค่อยสูบวันหลัง ” 2. “ ดีเหมือนกัน เราก้าลังต้องการอยู่พอดี ” 3. “ ถ้ามีหมากฝรั่งระงับกลิ่น เราถึงจะสูบ ” 4. “ เราให้สัญญากับแม่ไว้ว่าจะไม่สูบบุหรี่ ” 44. การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดมีประโยชน์ต่อสังคม ยกเว้นข้อใด 1. ท้าให้สังคมสงบ 2. ช่วยลดปัญหาอาชญากรรม 3. ท้าให้มีผู้ใช้แรงงานเพิ่มมากขึ้น 4. ให้โอกาสผู้กระท้าผิดได้กลับสู่สังคม 45. ข้อใดเป็นการป้องกันการติดสารเสพติดที่เริ่มต้นจากครอบครัว 1. ช่วยเหลือผู้ติดสารเสพติดให้เข้ารับการบ้าบัดรักษา 2. ช่วยกันสร้างความร่วมมือในการป้องกันสารเสพติด 3. สร้างความรัก ความอบอุ่น ความเข้าใจในครอบครัว 4. คบเพื่อนที่ดีไม่ชักชวนกันไปสู่อบายมุขและสิ่งเสพติด 46. เมื่อพบเห็นเพื่อนกาลังจะเข้าไปในแหล่งอบายมุข อันดับแรกที่นักเรียนควรทาคือข้อใด 1. รีบโทรแจ้งต้ารวจ 2. รีบแจ้งให้ครูอาจารย์ทราบทันที 3. โทรบอกคุณพ่อคุณแม่ของเพื่อนให้มารับ 4. ห้ามเพื่อน และพยายามพาเพื่อนออกจากสถานที่ดังกล่าว 47. เมื่อนักเรียนพบเห็นกลุ่มบุคคลแข่งรถจักรยานยนต์บนท้องถนน สิ่งแรกที่ควรทาคือข้อใด 1. มองดูด้วยความสนุกสนาน 2. ส่งเสียงเชียร์คันที่เราคิดว่าชนะ 3. รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ต้ารวจให้เร็วที่สุด 4. น้ารถจักรยานยนต์มาแข่งกับเขาบ้าง
  • 9. ~ 9 ~ 48. หากนักเรียนต้องการพักผ่อน นักเรียนควรไปสถานที่ใด เพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยง 1. สนามแข่งรถ 2. สถานเริงรมย์ 3. สวนสาธารณะ 4. ร้านคอมพิวเตอร์ 49. ทักษะการปฏิเสธในข้อใดมีความสาคัญในการหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยงมากที่สุด 1. ปฏิเสธที่จะใช้สารเสพติด 2. ปฏิเสธที่จะใช้อินเทอร์เน็ต 3. ปฏิเสธที่จะไปมั่วสุมเล่นการพนัน 4. ปฏิเสธที่จะแข่งขันรถจักรยานยนต์ 50. สิ่งใดที่ควรนามาใช้ร่วมกับทักษะการคิด ตัดสินใจ และแก้ปัญหา เพื่อหลีกเลี่ยงต่อสถานการณ์เสี่ยง ต่างๆ 1. ความรอบรู้ และความกล้าหาญ 2. ความมั่นคง และความกล้าหาญ 3. ความรอบรู้ และประสบการณ์ชีวิต 4. ความมุ่งมั่น และประสบการณ์ชีวิต อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม นักเรียนต้องการเล่นกีฬาฟุตบอล แต่ไม่ทราบถึงกฎ กติกา วิธีการเล่น หรือการแข่งขัน อย่างชัดเจน จึงไปสอบถามผู้เชี่ยวชาญกีฬาฟุตบอลโดยตรง ซึ่งเขาได้ฝึกสอนให้นักเรียน ได้มีความรู้ในกีฬาชนิดนั้นเป็นอย่างดี 51. หากนักเรียนต้องการที่จะพัฒนาการเล่นกีฬาดังกล่าว นักเรียนควรทาอย่างไร 1. สร้างพลังจิตในการฝึก 2. ตั้งเป้าหมายในการฝึกซ้อม 3. ฝึกเทคนิคการเล่นแบบต่างๆ เป็นประจ้า 4. จัดโปรแกรมพัฒนาตนเองสู่ความเป็นเลิศ 52. การเคลื่อนไหวแบบต่างๆ ที่ดีมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประโยชน์กับตนเองอย่างไร 1. สามารถเดินหรือวิ่งได้อย่างรวดเร็ว 2. กล้ามเนื้อส่วนขามีความแข็งแรงมากยิ่งขึ้น 3. สามารถด้าเนินชีวิตประจ้าวันได้อย่างราบรื่น 4. สามารถท้างานที่ต้องใช้พละก้าลังได้เป็นอย่างดี 53. การออกกาลังกายและการเล่นกีฬา ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสติปัญญาอย่างไร 1. ช่วยเสริมสร้างเส้นใยประสาทให้มีจ้านวนเพิ่มมากขึ้น 2. ช่วยพัฒนาด้านจิตใจ และช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด 3. ช่วยพัฒนาความสามารถในด้านสติปัญญาให้เฉียบแหลม 4. ช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพการท้างานของอวัยวะของร่างกาย
  • 10. ~ 10 ~ 54. หากนักเรียนต้องการออกกาลังกาย นักเรียนควรเลือกออกกาลังกายแบบใดจึงจะเหมาะสมกับตนเอง มากที่สุด 1. ปีนป่าย 2. ยืดหยุ่น 3. ร้ามวยจีน 4. เต้นแอโรบิก 55. หากผลการปฏิบัติในการเล่นกีฬาของนักเรียนไม่เป็นที่น่าพอใจ นักเรียนควรทาอย่างไรก่อนเป็น ลาดับแรก 1. เพิ่มทักษะการเล่นกีฬา 2. แก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง 3. ก้าหนดเป้าหมายของการเล่นกีฬา 4. เพิ่มสมรรถภาพทางกายของตนเองให้หนักหน่วง 56. นักเรียนคิดว่า กีฬาตะกร้อลอดห่วง เหมาะสมกับบุคคลใด 1. ผู้ชายที่มีความแข็งแรง 2. ผู้หญิงและผู้ชายทุกวัย 3. วัยรุ่นที่มีส่วนสูงมากพอ 4. วัยเด็กที่มีความคล่องแคล่ว 57. ข้อใดไม่ใช่กฎ กติกา มารยาทในการแข่งขันกีฬาตะกร้อลอดห่วง 1. ก้าหนดให้มีเวลาในการแข่งขัน 40 นาที 2. ในการแข่งขัน ผู้เล่นจะยืนเป็นรูปสี่เหลี่ยม 3. นักกีฬาที่เข้าท้าการแข่งขันจะมีจ้านวนผู้เล่น 7 คน 4. ห้ามผู้เล่นใช้มือในการจับลูกตะกร้อระหว่างการโต้ลูก 58. ก่อนการเล่นกีฬาตะกร้อทุกครั้ง นักเรียนควรทาอย่างไรก่อนเป็นลาดับแรก 1. อบอุ่นร่างกาย 2. เลือกเครื่องแต่งกาย 3. ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ 4. ท้าความสะอาดลูกตะกร้อ 59. หากนักเรียนต้องการเล่นกรีฑาประเภทลู่ นักเรียนควรเลือกเล่นกีฬาชนิดใดจึงจะเหมาะสมที่สุด 1. ขว้างจักร 2. พุ่งแหลน 3. กระโดดสูง 4. วิ่งระยะสั้น 60. ในการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ นักเรียนควรคานึงถึงสิ่งใดเป็นหลัก 1. มุ่งหวังเพื่อท้าเป็นงานอาชีพ 2. สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมนั้นๆ 3. ค่าตอบแทนในการท้ากิจกรรม 4. ความถนัดหรือความสนใจของตนเอง 
  • 11. ~ 11 ~ ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง 1. ข้อใดเป็นลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ของวัยรุ่นที่ชัดเจนมากที่สุด 1. หงุดหงิด อารมณ์แปรปรวนง่าย 2. มีความผูกผันกับเพื่อนต่างเพศมาก 3. พยายามเอาชนะความรู้สึกแบบเด็กๆ 4. คิดหมกมุ่นกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย 2. ปัญหาของการเกิดสิวและกลิ่นตัว มีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงในข้อใด 1. การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน 2. การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างใบหน้า 3. การเปลี่ยนแปลงของไขมันและกล้ามเนื้อ 4. การเปลี่ยนแปลงของร่างกายและความสูง 3. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะการเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น 1. มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูก 2. มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายอย่างชัดเจน 3. มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย 4. มีการเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญาสูงเทียบเท่ากับผู้ใหญ่ 4. ปัจจัยใดมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์มากที่สุด 1. อาหาร 2. พันธุกรรม 3. สภาพแวดล้อมทางสังคม 4. การอบรมเลี้ยงดูของผู้ปกครอง 5. นักเรียนคิดว่าการอบรมเลี้ยงดูมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่นหรือไม่อย่างไร 1. มีผล เพราะมีความส้าคัญต่อความประพฤติและบุคลิกภาพของวัยรุ่น 2. มีผล เพราะลักษณะการอบรมเลี้ยงดูของแต่ละครอบครัวจะแตกต่างกันไป 3. ไม่มีผล เพราะขึ้นอยู่กับปัจจัยทางด้านพันธุกรรมมากกว่า 4. ไม่มีผล เพราะสิ่งที่จะท้าให้วัยรุ่นเจริญเติบโตได้ดีนั้นมาจากการได้รับอาหารที่มีประโยชน์ 1 90 1สุขศึกษาและพลศึกษา ชุดที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
  • 12. ~ 12 ~ 6. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่นมากที่สุด คือข้อใด 1. สื่อ 2. เพื่อน 3. ครอบครัว 4. วัฒนธรรม 7. ข้อใดไม่ใช่อิทธิพลของครอบครัวที่มีต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่น 1. ความศรัทธาในศาสนา 2. ความสัมพันธ์ในครอบครัว 3. ปลูกฝังเจตคติในเรื่องบทบาทชายหญิง 4. ปลูกฝังความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม และการปฏิบัติต่างๆ 8. พฤติกรรมในข้อใดมีโอกาสเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์มากที่สุด 1. เที่ยวแหล่งสถานบันเทิง 2. ดื่มสุราและเสพสารเสพติด 3. ไปดูหนังรอบดึกกับเพื่อนหลายคน 4. ไปเที่ยวกับเพื่อนต่างเพศสองต่อสอง 9. ข้อใดเป็นการป้องกันตนเองจากปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน 1. การหลีกเลี่ยงอยู่ในที่รโหฐาน หรือที่เปลี่ยว 2. การแต่งกายเปิดเผยสัดส่วนแค่เพียงบางส่วน 3. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์เพียงเล็กน้อย 4. ให้เพื่อนเพศตรงข้ามมาค้างที่บ้าน เพราะเป็นเพื่อนสนิทและไว้วางใจได้ 10. หากนักเรียนจาเป็นต้องไปงานเลี้ยงสังสรรค์กับเพื่อน นักเรียนจะมีวิธีการป้องกันตนเองไม่ให้ถูก ล่วงละเมิดทางเพศได้อย่างไร 1. หากจ้าเป็นต้องดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ควรดื่มอย่างรวดเร็ว 2. ชวนพี่ของนักเรียนไปด้วย เมื่อเกิดอะไรขึ้นจะได้มีคนคอยช่วยเหลือ 3. หากงานเลี้ยงเลิกดึก ควรค้างบ้านเพื่อนที่อยู่ใกล้กับสถานที่ที่เราไปสังสรรค์ 4. คอยสอดส่องพฤติกรรมบุคคลที่อยู่ภายในงานหรือบุคคลใกล้ชิดว่ามีท่าทีแปลกไปหรือไม่ 11. การที่ผู้หญิงบางกลุ่มสูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ถือว่าเป็นความเสมอภาคทางเพศหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. เป็นความเสมอภาคทางเพศ เพราะผู้หญิงสามารถท้าได้เหมือนผู้ชาย 2. เป็นความเสมอภาคทางเพศ เพราะผู้หญิงกับผู้ชายมีสิทธิเท่าเทียมกัน 3. ไม่เป็นความเสมอภาคทางเพศ เพราะเป็นเรื่องยาเสพติดไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ 4. ไม่เป็นความเสมอภาคทางเพศ เพราะการกระท้าดังกล่าวสังคมไทยยังไม่ยอมรับ 12. ความเสมอภาคทางเพศต้องมีสิ่งใดเป็นองค์ประกอบ 1. กฎหมายทางเพศ 2. การยอมรับในความสามารถของแต่ละเพศ 3. การวางตัวอย่างเหมาะสมของชายและหญิง 4. บทบาททางเพศของแต่ละเพศกับการพัฒนาสังคม
  • 13. ~ 13 ~ 13. ข้อใดเป็นหลักการวางตัวต่อเพศตรงข้ามที่ถูกต้อง 1. ให้เกียรติซึ่งกันและกัน 2. พูดจาประชดประชันกัน 3. ใช้วาจาที่รุนแรงและไม่สุภาพ 4. เล่าเรื่องส่วนตัวให้คู่สนทนาฟัง 14. ข้อใดเป็นการวางตัวต่อเพศตรงข้ามในฐานะเพื่อนต่างเพศอย่างไม่เหมาะสม 1. ดูภาพยนตร์ด้วยกัน 2. จับมือถือแขนต่อหน้าเพื่อนๆ 3. ไปเที่ยวค้างคืนด้วยกันตามล้าพัง 4. โทรศัพท์คุยกันบ่อยๆ ครั้งละเวลานาน 15. การวางตัวหรือปรับตัวที่เหมาะสม ควรปฏิบัติอย่างไร 1. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 2. มีความสุภาพ อ่อนโยน 3. พัฒนาบุคลิกภาพให้ดูดี 4. สร้างแรงจูงใจให้กับผู้อื่น 16. ผู้ที่มีสุขภาพกายดีจะมีลักษณะอย่างไร 1. พัฒนาการสมวัย 2. ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ 3. ร่างกายมีภูมิต้านทานโรคดี 4. ระบบต่างๆ ในร่างกายท้างานเป็นปกติ 17. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตดี 1. ควบคุมอารมณ์ได้ 2. จิตใจร่าเริงแจ่มใส 3. จิตใจอ่อนไหวง่าย 4. ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ 18. จากคากล่าวที่ว่า “ สุขภาพจิตที่ดี มักจะอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์ ” นักเรียนเห็นด้วยกับคากล่าวนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด 1. เห็นด้วย เพราะผู้มีสุขภาพกายที่ดี มักจะมีสุขภาพจิตที่ดีด้วย 2. เห็นด้วย เพราะคนที่ร่างกายสมบูรณ์ส่วนใหญ่จะมีสุขภาพจิตดี 3. ไม่เห็นด้วย เพราะสุขภาพกายกับสุขภาพจิตไม่มีความสัมพันธ์กัน 4. ไม่เห็นด้วย เพราะคนที่มีสุขภาพจิตดีไม่จ้าเป็นต้องมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง 19. การที่บุคคลรู้จักควบคุมอารมณ์ สามารถยอมรับได้ทั้งความสาเร็จและความผิดหวัง แสดงให้เห็นถึง อะไร 1.การรู้จักและเข้าใจผู้อื่น 2. การรู้จักและเข้าใจตนเอง 3. ความสามารถในการเผชิญปัญหา 4. การยอมรับความเป็นจริงของชีวิต 20. ข้อใดอธิบายประโยชน์ของการจัดการกับอารมณ์และความเครียดได้ชัดเจนที่สุด 1. หัวใจเต้นช้าลง 2. มีสมรรถภาพทางกายที่ดี 3. รับประทานอาหารได้มากขึ้น 4. มีอารมณ์ร่าเริงแจ่มใส โกรธยาก 21. ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์ของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1. เพื่อทราบสมดุลของร่างกาย 2. วัดความแข็งแรงของร่างกาย 3. เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรง 4. เพื่อปรับปรุงข้อบกพร่องของร่างกาย
  • 14. ~ 14 ~ 22. กิจกรรมในข้อใดเสริมสร้างการทางานประสานสอดคล้องกันระหว่างตา มือ และเท้า 1. วิ่งซิกแซ็ก 2. วิ่ง 100 เมตร 3. กระโดดเท้าแยก 4. กระโดดหมุนตัว 23. เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณนกหวีดของครูผู้สอนแล้วออกวิ่งให้เร็วที่สุด จัดได้ว่าใช้สมรรถภาพทางกาย ในลักษณะใด 1. ด้านกลไก 2. ด้านความเร็ว 3. ด้านความคล่องตัว 4. ด้านพลังกล้ามเนื้อ 24. ปัจจัยใดสาคัญที่สุดที่จะช่วยให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายที่ดี 1. มีต้นแบบ 2. พรสวรรค์ 3. การฝึกฝน 4. มีความพร้อม 25. ข้อใดเป็นหลักการออกกาลังกายเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกาย 1. ออกก้าลังกายจนหัวใจเต้น คิดเป็นร้อยละ 40 – 50 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด เป็นเวลา ไม่น้อยกว่า 10 นาที สัปดาห์ละ 1 – 2 ครั้ง 2. ออกก้าลังกายจนหัวใจเต้น คิดเป็นร้อยละ 60 – 90 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด เป็นเวลา ไม่น้อยกว่า 30 นาที สัปดาห์ละ 3 – 5 ครั้ง 3. ออกก้าลังกายจนหัวใจเต้น คิดเป็นร้อยละ 70 – 80 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด เป็นเวลา ไม่น้อยกว่า 40 นาที สัปดาห์ละ 1 – 2 ครั้ง 4. ออกก้าลังกายจนหัวใจเต้น คิดเป็นร้อยละ 80 – 90 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด เป็นเวลา ไม่น้อยกว่า 50 นาที สัปดาห์ละ 3 – 5 ครั้ง 26. ปัญหาสุขภาพจิตก่อให้เกิดอาการผิดปกติทางร่างกายยกเว้นข้อใด 1. ฉุนเฉียว โมโหง่าย 2. หายใจติดขัด ใจสั่น 3. ยิ้ม และหัวเราะตลอดเวลา 4. อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง 27. ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตมักจะมีอารมณ์แปรปรวนง่าย นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. เห็นด้วย เพราะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ให้คงที่ได้ 2. เห็นด้วย เพราะผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตจะมีอารมณ์หลายลักษณะ 3. ไม่เห็นด้วย เพราะคนปกติทั่วไปก็สามารถมีอารมณ์แปรปรวนได้ 4. ไม่เห็นด้วย เพราะอารมณ์แปรปรวนนั้นเกิดขึ้นได้ทุกเวลาเมื่อมีความวิตกกังวล 28. ใครจัดการกับความเครียดได้เหมาะสมที่สุด 1. กาย ปาและท้าลายสิ่งของทุกอย่าง 2. แก้ว ซื้อของที่ตนเองอยากได้ทุกอย่าง 3. เกด ออกไปเที่ยวสถานเริงรมย์กับเพื่อน 4. กุ๊ก อ่านหนังสือที่ตนเองชอบ แม้จะเคยอ่านแล้ว
  • 15. ~ 15 ~ 29. การจัดการกับอารมณ์และความเครียดมีความจาเป็นหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. จ้าเป็น เพราะความเครียดไม่มีประโยชน์ใดๆ เลย 2. จ้าเป็น เพราะความเครียดมีผลกระทบต่อสุขภาพและจิตใจ 3. ไม่จ้าเป็น เพราะไม่มีทางที่จะขจัดความเครียดได้ 4. ไม่จ้าเป็น เพราะความเครียดก่อให้เกิดความกระตือรือร้น 30. การหัวเราะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกาจัดความเครียดอย่างไร 1. ท้าให้รู้สึกสดชื่น เกิดความสนุกสนาน 2. เป็นการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น 3. ช่วยให้ร่างกายได้ผ่อนคลายความเครียด 4. ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง 31. การประกันสุขภาพรูปแบบใดมักเป็นกลุ่มผู้มีฐานะและมีรายได้สูงเข้าใช้บริการ 1. ระบบประกันสังคม 2. หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 3. การประกันสุขภาพภาคเอกชน 4. สวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ 32. ข้อใดไม่ใช่สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับในระบบประกันสังคม 1. ประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ 2. ประโยชน์ทดแทนในกรณีคลอดบุตร 3. ประโยชน์ทดแทนในกรณีสงเคราะห์บุตร 4. คุ้มครองด้านการรักษาพยาบาลแก่ครอบครัว 33. หากทุกคนไม่มีแนวทางการเลือกใช้บริการทางสุขภาพจะส่งผลกระทบอย่างไร 1. ไม่ได้รับความเอาใจใส่ดูแลอย่างทั่วถึงเท่าที่ควร 2. อาจท้าให้สูญเสียโอกาสในการรับบริการที่มีคุณภาพ 3. ได้รับการรักษาจากแพทย์ที่ไม่มีความเชี่ยวชาญมากพอ 4. เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่มากเกินความจ้าเป็น 34. “ ควรประเมินว่าอาการของเรานั้นเป็นมากน้อยเพียงใด ” ข้อความดังกล่าว เป็นแนวทางการเลือกใช้ บริการสุขภาพในข้อใด 1. การพิจารณาปัจจัยแวดล้อมอื่น 2. การตัดสินใจเลือกใช้บริการสุขภาพ 3. การประเมินภาวะสุขภาพของตนเอง 4. การประเมินขีดความสามารถของสถานบริการสุขภาพ
  • 16. ~ 16 ~ 35. เพราะเหตุใด เราจึงควรมีวิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกใช้บริการสุขภาพ 1. เพราะจะได้ผลจากการรักษาที่ดี 2. เพราะจะได้รับบริการได้อย่างทันท่วงที 3. เพราะจะได้เข้ารับบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ 4. เพราะจะได้ประเมินค่าใช้จ่ายในการเดินทางได้ถูกต้อง 36. การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพยกเว้นข้อใด 1. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท้าให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น 2. การใช้โทรศัพท์มือถือนานๆ จะท้าให้เกิดอาการปวดหู 3. การใช้คอมพิวเตอร์นานเกิน 6 ชั่วโมง ท้าให้เกิดความเครียด 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถืออาจท้าให้เกิดโรคความจ้าเสื่อม 37. ข้อใดเป็นผลระยะสั้นที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ 1. หูตึง 2. โรคมะเร็งสมอง 3. โรคความจ้าเสื่อม 4. ปวดหู ปวดศีรษะ 38. ข้อใดเป็นความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ที่มีผลต่อสุขภาพ 1. การผลิตหุ่นยนต์ช่วยเหลือมนุษย์ 2. การคิดค้นวิธีรักษาโรคด้วยวิธีใหม่ๆ 3. การผลิตเครื่องช่วยก้าจัดแมลงในพืช 4. การแปรรูปวัตถุดิบเพื่อเป็นการถนอมอาหาร 39. ระบบการแพทย์ใดที่สามารถพิสูจน์และตรวจสอบได้ รวมทั้งประชาชนให้การยอมรับเป็นอย่างสูง 1. การแพทย์แผนไทย 2. การแพทย์ทางเลือก 3. การแพทย์แผนปัจจุบัน 4. การแพทย์แผนไทยประยุกต์ 40. ในการพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีทางสุขภาพ ควรยึดหลักต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด 1. ความคุ้มค่า 2. ความประหยัด 3. ความน่าเชื่อถือ 4. การมีประสิทธิผล 41. สิ่งสาคัญที่สุดที่จะทาให้การบาบัดฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดประสบความสาเร็จได้คือข้อใด 1. ชุมชนยอมรับ 2. โอกาสที่สังคมเปิดให้ 3. ความพร้อมของครอบครัว 4. ความพร้อมของผู้ที่จะรับการบ้าบัด 42. ข้อใดหมายถึงการบาบัดทางจิตให้กับผู้ติดสารเสพติด 1. การแก้ไขพฤติกรรมของผู้ใช้สารเสพติด 2. การให้ผู้ติดสารเสพติดนั่งสมาธิเพื่อท้าจิตใจให้สงบ 3. การรักษาโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากการใช้สารเสพติด 4. การให้ก้าลังใจ หรือรักษาอาการทางจิตที่เกิดจากเซลล์สมองถูกท้าลาย
  • 17. ~ 17 ~ อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามข้อ 43. – 44. แก้วกับจุ๋มเป็นเพื่อนกัน ทั้ง 2 คนก้าลังเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ทั้งคู่เป็น เด็กเรียนดี และชอบท้ากิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน วันหนึ่งคุณครูประจ้าชั้นได้แจ้งผลคะแนนเก็บ ประจ้าภาคเรียนให้นักเรียนทุกคนทราบ ผลปรากฏว่า แก้วได้คะแนนเก็บมากกว่าจุ๋ม จุ๋มรู้สึกเครียด มาก เพราะตนเองจะได้คะแนนมากกว่าแก้วเสมอ จุ๋มจึงไปปรึกษาพี่ป้อง ซึ่งเป็นรุ่นพี่ที่โรงเรียนและมี บ้านอยู่ในละแวกเดียวกัน พี่ป้องให้ยาเม็ดกับจุ๋มมา 10 เม็ด บอกว่าให้กินก่อนอ่านหนังสือทุกวัน เพราะยานี้เป็นยาขยัน จะท้าให้อ่านหนังสือได้นานและจดจ้าได้ดี ซึ่งจุ๋มไม่รู้เลยว่าเป็นยาอะไร 43. หากนักเรียนเป็นเพื่อนของจุ๋ม นักเรียนจะให้จุ๋มรับประทานยาที่พี่ป้องให้มาหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. ให้รับประทาน เพราะจะช่วยให้จุ๋มท้าคะแนนได้ดี 2. ให้รับประทาน เพราะเป็นยาขยันท้าให้อ่านหนังสือได้นานและจดจ้าได้ดี 3. ไม่ให้รับประทาน เพราะหากรับประทานหมดแล้ว อาจไม่มีเงินไปซื้อเพิ่ม 4. ไม่ให้รับประทาน เพราะยานั้นอาจเป็นยาเสพติด ก่อให้เกิดโทษมากกว่าประโยชน์ 44. นักเรียนจะให้คาแนะนาจุ๋มอย่างไร เพื่อให้จุ๋มมีผลการเรียนที่ดีตามที่ตั้งใจไว้ 1. ให้จุ๋มมุ่งมั่นตั้งใจอ่านหนังสือทุกคืนจนถึงเช้า 2. ให้จุ๋มตั้งใจเรียน และหมั่นทบทวนความรู้อยู่เสมอ 3. ให้จุ๋มดื่มเครื่องดื่มชูก้าลังเพื่อกระตุ้นการอ่านหนังสือได้นานขึ้น 4. ให้จุ๋มเลิกท้ากิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน และไปเรียนพิเศษเพิ่มเติม 45. กระบวนการบาบัดรักษาผู้ป่วยที่ติดสารเสพติดในขั้นฟื้นฟูสมรรถภาพมีเป้าหมายสาคัญคืออะไร 1. มุ่งให้รู้จักรักษาสุขภาพ 2. มุ่งให้ปรับตัวเข้าสู่สังคมได้ 3. มุ่งเสริมทักษะในการกลับคืนสู่สังคม 4. มุ่งให้ผู้ป่วยหลุดพ้นจากการเสพติดทั้งกายและใจ 46. นักเรียนคิดว่าจาเป็นหรือไม่ที่ต้องหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์เสี่ยง 1. จ้าเป็น เพราะช่วยลดผลกระทบต่อสังคม 2. จ้าเป็น เพราะช่วยสร้างความปลอดภัยของบุคคล 3. ไม่จ้าเป็น เพราะเป็นเรื่องไกลตัวเรา 4. ไม่จ้าเป็น เพราะหน่วยงานต่างๆ คอยปราบปรามอยู่ 47. ข้อใดคือพฤติกรรมเสี่ยงที่ทาให้เกิดความรุนแรงมากที่สุด 1. ดื่มสุรา 2. เล่นการพนัน 3. เสพสารเสพติด 4. เล่นเกมคอมพิวเตอร์
  • 18. ~ 18 ~ 48. บุคคลใดสามารถหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์เสี่ยงต่ออันตรายได้อย่างเหมาะสม 1. แสน ชอบเล่นการพนันบอลเมื่อมีโอกาส 2. นิด ชอบไปเที่ยวกับเพื่อนๆ หลังเลิกเรียน 3. สน ชอบนัดเพื่อนไปดื่มสุราในตึกร้างแถวบ้าน 4. นุ่น ชอบพูดคุยกับเพื่อนที่สนิทและไว้วางใจได้ 49. ข้อใดไม่ใช่ทักษะชีวิตในการป้องกันตนเองเพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยงที่อาจนาไปสู่อันตราย 1. ทักษะการคิด 2. ทักษะการต่อสู้ 3. ทักษะการต่อรอง 4. ทักษะการปฏิเสธ 50. บุคคลต่อไปนี้ผู้ใดอยู่ในสถานการณ์ที่คับขันมากที่สุด 1. เอ ถูกเพื่อนบังคับให้สูบบุหรี่ 2. บี ถูกคนเมายาบ้าจับเป็นตัวประกัน 3. ซี ใช้ค้าพูดโต้ตอบกับเพื่อนอย่างดุดัน 4. ดี ถูกโจรกระชากสร้อยบนสะพานลอย 51. ทักษะกลไกและความสามารถทางกลไกมีประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตอย่างไร 1. ช่วยท้าให้มีรูปร่างที่สมส่วน 2. ช่วยให้สามารถเคลื่อนไหวได้ดี 3. ช่วยพัฒนาบุคลิกภาพให้ดูดียิ่งขึ้น 4. ช่วยท้าให้เกิดความปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุสุดวิสัย 52. การเคลื่อนไหวเพื่อการออกกาลังกาย และการเคลื่อนไหวเพื่อปฏิบัติกิจกรรมในการดาเนิน ชีวิตประจาวันมีความแตกต่างกันในเรื่องใด 1. เวลาและสถานที่ 2. ค่าใช้จ่ายอุปกรณ์ 3. การเผาผลาญพลังงาน 4. รูปแบบการเคลื่อนไหว 53. การออกกาลังกายและเล่นกีฬา ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างไร 1. ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง 2. ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด 3. ช่วยให้กล้ามเนื้อทุกส่วนแข็งแรง 4. ช่วยให้ระบบประสาทท้างานได้ดี 54. นักเรียนต้องการออกกาลังกาย แต่ไม่ค่อยถนัดการเล่นกีฬาต่างๆ นักเรียนควรเลือกออกกาลังกายแบบใด จึงจะเหมาะสมที่สุด 1. วิ่ง 2. โยคะ 3. ฟุตบอล 4. ยกน้้าหนัก 55. หากนักเรียนจะเพิ่มทักษะการเล่นกีฬาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นักเรียนควรทาอย่างไร 1. ก้าหนดเป้าหมายเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง 2. เพิ่มทักษะการเล่นด้วยวิธีการฝึกแบบหนักสลับเบา 3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้เชี่ยวชาญทางกีฬานั้นๆ 4. สร้างประสบการณ์ที่สร้างสรรค์ให้กับตนเองด้วยการฝึกซ้อมบ่อยๆ
  • 19. ~ 19 ~ 56. การเตรียมความพร้อมสาหรับการเล่นตะกร้อลอดห่วง มีความสาคัญอย่างไร 1. เพื่อให้เกิดความสุขุมรอบคอบในการเล่นหรือแข่งขัน 2. เพื่อความปลอดภัยและความสะดวกในการเล่นหรือแข่งขัน 3. เพื่อให้ผู้เล่นเกิดความสามัคคี และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน 4. เพื่อให้ผู้เล่นเกิดความแคล่วคล่องว่องไวในการเล่นหรือแข่งขัน 57. ข้อใดคือ กฎ กติกา มารยาทในการแข่งขันตะกร้อลอดห่วง 1. ห้ามไม่ให้ผู้เล่นใช้มือในการโต้ลูก 2. เมื่อเริ่มการแข่งขันผู้เล่นห้ามสลับเปลี่ยนที่กัน 3. ในระหว่างการแข่งขันไม่อนุญาตให้เปลี่ยนตัวผู้เล่น 4. เมื่อเกิดอุบัติเหตุระหว่างการแข่งขัน ให้หยุดได้ไม่เกิน 10 นาที 58. เพราะเหตุใด ในขณะเล่นตะกร้อจึงต้องคอยตรวจดูสภาพลูกตะกร้ออยู่เสมอ 1. เพื่อความปลอดภัยของผู้เล่น 2. เพื่อไม่ให้ผิดกฎ กติกา ในการแข่งขัน 3. เพื่อให้ผู้เล่นมีสมาธิในระหว่างการแข่งขัน 4. เพื่อจะได้เปลี่ยนลูกตะกร้อใหม่ที่ดีกว่าเดิม 59. การวิ่งผลัดที่ถูกต้องตามกฎ กติกา ควรปฏิบัติอย่างไร 1. ส่งไม้คทาด้วยมือซ้ายและรับด้วยมือขวาเสมอ 2. ถือคทาด้วยมือที่เหวี่ยงไปข้างหลังในก้าวแรก 3. นักกีฬาต้องรู้จักควบคุมความเร็วในการวิ่งสม่้าเสมอ 4. การส่งไม้คทาจะท้าในช่วงใดก็ได้ที่ผู้ส่งและผู้รับพร้อม 60. ข้อใดคือประโยชน์ที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการจะได้รับเมื่อเข้าร่วมกิจกรรม 1. ช่วยส่งเสริมพัฒนาบุคลิกภาพให้ดูดีมากยิ่งขึ้น 2. ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3. ช่วยผ่อนคลายความเครียดจากภารกิจหน้าที่ประจ้า 4. ช่วยฟื้นฟูสภาพร่างกายให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง 
  • 20. ~ 20 ~ เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 2 1. 1 2. 1 3. 4 4. 1 5. 2 6. 3 7. 1 8. 4 9. 1 10. 4 11. 4 12. 3 13. 1 14. 3 15. 1 16. 2 17. 3 18. 1 19. 2 20. 4 21. 2 22. 3 23. 2 24. 3 25. 2 26. 3 27. 1 28. 4 29. 2 30. 3 31. 3 32. 4 33. 2 34. 3 35. 3 36. 1 37. 4 38. 2 39. 3 40. 2 41. 4 42. 4 43. 4 44. 2 45. 4 46. 2 47. 3 48. 4 49. 2 50. 2 51. 4 52. 4 53. 2 54. 1 55. 2 56. 2 57. 1 58. 1 59. 3 60. 3 เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 1 1. 3 2. 3 3. 4 4. 2 5. 1 6. 1 7. 4 8. 4 9. 4 10. 1 11. 2 12. 4 13. 4 14. 2 15. 3 16. 4 17. 4 18. 1 19. 4 20. 2 21. 4 22. 3 23. 1 24. 2 25. 4 26. 4 27. 3 28. 3 29. 4 30. 2 31. 3 32. 3 33. 1 34. 1 35. 4 36. 2 37. 1 38. 4 39. 3 40. 3 41. 4 42. 4 43. 4 44. 3 45. 3 46. 4 47. 3 48. 3 49. 1 50. 3 51. 3 52. 3 53. 3 54. 4 55. 2 56. 2 57. 2 58. 1 59. 4 60. 4 
  • 21. ~ 21 ~ เฉลยแบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2 เฉลยอย่างละเอียด 1. ตอบ ข้อ 3. แสดงให้เห็นว่าวัยรุ่นชายและวัยรุ่นหญิงมีวุฒิภาวะทางเพศแล้ว ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นกับ ทุกคนตามธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเพศของมนุษย์ ไม่ใช่เรื่อง แปลกหรือเป็นสิ่งที่น่าอับอายหรือผิดปกติ แต่เป็นการแสดงออกของร่างกายที่บ่งบอกให้รู้ ว่าร่างกายมีวุฒิภาวะทางเพศที่สมบูรณ์แล้ว และมีความพร้อมทางด้านร่างกายที่จะมีบุตรได้ 2. ตอบ ข้อ 3. วัยรุ่นชายจะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายที่เด่นชัด ได้แก่ มีขนขึ้นบริเวณหัวหน่าว รักแร้ มีหนวด เครา ไหล่กว้างขึ้น เสียงห้าว และมีการหลั่งน้้าอสุจิ ส่วนวัยรุ่นหญิงจะ มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายที่เด่นชัด ได้แก่ มีขนขึ้นบริเวณหัวหน่าว รักแร้ มีการเจริญเติบโตของเต้านม สะโพกผาย เอวคอด เสียงทุ้ม นุ่มนวล และมีประจ้าเดือน 3. ตอบ ข้อ 4. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสติปัญญาจะพัฒนาสูงขึ้นจนมีความคิดเป็นรูปธรรม หมายถึง ความสามารถเรียนรู้เข้าใจเหตุการณ์ต่างๆ ได้ลึกซึ้งขึ้น มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์สิ่งต่างๆ ได้มากขึ้น จนเมื่อพ้นช่วงวัยรุ่นแล้ว จะมีความสามารถทาง สติปัญญาเหมือนผู้ใหญ่ คือ เริ่มมีความคิดแบบนามธรรม 4. ตอบ ข้อ 2. สิ่งแวดล้อมต่างๆ จะมีอิทธิพลต่อตัวเด็กนับตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิในครรภ์มารดา จนกระทั่ง คลอดออกมาเป็นทารก เจริญเติบโตและพัฒนาผ่านวัยต่างๆ หากวัยรุ่นอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ ไม่เหมาะสม เช่น สถานเริงรมย์ พ่อแม่เสพสารเสพติด เล่นการพนันหรือทะเลาะวิวาทกัน เป็นต้น เมื่อวัยรุ่นพบเห็นเป็นประจ้า จะส่งผลให้มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น มีจิตใจ แข็งกระด้าง ก้าวร้าว พูดจาหยาบคาย ว้าเหว่ ขาดความอบอุ่น เป็นต้น 5. ตอบ ข้อ 1. ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม เพราะเป็นสิ่งที่ติดตัวมาตั้งแต่ก้าเนิด จึงไม่สามารถเปลี่ยนแปลง ได้ ซึ่งจะแตกต่างกับสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมหรือการปฏิบัติที่คนเราสามารถปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขให้ดีขึ้นได้เสมอ 6. ตอบ ข้อ 1. ข้อความดังกล่าวเป็นค้าที่แสดงให้เห็นถึงเจตคติทางเพศ ซึ่งหมายถึง ความเชื่อ ความรู้สึก และความพร้อมที่จะกระท้าต่อสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ มีผลต่อการปฏิบัติที่เกี่ยวกับเรื่อง เพศของบุคคลหากวัยรุ่นมีเจตคติทางเพศในลักษณะที่จะน้าไปสู่การปฏิบัติที่ไม่ถูกต้อง หรือเสี่ยงต่อการมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่พึงประสงค์ก็จะก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาได้ 7. ตอบ ข้อ 4. ผลจากสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทางสังคมไทยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศที่เปลี่ยนไป ส่งผลให้วัยรุ่นไทยเกิดค่านิยมและมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในหลายลักษณะ เช่น ค่านิยม ในเรื่องการแต่งกายตามสมัยนิยมที่มากเกินไปของวัยรุ่น ซึ่งพยายามแต่งกายให้เป็นที่ โดดเด่นในสายตาผู้อื่น โดยไม่ได้ค้านึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ทั้งนี้เพียงเพราะว่า ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนและดูโดดเด่นในสายตาของเพศตรงข้าม
  • 22. ~ 22 ~ 8. ตอบ ข้อ 4. ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีมากขึ้น โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นสื่อที่มี อิทธิพลต่อวัยรุ่นมากทั้งในด้านบวกและด้านลบ แต่ส่วนใหญ่ได้มีการน้าอินเทอร์เน็ตไปใช้ ในทางที่ผิด เช่น การเผยแพร่ภาพลามกอนาจาร การล่อลวงผ่านห้องสนทนา เป็นต้น ส่งผล ให้เกิดพฤติกรรมด้านลบ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา ดังนั้นจึงปฏิเสธไม่ได้ว่า อินเทอร์เน็ตมีอิทธิพลต่อการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นมากที่สุด 9. ตอบ ข้อ 4. การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนจะก่อให้เกิดปัญหาและผลกระทบต่างๆ ตามมา ทั้งต่อตัววัยรุ่น ครอบครัว และสังคม โดยเฉพาะปัญหาทางสังคมที่เกิดจากการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ จะส่งผลให้ประชากรมีจ้านวนเพิ่มมากขึ้น และไม่มีคุณภาพเท่าที่ควร เนื่องจากเด็กที่เกิดมา ไม่ได้เกิดจาก ความรัก ความตั้งใจของพ่อแม่ แต่เกิดมาจากความผิดพลาดของพ่อแม่ จึงท้าให้เด็กกลุ่มนี้ไม่ได้รับความรัก การดูแลเอาใจใส่ ส่งผลให้มีปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น เด็กถูกทอดทิ้ง เด็กมีพฤติกรรมก้าวร้าว เป็นต้น 10. ตอบ ข้อ 1. การปฏิเสธ เป็นส่วนหนึ่งของการสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารด้วยความสามารถใน การใช้ค้าพูด หรือท่าทาง โดยทุกคนมีสิทธิที่จะปฏิเสธในสิ่งที่ตนเองไม่อยากท้าหรือเสี่ยง ต่อความปลอดภัยได้ ซึ่งการรู้จักปฏิเสธอย่างตรงไปตรงมาถือว่าเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะช่วย ให้รอดพ้นจากสถานการณ์เสี่ยงนั้นๆ 11. ตอบ ข้อ 2. คือ การก้าหนดสิทธิเท่าเทียมกันของชายและหญิง แต่ต้องอยู่ภายใต้กรอบที่เหมาะสมของ วัฒนธรรมที่ดีงามของสังคมไทย 12. ตอบ ข้อ 4. ความเสมอภาคทางเพศเป็นเรื่องที่เพศชายและเพศหญิง มีสิทธิและเสรีภาพในการแสดง บทบาท ทางเพศของตนเองต่อสังคมได้อย่างเท่าเทียมกัน โดยเป็นไปตามที่กฎหมายก้าหนด 13. ตอบ ข้อ 4. ความเสมอภาคทางเพศตามกฎหมายที่มีการเรียกร้องให้มีการแก้ไขในปัจจุบัน คือ การยินยอมให้เพศหญิงที่แต่งงานแล้วใช้ค้าน้าหน้าเป็นนางสาวได้ และสามารถเลือกใช้ นามสกุลของตนเองหรือสามีได้ 14. ตอบ ข้อ 2. ไม่ควรอยู่ตามล้าพังกับเพื่อนชาย โดยเฉพาะการอยู่ด้วยกันตามล้าพังสองต่อสอง ซึ่งเป็นสิ่ง ที่ไม่เหมาะสมอย่างยิ่ง เพราะอาจจะน้าไปสู่สถานการณ์เสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ได้ 15. ตอบ ข้อ 3. การวางตัวต่อเพศตรงข้ามอย่างถูกต้อง เหมาะสม จะช่วยท้าให้เพศชายและเพศหญิง สามารถปรับตัว เข้าหากันได้เป็นอย่างดี และเป็นการช่วยสร้างสัมพันธภาพอันดีงามเพื่อ รักษามิตรภาพให้ยาวนาน 16. ตอบ ข้อ 4. ผู้ที่มีสุขภาพจิตดีย่อมมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง เพราะกายและจิตเป็นสิ่งที่สัมพันธ์กัน ซึ่งถ้าจิตดีและมีความสุขกายก็จะแข็งแรง และปราศจากโรคภัยไข้เจ็บด้วย 17. ตอบ ข้อ 4. เพราะร่างกายและจิตใจมีความสัมพันธ์ที่เชื่อมกันจนแยกไม่ออก โดยสุขภาพกายก็จะแสดง ให้ทราบถึงสุขภาพทางจิตได้ เช่น จิตใจที่มีความทุกข์ร้อน กระวนกระวาย ส่งผลให้กิน ไม่ได้นอนไม่หลับร่างกาย ทรุดโทรม ก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ เบียดเบียน แต่ถ้า
  • 23. ~ 23 ~ ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ก็ย่อมที่จะท้าให้จิตใจสุขสบายไม่มัวหมอง ได้เช่นกัน เป็นต้น 18. ตอบ ข้อ 1. สุขภาพกายและสุขภาพจิตมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ดังนั้นสุขภาพกายและสุขภาพจิต จึงต้องตั้งอยู่บนคานที่สมดุล ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งเปลี่ยนแปลงจะท้าให้ความสมดุลของคาน เสียไป ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพได้ ดังนั้นการสร้างความสมดุลระหว่าง สุขภาพกายและสุขภาพจิตจึงต้องมีองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ กินเป็น อยู่เป็น สังคมเป็น สมาธิเป็น 19. ตอบ ข้อ 4. ปัญหาสุขภาพจิตก่อให้เกิดอาการผิดปกติทางร่างกาย เช่น ฉุนเฉียว โมโหง่าย หายใจติดขัด ใจสั่น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ท้างานประจ้าวันไม่ค่อยได้ เป็นต้น 20. ตอบ ข้อ 3. เมื่อมีความเครียดสะสมไว้เป็นเวลานาน โดยไม่ได้ผ่อนคลายจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยที่ รุนแรงได้ เช่น โรคจิต โรคประสาทบางชนิด โรคกระเพาะอาหาร เป็นต้น แต่ส้าหรับ โรคเกาต์นั้นไม่ได้เป็นโรคที่เกิดจากความเครียด แต่เป็นโรคที่เกิดจากการสะสมของกรด ยูริกในร่างกายเป็นระยะเวลานาน จนเกิดการตกผลึกของเกลือยูเรตในข้อ และเกิด ข้ออักเสบตามมาในที่สุด 21. ตอบ ข้อ 4. เพราะการออกก้าลังกายเป็นประจ้า จะช่วยกระตุ้นให้ร่างกายเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะวัยรุ่นซึ่งเป็นวัยที่อยู่ในระหว่างการเจริญเติบโต กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกาย จะมีการพัฒนาอย่างเต็มที่และได้สัดส่วน ท้าให้การท้างานต่างๆ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 22. ตอบ ข้อ 3. เนื่องจากผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายดีนั้น จะสามารถประกอบกิจกรรมในชีวิตประจ้าวันได้ อย่างกระฉับกระเฉงโดยไม่เหนื่อยล้าจนเกินไป ซึ่งถ้าเหนื่อยก็จะหายเหนื่อยได้เร็ว อีกทั้งยัง มีพลังงานส้ารองมากพอส้าหรับปฏิบัติกิจกรรมนันทนาการหรือใช้ในกรณีฉุกเฉินได้ 23. ตอบ ข้อ 1. ทุกข้อถือเป็นสมรรถภาพทางกายที่มีประโยชน์ในชีวิตประจ้าวัน แต่ความอดทนนั้นมี ประโยชน์ในชีวิตประจ้าวันมากที่สุด เนื่องจากในชีวิตประจ้าวันเราจ้าเป็นต้องใช้ ความอดทนในการประกอบกิจกรรมซ้้าๆ ได้เป็นระยะเวลานานอย่างมีประสิทธิภาพ 24. ตอบ ข้อ 2. จากการปฏิบัติของธเนศ เป็นการวัดสมรรถภาพทางด้านความอ่อนตัว ซึ่งเป็นความสามารถ ของกล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ ในการเคลื่อนไหวด้วยมุมกว้างหรือไกลที่สุด 25. ตอบ ข้อ 4. นัทเลือกเทคนิควิธีการปรับปรุงและพัฒนาสมรรถภาพทางกายของตนเองได้อย่างเหมาะสม ด้วยการเลือกเล่นกีฬาหลายๆ ประเภท โดยค้านึงถึงความสามารถของตนเอง ซึ่งจะท้าให้ สามารถพัฒนาสมรรถภาพทางกายของตนเองให้ก้าวหน้าได้ดียิ่งขึ้น 26. ตอบ ข้อ 4. ความเครียดที่เกิดขึ้นสามารถแสดงให้เราทราบได้ โดยมีอาการหรือสัญญาณแสดงออก ให้สังเกตเห็น และประเมินได้ เช่น กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ อารมณ์เสียบ่อย หงุดหงิดง่าย เป็นต้น