SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 1 -
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ
 ตาแหน่ง ระยะทางและการกระจัด (Position, Distance and Displacement)
 อัตราเร็วและความเร็ว (Speed and Velocity)
 ความเร่ง (Accelerration)
 การหาความเร็ว ความเร่งจากเทปกระดาษที่เคลื่อนที่ผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
(Ticker – tape timer)
 สมการการเคลื่อนที่ (Equation of Motion)
 การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวราบ
 การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวดิ่ง
 กราฟของการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 กราฟความสัมพันธ์กับพื้นที่ใต้กราฟ
เนื้อหาบทเรียน (Material to be Learned)
แบบทดสอบท้ายบท (Exercises)
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 2 -
ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ตาแหน่งของวัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นจึงต้องมีการบอกตาแหน่งเพื่อความ
ชัดเจน การบอกตาแหน่งของวัตถุจะต้องเทียบกับ จุดอ้างอิง หรือ ตาแหน่งอ้างอิง
ระยะห่างของวัตถุจากจุดอ้างอิง (0) ไปทางขวามีทิศทางเป็นบวก (A,C)
ระยะห่างของวัตถุจากจุดอ้างอิง (0) ไปทางซ้ายมีทิศทางเป็นลบ (B)
ระยะทาง คือ ความยาวตามแนวที่เคลื่อนที่จริง
[ มีหน่วย ………….] [ เป็นปริมาณ ……………………..…]
การกระจัด คือ ความยาวที่วัดเป็นเส้นตรงจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้าย
ของการเคลื่อนที่
[ มีหน่วย ………….] [ เป็นปริมาณ ……………………..…]
1. ระยะทาง= == …………………………………………………………
…………………………………………………………
การกระจัด == ………………………………………………..………
………………………………………………..………
………………………………………………..………
2. ระยะทาง= == …………………………………………………………
การกระจัด == ………………………………………………..………
ระยะทางและการกระจัด (distance and displacement)1
ระยะทางและการกระจัด (distance and displacement)
ตาแหน่ง (Position)1
การบอกตาแหน่งของวัตถุสาหรับการเคลื่อนที่แนวตรง
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 3 -
3. ระยะทาง= == …………………………………………………………
…………………………………………………………
การกระจัด == ………………………………………………..………
………………………………………………..………
4. ระยะทาง= == …………………………………………………………
…………………………………………………………
………………………………………………..………
การกระจัด == ………………………………………………..………
………………………………………………..………
5. คลองที่ติดตรงจากเมือง A ไปเมือง B มีความยาว 65 กิโลเมตร ขณะที่ถนนจากเมือง A ไปเมือง B มีระยะทาง
79 กิโลเมตร ถ้าชายคนหนึ่งขนสินค้าจากเมือง A ไปเมือง B ทางรถยนต์ จงหาว่าชายคนนี้มีขนาดของ
การกระจัดเป็นเท่าใด
ก. 14 กิโลเมตร ข. 65 กิโลเมตร ค. 79 กิโลเมตร ง. 144 กิโลเมตร
6. จากรูป ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า จงตอบคาถามต่อไปนี้
ก. เดินทางจาก A ไป B มี
ระยะทาง …….. เมตร การกระจัด …….. เมตร
ข. เดินทางจาก A ไป B ไป C มี
ระยะทาง …….. เมตร การกระจัด …….. เมตร
ค. เดินทางจาก A ไป B ไป C ไป D มี
ระยะทาง …….. เมตร การกระจัด …….. เมตร
7. ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
ระยะทาง AB เท่ากับ …..….เมตร การกระจัด AB เท่ากับ ……….เมตร
ระยะทาง AC เท่ากับ …..….เมตร การกระจัด AC เท่ากับ ……….เมตร
ระยะทาง AD เท่ากับ …..….เมตร การกระจัด AD เท่ากับ ……….เมตร
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 4 -
อัตราเร็ว (Speed) คือ
อัตราส่วนระยะทาง ต่อเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ตลอดช่วงนั้น
[ มีหน่วย …………..…. ] [ เป็นปริมาณ ………....…]
ความเร็ว (Velocity) คือ
อัตราส่วนการกระจัดต่อเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ตลอดช่วงนั้น
[ มีหน่วย …………..…. ] [ เป็นปริมาณ ………....…]
อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง หรือความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง เป็นการหาค่าอัตราเร็วหรือความเร็วใน
ช่วงเวลาสั้น ๆ ช่วงใดช่วงหนึ่งของการเคลื่อนที่
อัตราเร็วเฉลี่ยหรือความเร็วเฉลี่ย เป็นการหาค่าอัตราเร็วหรือความเร็วหลังจากมีการเคลื่อนที่ โดย
คานวณหาจากการเฉลี่ยระยะทางทั้งหมดของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลาของการเคลื่อนที่ หรือการเฉลี่ยการ
กระจัดของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลา
ข้อสังเกต วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ ค่าอัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง กับค่าอัตราเร็วเฉลี่ยมีค่าเท่ากัน
8. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ย และ ความเร็วเฉลี่ย ของการเคลื่อนที่ตามแผนภาพต่อไปนี้
กาหนดเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ทั้งหมด 2 วินาที
อัตราเร็วและความเร็ว (Speed and Velocity)2
อัตราเร็วและความเร็ว (Speed and Velocity)
s
v =
t
อัตราเร็ว
ระยะทาง (m)
เวลา ( s )
s
v =
t
ความเร็ว
การกระจัด (m)
เวลา ( s )
อัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ย
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 5 -
9. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ย และ ความเร็วเฉลี่ย ของการเคลื่อนที่ตามแผนภาพ
ต่อไปนี้ กาหนดเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ทั้งหมด 2 วินาที
10. เด็กชายคนหนึ่งเดินทางไปทิศเหนือได้ระยะทาง 600 เมตร จากนั้นเดินทางไปทิศตะวันออกได้ระยะทาง
800 เมตร ใช้เวลาทั้งหมด 1000 วินาที เด็กคนนี้เดินด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยกี่เมตรต่อวินาที
11. ชายคนหนึ่งเดินทางไปทางทิศเหนือ 100 เมตร ใช้เวลา 60 วินาที แล้วเดินต่อไปทางทิศตะวันออกอีก
100 เมตร ใช้เวลา 40 วินาที เขาเดินด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยเท่าใด
12. เด็กคนหนึ่งออกกาลังกายด้วยการวิ่งด้วยอัตราเร็ว 6 เมตรต่อวินาที เป็นเวลา 1 นาที วิ่งด้วยอัตราเร็ว
5 เมตรต่อวินาที อีก 1 นาที แล้วเดินด้วยอัตราเร็ว 1 เมตรต่อวินาที อีก 1 นาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยใน
ช่วงเวลา 3 นาทีนี้
13. ตอนเริ่มต้นวัตถุอยู่ห่างจากจุดอ้างอิงไปทางขวา 4 เมตร เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที พบว่าวัตถุอยู่ห่างจาก
จุดอ้างอิงไปทางซ้าย 8 เมตร จงหาความเร็วเฉลี่ยของวัตถุนี้
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 6 -
ความเร่ง (Accelerration) คือ อัตราส่วนของความเร็วที่เปลี่ยนไป ต่อเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่
[ มีหน่วย …………….. ] [ เป็นปริมาณ ……..…....…]
ควรทราบ ถ้า a เป็นบวก เรียก ความเร่ง จะทาให้ความเร็ว (V) มีค่าเพิ่มมากขึ้น
ถ้า a เป็นลบ เรียก ความหน่วง จะทาให้ความเร็ว (V) มีค่าลดลง
ถ้า a = 0 จะทาให้ความเร็ว (V) มีค่าคงที่
14. รถคันหนึ่งวิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที จนกระทั่งมีความเร็ว 15 เมตร/วินาที ในเวลา 1.5 วินาที
ในแนวเส้นตรง จงหาความเร่งของรถ
15. วัตถุอันหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 10 m/s2 จะต้องใช้เวลานานเท่าได ในการเปลี่ยนความเร็วจาก 20 m/s
เป็น 50 m/s
16. ขับรถจักรยานด้วยความเร็ว ดังตาราง
ความเร็ว (m/s) 10 8 6 4 2 0
เวลา (s) 0 1 2 3 4 5
ความเร่งเป็นเท่าใด
ความเร่ง (Accelerration)3
ความเร่ง (Accelerration)
2 1v -v
a =
t
ความเร็ว (m/s)
เวลา (s )ความเร่ง
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 7 -
17. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนเส้นทางตรง เวลาผ่านไป 4 วินาที มีความเร็วเป็น 8 เมตร/วินาที ถ้า
อัตราเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่าเสมอ รถยนต์คันนี้มีความเร่งเท่าใด
18. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่บนถนนตรงจากหยุดนิ่ง จนกระทั่งมีความเร็วเป็น 25 เมตร/วินาที ในช่วงเวลา 10 วินาที
ความเร่งของรถยนต์คันนี้มีค่าเท่าใด
19. ขับรถออกจากไฟแดงด้วยความเร่ง 4 เมตรต่อวินาที2
อยากทราบว่าในเวลา 5 วินาที ต่อมารถจะมีความเร็ว
เท่าใด
20. วัตถุหนึ่งเริ่มเคลื่อนที่ออกจากจุดๆ หนึ่ง ในเวลา 10 นาที ต่อมาวัดความเร็วของวัตถุได้ 30 เมตรต่อวินาที
อยากทราบว่าวัตถุนี้มีความเร่งเฉลี่ยเท่าใด
21. ขับรถบนถนนสายตรงสายหนึ่งด้วยความเร็ว 108 กิโลเมตร/ชั่วโมง พอดีมีเด็กวิ่งตัดหน้าจึงเหยียบเบรกให้รถ
ลดความเร็วเหลือ 18 กิโลเมตร/ชั่วโมง ในเวลา 5 วินาที จงหาความเร่งของรถช่วงเบรก
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 8 -
ความเร็วขณะใดๆ หาได้จากความเร็วเฉลี่ย
ในช่วงเวลาสั้นๆ
ความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาใด = ความเร็วขณะกึ่งกลางช่วงเวลานั้น
ความเร็วเฉลี่ย จากจุดที่ 1 – 5 = ความเร็วขณะจุดที่ 4 = 6
4
= 1.5 cm/ช่วงจุด
ความเร็วเฉลี่ย จากจุดที่ 2 – 4 = ความเร็วขณะจุดที่ 3 = 2.8
2
= 1.4 cm/ช่วงจุด
จากรูป ความเร็วขณะจุดที่ 2 = ความเร็วเฉลี่ยจากจุดที่ 1 – 3 = 2
2
= 1 cm/ช่วงจุด
ความเร็วขณะจุดที่ 4 = ความเร็วเฉลี่ยจากจุดที่ 3 – 5 = 4
2
= 2 cm/ช่วงจุด
ความเร่ง
ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาใดๆ หาจากความเร็วที่เปลี่ยนในช่วงเวลานั้นๆ หารด้วยเวลาในช่วงนั้น
ความเร่งเฉลี่ยจากจุดที่ 2 – 4 = (ความเร็วจุดที่ 4 – ความเร็วจุดที่ 2) / เวลา 2 ช่วงจุด
ความเร่งขณะใดๆ หาจากความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาสั้นๆ
ความเร่งขณะจุดที่ 3 = ความเร่งเฉลี่ยจากจุดที่ 2 – 4 = 0.5 cm/ช่วงจุด2
22. เมื่อลากแผ่นกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาชนิดเคาะ 50 ครั้งต่อวินาที ปรากฏจุดบนแถบกระดาษ
ดังรูป จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยระหว่าง A ถึง B
การหาความเร็ว ความเร่งจากเทปกระดาษที่เคลื่อนที่ผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา4
การหาความเร็ว ความเร่งจากเทปกระดาษที่เคลื่อนที่ผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 9 -
23. ในการทดลองปล่อยถุงทรายให้ตกแบบเสรีโดยลากแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณ เวลาที่เคาะจุดทุกๆ
10/5 วินาที จุดบนแถบกระดาษปรากฏดังรูป ถ้าระยะระหว่างจุดที่ 9 ถึงจุดที่ 10 วัดได้ 3.80 เซนติเมตร
และระยะระหว่างจุดที่ 10 ถึงจุดที่ 11 วัดได้ 4.20 เซนติเมตร ความเร็วเฉลี่ยที่จุดที่ 10 จะเป็นกี่เมตรต่อวินาที
24. เทปกระดาษเคลื่อนที่ผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาซึ่งเคาะ 50 ครั้งใน 1 วินาที ปรากฏว่าจุดมีลักษณะดังรูป
จงหาความเร่งโดยเฉลี่ยในช่วง BD
25. การทดลองการเคลื่อนที่ของมวล 2 kg โดยใช้เครื่องเคาะสัญญาณ มีความถี่ 50 Hz ปรากฏจุดต่างๆ บนแถบ
กระดาษ ความเร่งที่จุด G มีค่ากี่เมตร/วินาที2
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 10 -
สูตรการเคลื่อนที่แนวราบและแนวดิ่ง
สูตร แนวราบ ขาด แนวดิ่ง
1 ⃑ 〈 ⃑〉 (
⃑⃑ ⃑
) ⃑ ⃑ 〈 ⃑〉 (
⃑⃑ ⃑
)
2 ⃑ ⃑⃑ ⃑ ⃑ ⃑ ⃑⃑ ⃑
3 ⃑ ⃑⃑ ⃑ ⃑ ⃑ ⃑⃑ ⃑
4 ⃑ ⃑ ⃑ ⃑⃑ ⃑ ⃑ ⃑
5 t
26. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที แล้วเร่งเครื่องด้วยความเร่ง 5 เมตร/วินาที2
ภายในเวลา
20 วินาที จะมีความเร็วสุดท้ายเป็นกี่ เมตรต่อวินาที
a = 5 m/s2
s = (ไม่กล่าวถึง จึงเลือกใช้สูตรที่ 2 ในการแก้โจทย์ปัญหาข้อนี้)
เขียน v = ?
u = 10 m/s
t = 20 s
สมการการเคลื่อนที่ (Equation of Motion)5
สมการการเคลื่อนที่ (Equation of Motion)
การใช้ตารางเลือกสูตร
การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวราบ
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 11 -
27. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ว 5 เมตร/วินาที แล้วเร่งเครื่องด้วยความเร่ง 8 เมตร/วินาที2
ภายในเวลา
10 วินาที จะมีความเร็วสุดท้ายเป็นกี่ เมตรต่อวินาที
28. น้องบีขับรถด้วยความเร็ว 25 เมตร/วินาที เห็นเด็กวิ่งข้ามถนนจึงเหยียบเบรกทาให้ความเร็วลดลงเหลือ
5 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที จงหาระยะทางในช่วงที่เบรกในหน่วยเป็นเมตร
29. ถ้าเครื่องบินต้องใช้เวลาในการเร่งเครื่อง 20 วินาที จากหยุดนิ่ง และใช้ระยะทาง 400 เมตร ก่อนที่จะขึ้นจาก
ทางวิ่งได้ จงหาอัตราเร็วของเครื่องบินขณะที่ขึ้นจากทางวิ่งเท่ากับกี่เมตรต่อวินาที
30. รถยนต์คันหนึ่งออกวิ่งจากจุดหยุดนิ่งไปตามถนนตรงด้วยขนาดความเร่งคงตัว และวิ่งได้ไกล 75 เมตร
ภายในเวลา 5 วินาที ขนาดของความเร่งของรถยนต์เป็นเท่าไร
31. รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตรต่อวินาที ขณะที่อยู่ห่างสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร
คนขับตัดสินใจห้ามล้อรถ โดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนที่ห้ามล้อจะทางาน เมื่อห้ามล้อทางานแล้ว รถจะต้องลด
ความเร็วในอัตราเท่าใด จึงจะทาให้รถหยุดพอดีเมื่อถึงสิ่งกีดขวางนั้น
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 12 -
32. ขว้างลูกบอลลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที วัตถุจะเคลื่อน
ลงมาได้ระยะทางเท่ากี่เมตร
33. ขว้างลูกบอลลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที วัตถุจะเคลื่อน
ลงมาได้ระยะทางเท่ากี่เมตร
34. ขว้างลูกบอลลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ใช้เวลา 3 วินาที จึงจะถึงพื้นถามว่าความเร็วของ
ลูกบอลขณะกระทบพื้นมีค่ากี่เมตร/วินาที
การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวดิ่ง
การกาหนดทิศความเร่งเพื่อความสะดวกในการคานวณ
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 13 -
35. (En 41/2) ลูกบอลตกจากจุด A ซึ่งสูง h จากพื้นเมื่อผ่านจุด B ซึ่งสูง h/4 จากพื้นจะมีอัตราเร็วกี่เมตร/วินาที
1. (gh/2)1/2
2. (gh)1/2
3. (3gh/2)1/2
4. (2gh)1/2
36. (En 40) ชายคนหนึ่งโยนเหรียญขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น 10 เมตร/วินาที เป็นเวลาเท่าใดเหรียญจึง
จะตกลงมาถึงตาแหน่งเริ่มต้น
1. 1 s 2. 2 s 3. 3 s 4. 4 s
37. (En 44/2) โยนวัตถุก้อนหนึ่งขึ้นไปในแนวดิ่งโดยวัตถุขึ้นถึงจุดสูงสุดที่ B ถ้า A และ C เป็นจุดที่อยู่ในระดับ
เดียวกันดังรูป เมื่อไม่คิดผลของแรงต้านอากาศข้อต่อไปนี้ข้อใดถูก
1. ที่จุด B วัตถุมีความเร็วและความเร่งเป็นศูนย์
2. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร็วเท่ากัน
3. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร่งขนาดเท่ากัน แต่ทิศทางตรงกันข้าม
4. ที่จุด A , B และ C วัตถุมีความเร่งเท่ากันทั้งขนาดและทิศทาง
38. (มช 41) เด็กคนหนึ่งโยนก้อนหินขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็วต้น 10 เมตร/วินาที ก้อนหินตกถึงพื้นซึ่งอยู่ต่า
กว่าตาแหน่งมือที่กาลังโยนเป็นระยะทาง 15 เมตร จงหาว่าก้อนหินเคลื่อนที่อยู่ในอากาศเป็นเวลานานกี่วินาที
39. (En 40) นาย ก ยืนอยู่บนดาดฟ้าตึกซึ่งสูงจากพื้นดิน 20 เมตร ปล่อยก้อนหินลงไปในแนวดิ่งในขณะเดียวกัน
นาย ข ซึ่งอยู่ที่พื้นดินโยนก้อนหินขึ้นไปตรงๆ ด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาทีก้อนหินทั้งสองจะพบกันที่สูงจาก
พื้นดินกี่เมตร
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 14 -
40. โยนวัตถุสองก้อน A และ B ให้เคลื่อนที่ขึ้นตามแนวดิ่ง ระยะทางสูงสุดที่วัตถุ A และ B เคลื่อนที่ขึ้นไปได้คือ
50 และ 200 เมตร ตามลาดับ อัตราส่วนของความเร็วต้นของ A ต่อของ B มีค่าเท่าใด
41. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนดาดฟ้าของตึกเขาขว้างก้อนหินมวล 0.1 กิโลกรัม ขึ้นไปในอากาศในแนวดิ่งด้วยความเร็ว
5 เมตร/วินาที หลังจากก้อนหินหลุดจากมือเขา 6 วินาทีก็ตกถึงพื้นดินความสูงของตึกเป็นเท่าไร
42. รถไฟ 2 ขบวน วิ่งเข้าหากันโดยวิ่งในรางเดียวกัน รถขบวนที่ 1 วิ่งด้วยความเร็ว10 เมตร/วินาที ส่วนรถ
ขบวนที่ 2 วิ่งด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างกัน 325 เมตร รถไฟทั้ง 2 ขบวน ต่างเบรครถ
และหยุดได้พอดีพร้อมกันโดยห่างกัน 25 เมตรเวลาที่รถทั้งสองใช้เป็นเท่าใด
43. วัตถุหนึ่งเริ่มเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่ง ด้วยความเร่งคงที่ปรากฏว่าในวินาทีที่ 15 วัตถุเคลื่อนที่ได้ทาง 58 เมตร
จงหาความเร่งของวัตถุ
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 15 -
ความเร่ง = ……….. ความเร็ว ………… การกระจัด ………………….
ความเร่ง = ……….. ความเร็ว ………… การกระจัด ………………….
ความเร่ง = ……….. ความเร็ว ………… การกระจัด ………………….
การขจัดคงที่ แสดงว่า............................
ความเร็ว = ……… ความเร่ง = ……….
กราฟของการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง6
กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร่ง ความเร็ว และการกระจัด
กราฟชุดที่ 1
กราฟชุดที่ 2
กราฟชุดที่ 3
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 16 -
44. ตามรูปเป็นกราฟระหว่างการกระจัด – เวลา ช่วงเวลาข้อใด มีความเร็ว
เป็นศูนย์
ก) 10 t , 2 4t t ข) 2t , 3 4t t
ค) 10 t , 3 4t t ง) 10 t , 2 3t t
กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร่ง ความเร็ว และการกระจัด
กราฟชุดที่ 1
กราฟชุดที่ 2
กราฟชุดที่ 3
พื้นที่ใต้กราฟ ไม่นิยาม
ความชันเส้นกราฟ = v
พื้นที่ใต้กราฟ = S
ความชันเส้นกราฟ = a
พื้นที่ใต้กราฟ = v – u
ความชันเส้นกราฟ ไม่นิยาม
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 17 -
45. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงได้กราฟระหว่าง ความเร็ว – เวลา
ดังรูป ถามว่าเมื่อสิ้นวินาทีที่ 6 การขจัดจะเป็นกี่เมตร
1. 1190 2. 80
3. 180 4. 90
46. จากกราฟการเคลื่อนที่ดังรูป จงหาความเร่ง ณ. วินาทีที่ 9
47. รถเริ่มแล่นจากจุดหยุดนิ่ง โดยมีความเร่งตามที่แสดงในกราฟ จงหา
ความเร็วของรถที่เวลา 30 วินาที จากจุดเริ่มต้น
1. 40 m/s 2. 20 m/s
3. 10 m/s 4. 0 m/s
48. จากกราฟของความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นดังรูป
ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ทั้งหมด
Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
- 18 -
49. จากกราฟความเร็ว–เวลา ซึ่งแสดงการเดินทางไปช่วงเวลา A,
B, C และ D จงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ไปได้ใน 0.5 ชั่วโมง
1. 18.5 กิโลเมตร
2. 19.5 กิโลเมตร
3. 20.0 กิโลเมตร
4. 40.0 กิโลเมตร

More Related Content

What's hot

บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆwiriya kosit
 
กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายphunbuppha jinawong
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560krulef1805
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียงthanakit553
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]Chanunya Chompoowong
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกJiraporn
 

What's hot (20)

บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
สมการการเคลื่อนที่แนวตรง
สมการการเคลื่อนที่แนวตรงสมการการเคลื่อนที่แนวตรง
สมการการเคลื่อนที่แนวตรง
 
Lesson02
Lesson02Lesson02
Lesson02
 
กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่าย
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 

Similar to การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)

การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]Worrachet Boonyong
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ thanakit553
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติkungten555
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงLai Pong
 
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsBrandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsNittaya Mitpothong
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงLai Pong
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1kroosarisa
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงuntika
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่Tutor Ferry
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 
ใบงาน แผน 04
ใบงาน แผน 04ใบงาน แผน 04
ใบงาน แผน 04witthawat silad
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติPrint25
 

Similar to การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension) (20)

การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 
P02
P02P02
P02
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
2
22
2
 
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรงChapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
6 1
6 16 1
6 1
 
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsBrandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
ใบงาน แผน 04
ใบงาน แผน 04ใบงาน แผน 04
ใบงาน แผน 04
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 

More from Worrachet Boonyong

Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Worrachet Boonyong
 
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ Worrachet Boonyong
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสWorrachet Boonyong
 
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุแบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุWorrachet Boonyong
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5Worrachet Boonyong
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5Worrachet Boonyong
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.Worrachet Boonyong
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.Worrachet Boonyong
 
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นแบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นWorrachet Boonyong
 
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันรายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันWorrachet Boonyong
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555Worrachet Boonyong
 
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceรายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceWorrachet Boonyong
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาWorrachet Boonyong
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)Worrachet Boonyong
 

More from Worrachet Boonyong (16)

ONET 63 BY PHY360
ONET 63 BY PHY360ONET 63 BY PHY360
ONET 63 BY PHY360
 
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
 
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุแบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
 
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นแบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
 
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันรายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
 
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceรายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
 

การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)

  • 1. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 1 - บทที่ 1 การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ  ตาแหน่ง ระยะทางและการกระจัด (Position, Distance and Displacement)  อัตราเร็วและความเร็ว (Speed and Velocity)  ความเร่ง (Accelerration)  การหาความเร็ว ความเร่งจากเทปกระดาษที่เคลื่อนที่ผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา (Ticker – tape timer)  สมการการเคลื่อนที่ (Equation of Motion)  การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวราบ  การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวดิ่ง  กราฟของการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง  กราฟความสัมพันธ์กับพื้นที่ใต้กราฟ เนื้อหาบทเรียน (Material to be Learned) แบบทดสอบท้ายบท (Exercises)
  • 2. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 2 - ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ตาแหน่งของวัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นจึงต้องมีการบอกตาแหน่งเพื่อความ ชัดเจน การบอกตาแหน่งของวัตถุจะต้องเทียบกับ จุดอ้างอิง หรือ ตาแหน่งอ้างอิง ระยะห่างของวัตถุจากจุดอ้างอิง (0) ไปทางขวามีทิศทางเป็นบวก (A,C) ระยะห่างของวัตถุจากจุดอ้างอิง (0) ไปทางซ้ายมีทิศทางเป็นลบ (B) ระยะทาง คือ ความยาวตามแนวที่เคลื่อนที่จริง [ มีหน่วย ………….] [ เป็นปริมาณ ……………………..…] การกระจัด คือ ความยาวที่วัดเป็นเส้นตรงจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้าย ของการเคลื่อนที่ [ มีหน่วย ………….] [ เป็นปริมาณ ……………………..…] 1. ระยะทาง= == ………………………………………………………… ………………………………………………………… การกระจัด == ………………………………………………..……… ………………………………………………..……… ………………………………………………..……… 2. ระยะทาง= == ………………………………………………………… การกระจัด == ………………………………………………..……… ระยะทางและการกระจัด (distance and displacement)1 ระยะทางและการกระจัด (distance and displacement) ตาแหน่ง (Position)1 การบอกตาแหน่งของวัตถุสาหรับการเคลื่อนที่แนวตรง
  • 3. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 3 - 3. ระยะทาง= == ………………………………………………………… ………………………………………………………… การกระจัด == ………………………………………………..……… ………………………………………………..……… 4. ระยะทาง= == ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………..……… การกระจัด == ………………………………………………..……… ………………………………………………..……… 5. คลองที่ติดตรงจากเมือง A ไปเมือง B มีความยาว 65 กิโลเมตร ขณะที่ถนนจากเมือง A ไปเมือง B มีระยะทาง 79 กิโลเมตร ถ้าชายคนหนึ่งขนสินค้าจากเมือง A ไปเมือง B ทางรถยนต์ จงหาว่าชายคนนี้มีขนาดของ การกระจัดเป็นเท่าใด ก. 14 กิโลเมตร ข. 65 กิโลเมตร ค. 79 กิโลเมตร ง. 144 กิโลเมตร 6. จากรูป ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า จงตอบคาถามต่อไปนี้ ก. เดินทางจาก A ไป B มี ระยะทาง …….. เมตร การกระจัด …….. เมตร ข. เดินทางจาก A ไป B ไป C มี ระยะทาง …….. เมตร การกระจัด …….. เมตร ค. เดินทางจาก A ไป B ไป C ไป D มี ระยะทาง …….. เมตร การกระจัด …….. เมตร 7. ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ระยะทาง AB เท่ากับ …..….เมตร การกระจัด AB เท่ากับ ……….เมตร ระยะทาง AC เท่ากับ …..….เมตร การกระจัด AC เท่ากับ ……….เมตร ระยะทาง AD เท่ากับ …..….เมตร การกระจัด AD เท่ากับ ……….เมตร
  • 4. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 4 - อัตราเร็ว (Speed) คือ อัตราส่วนระยะทาง ต่อเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ตลอดช่วงนั้น [ มีหน่วย …………..…. ] [ เป็นปริมาณ ………....…] ความเร็ว (Velocity) คือ อัตราส่วนการกระจัดต่อเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ตลอดช่วงนั้น [ มีหน่วย …………..…. ] [ เป็นปริมาณ ………....…] อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง หรือความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง เป็นการหาค่าอัตราเร็วหรือความเร็วใน ช่วงเวลาสั้น ๆ ช่วงใดช่วงหนึ่งของการเคลื่อนที่ อัตราเร็วเฉลี่ยหรือความเร็วเฉลี่ย เป็นการหาค่าอัตราเร็วหรือความเร็วหลังจากมีการเคลื่อนที่ โดย คานวณหาจากการเฉลี่ยระยะทางทั้งหมดของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลาของการเคลื่อนที่ หรือการเฉลี่ยการ กระจัดของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลา ข้อสังเกต วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ ค่าอัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง กับค่าอัตราเร็วเฉลี่ยมีค่าเท่ากัน 8. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ย และ ความเร็วเฉลี่ย ของการเคลื่อนที่ตามแผนภาพต่อไปนี้ กาหนดเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ทั้งหมด 2 วินาที อัตราเร็วและความเร็ว (Speed and Velocity)2 อัตราเร็วและความเร็ว (Speed and Velocity) s v = t อัตราเร็ว ระยะทาง (m) เวลา ( s ) s v = t ความเร็ว การกระจัด (m) เวลา ( s ) อัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ย
  • 5. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 5 - 9. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ย และ ความเร็วเฉลี่ย ของการเคลื่อนที่ตามแผนภาพ ต่อไปนี้ กาหนดเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ทั้งหมด 2 วินาที 10. เด็กชายคนหนึ่งเดินทางไปทิศเหนือได้ระยะทาง 600 เมตร จากนั้นเดินทางไปทิศตะวันออกได้ระยะทาง 800 เมตร ใช้เวลาทั้งหมด 1000 วินาที เด็กคนนี้เดินด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยกี่เมตรต่อวินาที 11. ชายคนหนึ่งเดินทางไปทางทิศเหนือ 100 เมตร ใช้เวลา 60 วินาที แล้วเดินต่อไปทางทิศตะวันออกอีก 100 เมตร ใช้เวลา 40 วินาที เขาเดินด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยเท่าใด 12. เด็กคนหนึ่งออกกาลังกายด้วยการวิ่งด้วยอัตราเร็ว 6 เมตรต่อวินาที เป็นเวลา 1 นาที วิ่งด้วยอัตราเร็ว 5 เมตรต่อวินาที อีก 1 นาที แล้วเดินด้วยอัตราเร็ว 1 เมตรต่อวินาที อีก 1 นาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยใน ช่วงเวลา 3 นาทีนี้ 13. ตอนเริ่มต้นวัตถุอยู่ห่างจากจุดอ้างอิงไปทางขวา 4 เมตร เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที พบว่าวัตถุอยู่ห่างจาก จุดอ้างอิงไปทางซ้าย 8 เมตร จงหาความเร็วเฉลี่ยของวัตถุนี้
  • 6. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 6 - ความเร่ง (Accelerration) คือ อัตราส่วนของความเร็วที่เปลี่ยนไป ต่อเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ [ มีหน่วย …………….. ] [ เป็นปริมาณ ……..…....…] ควรทราบ ถ้า a เป็นบวก เรียก ความเร่ง จะทาให้ความเร็ว (V) มีค่าเพิ่มมากขึ้น ถ้า a เป็นลบ เรียก ความหน่วง จะทาให้ความเร็ว (V) มีค่าลดลง ถ้า a = 0 จะทาให้ความเร็ว (V) มีค่าคงที่ 14. รถคันหนึ่งวิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที จนกระทั่งมีความเร็ว 15 เมตร/วินาที ในเวลา 1.5 วินาที ในแนวเส้นตรง จงหาความเร่งของรถ 15. วัตถุอันหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 10 m/s2 จะต้องใช้เวลานานเท่าได ในการเปลี่ยนความเร็วจาก 20 m/s เป็น 50 m/s 16. ขับรถจักรยานด้วยความเร็ว ดังตาราง ความเร็ว (m/s) 10 8 6 4 2 0 เวลา (s) 0 1 2 3 4 5 ความเร่งเป็นเท่าใด ความเร่ง (Accelerration)3 ความเร่ง (Accelerration) 2 1v -v a = t ความเร็ว (m/s) เวลา (s )ความเร่ง
  • 7. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 7 - 17. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนเส้นทางตรง เวลาผ่านไป 4 วินาที มีความเร็วเป็น 8 เมตร/วินาที ถ้า อัตราเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่าเสมอ รถยนต์คันนี้มีความเร่งเท่าใด 18. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่บนถนนตรงจากหยุดนิ่ง จนกระทั่งมีความเร็วเป็น 25 เมตร/วินาที ในช่วงเวลา 10 วินาที ความเร่งของรถยนต์คันนี้มีค่าเท่าใด 19. ขับรถออกจากไฟแดงด้วยความเร่ง 4 เมตรต่อวินาที2 อยากทราบว่าในเวลา 5 วินาที ต่อมารถจะมีความเร็ว เท่าใด 20. วัตถุหนึ่งเริ่มเคลื่อนที่ออกจากจุดๆ หนึ่ง ในเวลา 10 นาที ต่อมาวัดความเร็วของวัตถุได้ 30 เมตรต่อวินาที อยากทราบว่าวัตถุนี้มีความเร่งเฉลี่ยเท่าใด 21. ขับรถบนถนนสายตรงสายหนึ่งด้วยความเร็ว 108 กิโลเมตร/ชั่วโมง พอดีมีเด็กวิ่งตัดหน้าจึงเหยียบเบรกให้รถ ลดความเร็วเหลือ 18 กิโลเมตร/ชั่วโมง ในเวลา 5 วินาที จงหาความเร่งของรถช่วงเบรก
  • 8. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 8 - ความเร็วขณะใดๆ หาได้จากความเร็วเฉลี่ย ในช่วงเวลาสั้นๆ ความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาใด = ความเร็วขณะกึ่งกลางช่วงเวลานั้น ความเร็วเฉลี่ย จากจุดที่ 1 – 5 = ความเร็วขณะจุดที่ 4 = 6 4 = 1.5 cm/ช่วงจุด ความเร็วเฉลี่ย จากจุดที่ 2 – 4 = ความเร็วขณะจุดที่ 3 = 2.8 2 = 1.4 cm/ช่วงจุด จากรูป ความเร็วขณะจุดที่ 2 = ความเร็วเฉลี่ยจากจุดที่ 1 – 3 = 2 2 = 1 cm/ช่วงจุด ความเร็วขณะจุดที่ 4 = ความเร็วเฉลี่ยจากจุดที่ 3 – 5 = 4 2 = 2 cm/ช่วงจุด ความเร่ง ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาใดๆ หาจากความเร็วที่เปลี่ยนในช่วงเวลานั้นๆ หารด้วยเวลาในช่วงนั้น ความเร่งเฉลี่ยจากจุดที่ 2 – 4 = (ความเร็วจุดที่ 4 – ความเร็วจุดที่ 2) / เวลา 2 ช่วงจุด ความเร่งขณะใดๆ หาจากความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาสั้นๆ ความเร่งขณะจุดที่ 3 = ความเร่งเฉลี่ยจากจุดที่ 2 – 4 = 0.5 cm/ช่วงจุด2 22. เมื่อลากแผ่นกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาชนิดเคาะ 50 ครั้งต่อวินาที ปรากฏจุดบนแถบกระดาษ ดังรูป จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยระหว่าง A ถึง B การหาความเร็ว ความเร่งจากเทปกระดาษที่เคลื่อนที่ผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา4 การหาความเร็ว ความเร่งจากเทปกระดาษที่เคลื่อนที่ผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
  • 9. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 9 - 23. ในการทดลองปล่อยถุงทรายให้ตกแบบเสรีโดยลากแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณ เวลาที่เคาะจุดทุกๆ 10/5 วินาที จุดบนแถบกระดาษปรากฏดังรูป ถ้าระยะระหว่างจุดที่ 9 ถึงจุดที่ 10 วัดได้ 3.80 เซนติเมตร และระยะระหว่างจุดที่ 10 ถึงจุดที่ 11 วัดได้ 4.20 เซนติเมตร ความเร็วเฉลี่ยที่จุดที่ 10 จะเป็นกี่เมตรต่อวินาที 24. เทปกระดาษเคลื่อนที่ผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาซึ่งเคาะ 50 ครั้งใน 1 วินาที ปรากฏว่าจุดมีลักษณะดังรูป จงหาความเร่งโดยเฉลี่ยในช่วง BD 25. การทดลองการเคลื่อนที่ของมวล 2 kg โดยใช้เครื่องเคาะสัญญาณ มีความถี่ 50 Hz ปรากฏจุดต่างๆ บนแถบ กระดาษ ความเร่งที่จุด G มีค่ากี่เมตร/วินาที2
  • 10. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 10 - สูตรการเคลื่อนที่แนวราบและแนวดิ่ง สูตร แนวราบ ขาด แนวดิ่ง 1 ⃑ 〈 ⃑〉 ( ⃑⃑ ⃑ ) ⃑ ⃑ 〈 ⃑〉 ( ⃑⃑ ⃑ ) 2 ⃑ ⃑⃑ ⃑ ⃑ ⃑ ⃑⃑ ⃑ 3 ⃑ ⃑⃑ ⃑ ⃑ ⃑ ⃑⃑ ⃑ 4 ⃑ ⃑ ⃑ ⃑⃑ ⃑ ⃑ ⃑ 5 t 26. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที แล้วเร่งเครื่องด้วยความเร่ง 5 เมตร/วินาที2 ภายในเวลา 20 วินาที จะมีความเร็วสุดท้ายเป็นกี่ เมตรต่อวินาที a = 5 m/s2 s = (ไม่กล่าวถึง จึงเลือกใช้สูตรที่ 2 ในการแก้โจทย์ปัญหาข้อนี้) เขียน v = ? u = 10 m/s t = 20 s สมการการเคลื่อนที่ (Equation of Motion)5 สมการการเคลื่อนที่ (Equation of Motion) การใช้ตารางเลือกสูตร การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวราบ
  • 11. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 11 - 27. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ว 5 เมตร/วินาที แล้วเร่งเครื่องด้วยความเร่ง 8 เมตร/วินาที2 ภายในเวลา 10 วินาที จะมีความเร็วสุดท้ายเป็นกี่ เมตรต่อวินาที 28. น้องบีขับรถด้วยความเร็ว 25 เมตร/วินาที เห็นเด็กวิ่งข้ามถนนจึงเหยียบเบรกทาให้ความเร็วลดลงเหลือ 5 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที จงหาระยะทางในช่วงที่เบรกในหน่วยเป็นเมตร 29. ถ้าเครื่องบินต้องใช้เวลาในการเร่งเครื่อง 20 วินาที จากหยุดนิ่ง และใช้ระยะทาง 400 เมตร ก่อนที่จะขึ้นจาก ทางวิ่งได้ จงหาอัตราเร็วของเครื่องบินขณะที่ขึ้นจากทางวิ่งเท่ากับกี่เมตรต่อวินาที 30. รถยนต์คันหนึ่งออกวิ่งจากจุดหยุดนิ่งไปตามถนนตรงด้วยขนาดความเร่งคงตัว และวิ่งได้ไกล 75 เมตร ภายในเวลา 5 วินาที ขนาดของความเร่งของรถยนต์เป็นเท่าไร 31. รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตรต่อวินาที ขณะที่อยู่ห่างสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับตัดสินใจห้ามล้อรถ โดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนที่ห้ามล้อจะทางาน เมื่อห้ามล้อทางานแล้ว รถจะต้องลด ความเร็วในอัตราเท่าใด จึงจะทาให้รถหยุดพอดีเมื่อถึงสิ่งกีดขวางนั้น
  • 12. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 12 - 32. ขว้างลูกบอลลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที วัตถุจะเคลื่อน ลงมาได้ระยะทางเท่ากี่เมตร 33. ขว้างลูกบอลลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที วัตถุจะเคลื่อน ลงมาได้ระยะทางเท่ากี่เมตร 34. ขว้างลูกบอลลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ใช้เวลา 3 วินาที จึงจะถึงพื้นถามว่าความเร็วของ ลูกบอลขณะกระทบพื้นมีค่ากี่เมตร/วินาที การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวดิ่ง การกาหนดทิศความเร่งเพื่อความสะดวกในการคานวณ
  • 13. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 13 - 35. (En 41/2) ลูกบอลตกจากจุด A ซึ่งสูง h จากพื้นเมื่อผ่านจุด B ซึ่งสูง h/4 จากพื้นจะมีอัตราเร็วกี่เมตร/วินาที 1. (gh/2)1/2 2. (gh)1/2 3. (3gh/2)1/2 4. (2gh)1/2 36. (En 40) ชายคนหนึ่งโยนเหรียญขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น 10 เมตร/วินาที เป็นเวลาเท่าใดเหรียญจึง จะตกลงมาถึงตาแหน่งเริ่มต้น 1. 1 s 2. 2 s 3. 3 s 4. 4 s 37. (En 44/2) โยนวัตถุก้อนหนึ่งขึ้นไปในแนวดิ่งโดยวัตถุขึ้นถึงจุดสูงสุดที่ B ถ้า A และ C เป็นจุดที่อยู่ในระดับ เดียวกันดังรูป เมื่อไม่คิดผลของแรงต้านอากาศข้อต่อไปนี้ข้อใดถูก 1. ที่จุด B วัตถุมีความเร็วและความเร่งเป็นศูนย์ 2. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร็วเท่ากัน 3. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร่งขนาดเท่ากัน แต่ทิศทางตรงกันข้าม 4. ที่จุด A , B และ C วัตถุมีความเร่งเท่ากันทั้งขนาดและทิศทาง 38. (มช 41) เด็กคนหนึ่งโยนก้อนหินขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็วต้น 10 เมตร/วินาที ก้อนหินตกถึงพื้นซึ่งอยู่ต่า กว่าตาแหน่งมือที่กาลังโยนเป็นระยะทาง 15 เมตร จงหาว่าก้อนหินเคลื่อนที่อยู่ในอากาศเป็นเวลานานกี่วินาที 39. (En 40) นาย ก ยืนอยู่บนดาดฟ้าตึกซึ่งสูงจากพื้นดิน 20 เมตร ปล่อยก้อนหินลงไปในแนวดิ่งในขณะเดียวกัน นาย ข ซึ่งอยู่ที่พื้นดินโยนก้อนหินขึ้นไปตรงๆ ด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาทีก้อนหินทั้งสองจะพบกันที่สูงจาก พื้นดินกี่เมตร
  • 14. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 14 - 40. โยนวัตถุสองก้อน A และ B ให้เคลื่อนที่ขึ้นตามแนวดิ่ง ระยะทางสูงสุดที่วัตถุ A และ B เคลื่อนที่ขึ้นไปได้คือ 50 และ 200 เมตร ตามลาดับ อัตราส่วนของความเร็วต้นของ A ต่อของ B มีค่าเท่าใด 41. ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนดาดฟ้าของตึกเขาขว้างก้อนหินมวล 0.1 กิโลกรัม ขึ้นไปในอากาศในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 5 เมตร/วินาที หลังจากก้อนหินหลุดจากมือเขา 6 วินาทีก็ตกถึงพื้นดินความสูงของตึกเป็นเท่าไร 42. รถไฟ 2 ขบวน วิ่งเข้าหากันโดยวิ่งในรางเดียวกัน รถขบวนที่ 1 วิ่งด้วยความเร็ว10 เมตร/วินาที ส่วนรถ ขบวนที่ 2 วิ่งด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างกัน 325 เมตร รถไฟทั้ง 2 ขบวน ต่างเบรครถ และหยุดได้พอดีพร้อมกันโดยห่างกัน 25 เมตรเวลาที่รถทั้งสองใช้เป็นเท่าใด 43. วัตถุหนึ่งเริ่มเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่ง ด้วยความเร่งคงที่ปรากฏว่าในวินาทีที่ 15 วัตถุเคลื่อนที่ได้ทาง 58 เมตร จงหาความเร่งของวัตถุ
  • 15. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 15 - ความเร่ง = ……….. ความเร็ว ………… การกระจัด …………………. ความเร่ง = ……….. ความเร็ว ………… การกระจัด …………………. ความเร่ง = ……….. ความเร็ว ………… การกระจัด …………………. การขจัดคงที่ แสดงว่า............................ ความเร็ว = ……… ความเร่ง = ………. กราฟของการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง6 กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร่ง ความเร็ว และการกระจัด กราฟชุดที่ 1 กราฟชุดที่ 2 กราฟชุดที่ 3
  • 16. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 16 - 44. ตามรูปเป็นกราฟระหว่างการกระจัด – เวลา ช่วงเวลาข้อใด มีความเร็ว เป็นศูนย์ ก) 10 t , 2 4t t ข) 2t , 3 4t t ค) 10 t , 3 4t t ง) 10 t , 2 3t t กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร่ง ความเร็ว และการกระจัด กราฟชุดที่ 1 กราฟชุดที่ 2 กราฟชุดที่ 3 พื้นที่ใต้กราฟ ไม่นิยาม ความชันเส้นกราฟ = v พื้นที่ใต้กราฟ = S ความชันเส้นกราฟ = a พื้นที่ใต้กราฟ = v – u ความชันเส้นกราฟ ไม่นิยาม
  • 17. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 17 - 45. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงได้กราฟระหว่าง ความเร็ว – เวลา ดังรูป ถามว่าเมื่อสิ้นวินาทีที่ 6 การขจัดจะเป็นกี่เมตร 1. 1190 2. 80 3. 180 4. 90 46. จากกราฟการเคลื่อนที่ดังรูป จงหาความเร่ง ณ. วินาทีที่ 9 47. รถเริ่มแล่นจากจุดหยุดนิ่ง โดยมีความเร่งตามที่แสดงในกราฟ จงหา ความเร็วของรถที่เวลา 30 วินาที จากจุดเริ่มต้น 1. 40 m/s 2. 20 m/s 3. 10 m/s 4. 0 m/s 48. จากกราฟของความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นดังรูป ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ทั้งหมด
  • 18. Mechanics Physics - การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in One Dimension) - มัธยมศึกษา 4 “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG - 18 - 49. จากกราฟความเร็ว–เวลา ซึ่งแสดงการเดินทางไปช่วงเวลา A, B, C และ D จงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ไปได้ใน 0.5 ชั่วโมง 1. 18.5 กิโลเมตร 2. 19.5 กิโลเมตร 3. 20.0 กิโลเมตร 4. 40.0 กิโลเมตร