SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
คาชี้แจง 
1. แบบแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอัตราส่วน สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 แบ่งเป็น 8 ชุด แต่ละชุดมีส่วนประกอบดังนี้ 
1.1 ส่วนหน้า ประกอบด้วย ปก คานา สารบัญ คาชี้แจง 
1.2 ส่วนเนื้อหา ประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ 
สาระการเรียนรู้ สาระสาคัญ ใบความรู้ แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์และแบบทดสอบหลังเรียน 
1.3 ส่วนท้าย ประกอบด้วย บรรณานุกรม ภาคผนวก (กระดาษคาตอบ 
แบบบันทึกคะแนน เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะคณิตสาสตร์ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน) 
2. แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดนี้ เป็น ชุดที่ 7 สัดส่วน 
3. คาแนะนาในการใช้ชุดฝึกทักษะคณิตศาสตร์แต่ละชุดให้ปฏิบัติดังนี้ 
3.1 ทดสอบก่อนเรียน 
3.2 ตรวจคาตอบก่อนเรียน 
3.3 ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้และรายละเอียดของเนื้อหาจาก 
ใบความรู้ให้เข้าใจ 
3.4 ทาแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์แต่ละชุดด้วยตนเอง โดยเขียนตอบลงใน 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์แต่ละชุด ห้ามเปิดไปดูเฉลยก่อนทาแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ 
3.5 ตรวจคาตอบแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ 
3.6 ทดสอบหลังเรียน 
3.7 ตรวจคาตอบหลังเรียน 
4. นักเรียนจะต้องทาถูกต้องร้อยละ 80 ขึ้นไป ของจานวนข้อทั้งหมดของแต่ละแบบฝึกเสริม ทักษะคณิตศาสตร์ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมินของแต่ละแบบฝึก
2 
เกณฑ์การให้คะแนนแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ 
1) เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน แบบฝึกแต่ละเล่มซึ่งเป็นแบบเลือกตอบ 
แบบฝึกเสริมทักษะแบบเลือกถูก-ผิด และแบบจับคู่ มีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ 
- ตอบถูกให้ 1 คะแนน - ตอบผิดให้ 0 คะแนน 
2) เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบแสดงวิธีทา 
ระดับคะแนน 
เกณฑ์การให้คะแนน 
4 
คาตอบถูกต้องและแสดงวิธีทาที่มีประสิทธิภาพโดยแสดงถึงการคิดอย่างเป็นระบบ และการคิดวิเคราะห์ 
3 
คาตอบถูกต้องและแสดงวิธีทาถูกต้องสมบูรณ์ 
2 
คาตอบถูกต้อง แสดงวิธีทาถูกต้อง 
1 
คาตอบถูกต้อง มีการแสดงแสดงวิธีทา แต่ยังไม่สมบูรณ์ 
0 
คาตอบไม่ถูกต้อง และแสดงวิธีทาไม่ถูกต้อง 
3) การวัดและประเมินผลด้านทักษะ/กระบวนการ 
ระดับคุณภาพ 
เกณฑ์การพิจารณา 
4 
(ดีมาก) 
- ทาแบบฝึกเสริมทักษะครบถ้วนและเสร็จตามกาหนดเวลา 
- ทาแบบฝึกเสริมทักษะได้ถูกต้อง 
- แสดงลาดับขั้นตอนของการทาแบบฝึกเสริมทักษะชัดเจนเหมาะสม 
3 
(ดี) 
- ทาแบบฝึกเสริมทักษะครบถ้วนและเสร็จตามกาหนดเวลา 
- ทาแบบฝึกเสริมทักษะได้ถูกต้อง 
- สลับขั้นตอนของการทาแบบฝึกเสริมทักษะ หรือไม่ระบุขั้นตอนของการทา 
2 
(พอใช้) 
- ทาแบบฝึกเสริมทักษะครบถ้วน แต่เสร็จหลังกาหนดเวลาเล็กน้อย 
- ทาแบบฝึกเสริมทักษะบางข้อไม่ถูกต้อง 
- สลับขั้นตอนของการทาแบบฝึกเสริมทักษะ หรือไม่ระบุขั้นตอนของการทา 
แบบฝึกเสริมทักษะ 
1 
(ต้อง 
ปรับปรุง) 
- ทาแบบฝึกเสริมทักษะไม่ครบถ้วน หรือไม่เสร็จตามกาหนดเวลา 
- ทาแบบฝึกเสริมทักษะไม่ถูกต้อง 
- แสดงลาดับขั้นตอนของการทาแบบฝึกเสริมทักษะไม่สัมพันธ์กับโจทย์ หรือไม่ แสดงลาดับขั้นตอน
3 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) 
ชุดที่ 7 เรื่อง สัดส่วน 
********************************************************************************* 
คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านคาถามต่อไปนี้ทีละข้อ แล้วกาเครื่องหมาย  ลงในช่องใต้ตัวอักษร 
ก, ข, ค และ ง ที่นักเรียนเห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ในกระดาษคาตอบ 
ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 20 นาที 
1. ถ้า 30 : 38 = 27 : X แล้ว X มีค่าเท่าไร 
ก. 16.5 
ข. 20.8 
ค. 34.2 
ง. 42.7 
2. ถ้า 0.003 : 0.04 = M : 0.005 แล้ว M มีค่าเท่าไร 
ก. 375 
ข. 37.5 
ค. 0.0375 
ง. 0.00375 
3. ถ้า x = และ y = 20 ข้อใดถูกต้อง 
ก. x : y = 100 : 3 
ข. x : y = 3 : 100 
ค. x : y = 60 : 5 
ง. x : y = 5 : 60 
4. ถ้า a : 6 = 15 : 45 แล้ว a เท่ากับข้อใด 
ก. 2 
ข. 3 
ค. 4 
ง. 5
4 
5. ถ้า แล้ว 2 x + 3 เท่ากับข้อใด 
ก. 27 
ข. 29 
ค. 28 
ง. 39 
6. ถ้า แล้ว + 2 เท่ากับข้อใด 
ก. 9 
ข. 10 
ค. 11 
ง. 12 
7. ถ้า แล้ว a เท่ากับข้อใด 
ก. 72 
ข. 84 
ค. 96 
ง. 108 
8. ถ้า แล้ว x เท่ากับข้อใด 
ก. 
ข. 
ค. 
ง.
5 
9. ถ้า แล้ว 4z + 8 เท่ากับข้อใด 
ก. 44 
ข. 48 
ค. 52 
ง. 56 
10. ถ้า (2X - 1) : (X + 9) = 5 : 4 แล้ว X มีค่าเท่าไร 
ก. 16.33 
ข. 18.25 
ค. 20.03 
ง. 26.34 
ไชโย ! ทาได้ทุกข้อเลย
6 
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
สามารถอธิบายการหาสัดส่วน 
เด็กๆพร้อมที่จะ เรียนรู้หรือยังคะ 
โอเค !
7 
สาระการเรียนรู้ 
จานวนที่แทนด้วยตัวแปรในสัดส่วน 
สาระสาคัญ 
สัดส่วนคือประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วน สองอัตราส่วน
8 
ใบความรู้ที่ 7.1 
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
********************************************************************************* 
สัดส่วน 
นักเรียนเคยรู้จักอัตราส่วนสองอัตราส่วนที่เท่ากันมาแล้ว เช่น 
4 : 5 = 8 : 10 , 
, 
แต่ละประโยคข้างต้นแสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน 
ประโยคสัญลักษณ์ เป็นสัดส่วน 
27 
6 
9 
2 
  
18 
15 
6 
5 
  
9 
21 
3 
7 
  
18 
12 
a 
8 
  
7 
9 
28 
a 
  
a 
4 
56 
27 
: 
7 
3 
 
9 
สมบัติของสัดส่วน 
ถ้า a  b = c  d หรือ 
d 
c 
b 
a 
 
ad = bc (ผลคูณของพจน์กลางเท่ากับผลคูณของพจน์ท้าย) 
โดยที่ a , b , c และ d ไม่เท่ากับศูนย์ 
..ข้อควรรู้..เราใช้สมบัติของสัดส่วนและการแก้สมการในการหาค่าตัวแปรที่อยู่ในสัดส่วน 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่า m ในสัดส่วน 8  11 = m  33 
วิธีทา 
8 11 = m  33 
8(33) = m(11) 
11 
8(33) = m 
24 = m 
ดังนั้น m = 24 
ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่า m ในสัดส่วน (m – 4)  81 = 7  9 
วิธีทา 
(m – 4)  81 = 7  9 
9(m – 4) = 7(81) 
m – 4 = 
9 
7(81) 
m – 4 = 63 
m = 63 + 4 = 67 
ดังนั้น m = 67
10 
ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่า m ในสัดส่วน (m – 3)  7 = (m + 1)  5 
วิธีทา 
(m – 3)  7 = (m + 1)  5 
5(m – 3) = 7(m + 1) 
5m – 15 = 7m + 7 
5m – 7m = 7 + 15 
– 2m = 22 
m = 
2 
22 
 
= – 11 
ดังนั้น m = – 11 
ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าของ ในสัดส่วน 
วิธีทา เนื่องจาก 
จะได้ 
ดังนั้น ค่าของ เป็น 20 
ตอบ 20 
ตัวอย่างที่ 5 จงหาค่าของ ในสัดส่วน 
วิธีทา เนื่องจาก 
จะได้ 
ดังนั้น ค่าของ เป็น 7 
ตอบ 7
11 
ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่า จากสัดส่วน 
9 
4  
a 
16 
วิธีที่ 1 เนื่องจาก 
9 
4  
9 
4  
4 
4  
36 
16 
ดังนั้น a  36 
วิธีที่2 จะใช้หลักการคูณไขว้จาก 
9 
4  
a 
16 
ดังนั้น 4  a  9  16 
a  
4 
9 16 
จะได้ a  36 
อย่างง่ายเลยไช่ไหมครับ
12 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ที่ 7.1 
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
********************************************************************************* 
คาชี้แจง หาจา นวนที่แทนตัวแปรในสัดส่วนที่กา หนดให้ต่อไปนี้ 
1) 
40 
a 
5 
3 
  ………………………………………………...............................….. 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
2) 
b 
35 
9 
5 
  ………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
3) 
45 
36 
15 
c 
  ……………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
4) 
12 
33 
m 
11 
  …………………………………………………………………...….. 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………
13 
ใบความรู้ที่ 7.2 
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
********************************************************************************* 
ชนิดของสัดส่วน 
สัดส่วน เป็นการกล่าวถึงอัตราส่วนที่เท่ากันสองอัตราส่วน ซึ่งสัดส่วนแบ่งเป็น 2 ชนิด ดังนี้ คือ 
1. สัดส่วนตรง หมายถึง สัดส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบอัตราส่วนสองอัตราส่วนที่มีความสัมพันธ์ไป 
ในทางเดียวกัน โดยที่อัตราส่วนหนึ่งเพิ่มขึ้น อีกอัตราส่วนหนึ่งก็จะเพิ่มตามหรือ อัตราส่วนหนึ่งลดลง 
อีกอัตราส่วนหนึ่งก็จะลดลงตาม เช่น 
ก๋วยเตี๋ยว 1 ชาม ราคา 20 บาท 
ก๋วยเตี๋ยว 2 ชาม ราคา 40 บาท 
ก๋วยเตี๋ยว 6 ชาม ราคา 120 บาท 
ก๋วยเตี๋ยว 4 ชาม ราคา 80 บาท 
ความสัมพันธ์ของจา นวนชามก๋วยเตี๋ยวกับราคาไปในทางเดียวกัน กล่าวคือ เมื่อจา นวนชาม 
ก๋วยเตี๋ยวเพิ่มขึ้นราคาจะเพิ่มขึ้นตาม ถ้าจา นวนชามก๋วยเตี๋ยวลดลงราคาจะลดลงตามไปด้วย 
ความสัมพันธ์ดังกล่าว เขียนเป็นสัดส่วนตรงได้ดังนี้ 
120 
6 
80 
4 = 
20 
1 
20 
1 = 
20 
1 
40 
2 = 
20 
1 
20 
1 = 
จา นวนชาม 
ราคา
14 
สมบัติของสัดส่วนตรง 
a  b และ c  d เป็นสัดส่วนตรงก็ต่อเมื่อ 
a  b = c  d หรือ d c 
b a 
 หรือ ad = bc 
โดยที่ a , b , c และ d ต้องไม่เท่ากับศูนย์ 
ตัวอย่างที่ 7 กา หนดให้ a  b เป็นสัดส่วนตรงกับ c  d 
1. เมื่อ a = 4 , b = 7 , c = 8 , d จะมีค่าเท่าไร 
2. เมื่อ a = 20 , b = 30 , d = 6 , c จะมีค่าเท่าไร 
3. เมื่อ a = 13 , c = 39 , d = 45 , b จะมีค่าเท่าไร 
4. เมื่อ b = 130 , c = 13 , d = 10 , a จะมีค่าเท่าไร 
วิธีทา 
1. เนื่องจาก a  b = c  d เป็นสัดส่วนตรง จะได้ 
a  b = c  d 
ad = bc 
4  7 = 8  d 
4(d) = 8(7) 
d = 
4 
8(7) = 14 
ดังนั้น d = 14
15 
2. เนื่องจาก a  b = c  d เป็นสัดส่วนตรง จะได้ 
a  b = c  d 
ad = bc 
20  30 = c  6 
(30)c = 20(6) 
= 
30 
20(6) 
c = 4 
ดังนั้น c = 4 
3. เนื่องจาก a  b = c  d เป็นสัดส่วนตรง จะได้ 
a  b = c  d 
ad = bc 
13  b = 39  45 
39(b) = 13(45) 
b = 
39 
13(45) 
b = 15 
ดังนั้น b = 15 
4. เนื่องจาก a  b = c  d เป็นสัดส่วนตรง จะได้ 
a  b = c  d 
ad = bc 
a  130 = 13  10 
(10)a = 13(130) 
a = 
10 
13(130) = 169 
ดังนั้น a = 169
16 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ที่ 7.2 
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
********************************************************************************* 
คาชี้แจง แสดงวิธีหาจานวนที่แทนตัวแปรในสัดส่วนที่กาหนดให้ โดยใช้หลักการคูณไขว้ 
1) 
5 
42 
15 
m 
 2) 
3.1 
1.2 
a 
14.4 
 
…………………………………………..…… ………………………..……………………… 
……………………………………………….. …………………………..…………………… 
……………………………………………….. ……….………………..……………………… 
……………………………………………….. ……………………..………………………… 
……………………………………………….. ……………………..………………………… 
……………………………………………….. ……………………..………………………… 
……………………………………………….. ……………………..………………………… 
……………………………………………….. ……………………..………………………… 
……………………………………………….. ……………………..………………………… 
3) : 6 y : 12 
2 
1 
1  4) 16 : 28 12 : x 
…………………………………………..…… ………………………..……………………… 
……………………………………………….. …………………………..…………………… 
……………………………………………….. ……….………………..……………………… 
……………………………………………….. ……………………..………………………… 
……………………………………………….. ……………………..………………………… 
……………………………………………….. ……………………..………………………… 
……………………………………………….. ……………………..………………………… 
……………………………………………….. ……………………..………………………… 
……………………………………………….. ……………………..…………………………
17 
ใบความรู้ที่ 7.3 
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
********************************************************************************* 
สัดส่วนผกผัน 
สัดส่วนผกผัน หมายถึง สัดส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบอัตราส่วนสองอัตราส่วน ที่มี 
ความสัมพันธ์ไปในทางตรงกันข้าม โดยที่อัตราส่วนหนึ่งเพิ่มขึ้น อีกอัตราส่วนหนึ่งจะลดลง หรือ 
อัตราส่วนหนึ่งลดลง อีกอัตราส่วนหนึ่งจะเพิ่มขึ้น เช่น 
ช่างก่อสร้าง 10 คน เทพื้นปูนเสร็จภายในเวลา 4 วัน 
ช่างก่อสร้าง 20 คน เทพื้นปูนแบบเดียวกันเสร็จภายในเวลา 2 วัน 
ช่างก่อสร้าง 5 คน เทพื้นปูนแบบเดียวกันเสร็จภายในเวลา 8 วัน 
ความสัมพันธ์ของจา นวนคนกับเวลาที่ใช้ทา งานไปในทางตรงกันข้าม กล่าวคือ เมื่อจา นวน 
คนเพิ่มขึ้นจา นวนวันทา งานลดลง ถ้าจา นวนคนลดลงจา นวนวันทา งานเพิ่มขึ้น ความสัมพันธ์ดังกล่าว 
เขียนเป็นสัดส่วนผกผันได้ดังนี้ 
4 
20 
2 
10 = 
1 
5 
1 
5 = 
จา นวนคน 
จา นวนวัน
18 
สมบัติของสัดส่วนผกผัน 
สมบัติของสัดส่วนผกผัน 
a  b และ c  d เป็นสัดส่วนผกผันก็ต่อเมื่อ 
a  c = d  b หรือ b 
d 
c 
a 
 หรือ ab = cd 
โดยที่ a , b , c และ d ต้องไม่เท่ากับศูนย์ 
ตัวอย่างที่ 8 กา หนดให้ a  b เป็นสัดส่วนผกผันกับ c  d 
1. เมื่อ a = 4 , b = 27 , c = 9 , d จะมีค่าเท่าไร 
2. เมื่อ a = 25 , b = 6 , d = 5 , c จะมีค่าเท่าไร 
3. เมื่อ a = 121 , c = 99 , d = 11 , b จะมีค่าเท่าไร 
วิธีทา 
1. เนื่องจาก a  b และ c  d เป็นสัดส่วนผกผัน จะได้ 
a  c = d  b 
ab = cd 
a  c = d  b 
4  9 = d  27 
4(27) = d(9) 
9 
4(27) = d 
12 = d 
ดังนั้น d = 12
19 
2. เนื่องจาก a  b และ c  d เป็นสัดส่วนผกผัน จะได้ 
a  c = d  b 
25  c = 5  6 
25(6) = 5(c) 
5 
25(6) = c 
30 = c 
ดังนั้น c = 30 
3. เนื่องจาก a  b และ c  d เป็นสัดส่วนผกผัน จะได้ 
a  c = d  b 
121  99 = 11  b 
121(b) = 11(99) 
b = 
121 
11(99) 
ดังนั้น b = 9
20 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ที่ 7.3 
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
********************************************************************************* 
คาชี้แจง กา หนดให้ a, b, c และ d เป็นสัดส่วนผกผัน และ 
b 
a = 
c 
d จงหา 
1. ค่าของ a เมื่อ b = 7, c = 49, d = 21 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
2. ค่าของ c เมื่อ a = 3, b = 4, d = 10 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
3. ค่าของ d เมื่อ a = 0.5, b = 0.8, c = 5.6 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………………………………
21 
4. ค่าของ b เมื่อ a = 5.2, c = 1.6, d = 1.3 
………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 
5. ค่าของ d เมื่อ a = 0.5 , b = 2 , c = 8 
………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………
22 
แบบทดสอบหลังเรียน 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
********************************************************************************* 
คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านคาถามต่อไปนี้ทีละข้อ แล้วกาเครื่องหมาย  ลงในช่องใต้ตัวอักษร 
ก, ข, ค และ ง ที่นักเรียนเห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ในกระดาษคาตอบ 
ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 20 นาที 
1. ถ้า 30 : 38 = 27 : X แล้ว X มีค่าเท่าไร 
ก. 16.5 
ข. 20.8 
ค. 34.2 
ง. 42.7 
2. ถ้า 0.003 : 0.04 = M : 0.005 แล้ว M มีค่าเท่าไร 
ก. 375 
ข. 37.5 
ค. 0.0375 
ง. 0.00375 
3. ถ้า x = และ y = 20 ข้อใดถูกต้อง 
ก. x : y = 100 : 3 
ข. x : y = 3 : 100 
ค. x : y = 60 : 5 
ง. x : y = 5 : 60 
4. ถ้า a : 6 = 15 : 45 แล้ว a เท่ากับข้อใด 
ก. 2 
ข. 3 
ค. 4 
ง. 5
23 
5. ถ้า แล้ว 2 x + 3 เท่ากับข้อใด 
ก. 27 
ข. 29 
ค. 28 
ง. 39 
6. ถ้า แล้ว + 2 เท่ากับข้อใด 
ก. 9 
ข. 10 
ค. 11 
ง. 12 
7. ถ้า แล้ว a เท่ากับข้อใด 
ก. 72 
ข. 84 
ค. 96 
ง. 108 
8. ถ้า แล้ว x เท่ากับข้อใด 
ก. 
ข. 
ค. 
ง.
24 
9. ถ้า แล้ว 4z + 8 เท่ากับข้อใด 
ก. 44 
ข. 48 
ค. 52 
ง. 56 
10. ถ้า (2X - 1) : (X + 9) = 5 : 4 แล้ว X มีค่าเท่าไร 
ก. 16.33 
ข. 18.25 
ค. 20.03 
ง. 26.34 
ไชโย ! ทาได้ทุกข้อเลย
25 
บรรณานุกรม 
กนกวลี อุษณกรกุล และคณะ หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์, 2547. 
ฉวีวรรณ เศวตมาลย์ และคณะ. กิจกรรมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. 
กรุงเทพมหานคร: ประสานมิตร, 2546. 
นพพร แหยมแสง และ มาลินทร์ อิทธิรส. หนังสือสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการ 
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.), 2547 
พนิดา พิสิฐอมรชัย และคณะ. แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
ภาคเรียนที่ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสานักพิมพ์แม็ค จากัด, 2554. 
วาสนา ทองการุณ. คณิตสาสตร์ ม.2 เล่ม 1 รายวิชาพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสานักพิมพ์เดอะ 
บุคส์ จากัด, 2554. 
สุพล สุวรรณนพ และ คณะ. สื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างทักษะตามมาตรฐานการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ 
3. กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา, 2547. 
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. . คู่มือครูวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพมหานคร: 
โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554. 
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโยลี, สถาบัน. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ 
เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: 
โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
26 
ภาคผนวก
27 
กระดาษคาตอบ 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
โรงเรียนรัตนบุรี อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ 
****************************************************************************** 
ชื่อ .............................................................. เลขที่ .............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/ ..... 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
แบบทดสอบหลังเรียน 
ข้อ 
ก 
ข 
ค 
ง 
ข้อ 
ก 
ข 
ค 
ง 
1 
1 
2 
2 
3 
3 
4 
4 
5 
5 
6 
6 
7 
7 
8 
8 
9 
9 
10 
10
28 
แบบบันทึกผลการสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ 
รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
********************************************************************* 
ชื่อ ...................................................... เลขที่ ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/ .......... 
โรงเรียนรัตนบุรี อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ 
1) แบบทดสอบ 
แบบทดสอบ 
คะแนนเต็ม 
คะแนนที่ทาได้ 
หมายเหตุ 
ก่อนเรียน 
10 
หลังเรียน 
10 
ผลการพัฒนา 
2) แบบฝึกเสริมทักษะ 
ชุดที่ 
คะแนนเต็ม 
คะแนนที่ทาได้ 
หมายเหตุ 
7.1 
4 
7.2 
4 
7.3 
5 
รวม 
13 
เฉลี่ย 
ร้อยละ 
(ลงชื่อ) ..............................................ผู้บันทึก 
( นายพิทักษ์ ทวีแสง ) 
หมายเหตุ ผลการพัฒนา หมายถึง คะแนนทดสอบหลังเรียนมากกว่าก่อนเรียน
29 
ตอบให้ถูกทุกข้อนะ 
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ที่ 7.1 
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
คาชี้แจง หาจา นวนที่แทนตัวแปรในสัดส่วนที่กา หนดให้ต่อไปนี้ 
1) 
40 
a 
5 
3 
  ………………………………………………...............................….. 
2) 
b 
35 
9 
5 
  ………………………………………………………………………. 
3) 
45 
36 
15 
c 
  ……………………………………………………………………… 
4) 
12 
33 
m 
11 
  …………………………………………………………………...….. 
3×40  5×a  a  24 
5  b  9  35  b  63 
c  45  36  15  c  12 
m×33  11×12  m  4
30 
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ที่ 7.2 
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
********************************************************************************* 
คาชี้แจง แสดงวิธีหาจา นวนที่แทนตัวแปรในสัดส่วนที่กา หนดให้ โดยใช้หลักการคูณไขว้ 
1) 
5 
42 
15 
m 
 2) 
3.1 
1.2 
a 
14.4 
 
3) : 6 y : 12 
2 
1 
1  4) 16 : 28 12 : x 
จะได้ m×5  15 42 จะได้ a×1.2  14.43.1 
m×5  630 a×1.2  44.64 
m  630  5 a  44.64  1.2 
m  126 a  37.2 
จะได้ 
6 
1.5  
12 
y จะได้ 
28 
16  
x 
12 
1.5×12  6× y 16 × x  1228 
18  6× y 16 × x  336 
y  
6 
18 x  336  16 
 3  21
31 
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ที่ 7.3 
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
********************************************************************************* 
คาชี้แจง กา หนดให้ a, b, c และ d เป็นสัดส่วนผกผัน และ 
b 
a = 
c 
d จงหา 
1. ค่าของ a เมื่อ b = 7, c = 49, d = 21 
วิธีทา จาก 
b 
a = 
c 
d 
จะได้ 
7 
a = 
49 
21 
a = 
49 
21 7  
ดังนั้น a = 3 
2. ค่าของ c เมื่อ a = 3, b = 4, d = 10 
วิธีทา จาก 
b 
a = 
c 
d 
จะได้ 
4 
3 = 
c 
10 
c = 
3 
4 10  
ดังนั้น c = 13.33 
3. ค่าของ d เมื่อ a = 0.5, b = 0.8, c = 5.6 
วิธีทา จาก 
b 
a = 
c 
d 
จะได้ 
0.8 
0.5 = 
5.6 
d 
d = 
0.8 
0.5 5.6 
ดังนั้น d = 3.5
32 
4. ค่าของ b เมื่อ a = 5.2, c = 1.6, d = 1.3 
วิธีทา จาก 
b 
a = 
c 
d 
จะได้ 
b 
5.2 = 
1.6 
1.3 
b = 
1.3 
1.6 5.2 
ดังนั้น b = 6.4 
5. ค่าของ d เมื่อ a = 0.5 , b = 2 , c = 8 
วิธีทา จาก 
b 
a = 
c 
d 
จะได้ 
2 
0.5 = 
8 
d 
d = 
2 
0.5 8 
ดังนั้น d = 2
33 
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
1) ค 
2) ง 
3) ง 
4) ก 
5) ก 
6) ข 
7) ค 
8) ค 
9) ง 
10) ก 
เด็กดีต้องไม่โกงข้อสอบนะครับ
34 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) 
ชุดที่ 7 สัดส่วน 
1) ค 
2) ง 
3) ง 
4) ก 
5) ก 
6) ข 
7) ค 
8) ค 
9) ง 
10) ก 
เก่งทุกคนเลยครับ
35 
ประวัติผู้จัดทา 
ชื่อ-สกุล นายพิทักษ์ ทวีแสง 
วันเดือนปีเกิด วันที่ 17 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2519 
ที่อยู่ปัจจุบัน 67 หมู่ที่ 9 ตาบลหนองบัวทอง อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ 
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ 
สถานที่ทางานปัจจุบัน 
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 
โรงเรียนรัตนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 
ประวัติการศึกษา 
พ.ศ. 2532 ประถมศึกษา โรงเรียนบ้านโนนโพธิ์ 
อาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด 
พ.ศ. 2538 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนหนองพอกวิทยา 
อาเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด 
พ.ศ. 2542 ปริญญาตรี ครุศาสตร์บันฑิต(คบ.) วิชาเอกคณิตศาสตร์ 
สถาบันราชภัฏนครราชสีมา 
พ.ศ. 2553 ประกาศนียบัตรวิชาชีพการบริหารการศึกษา (ป.บัณฑิต) 
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 
พ.ศ. 2554 ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา 
มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 KruPa Jggdd
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfssusera0c3361
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.kanjana2536
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวรรณิภา ไกรสุข
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมkanjana2536
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วนแบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วนMath and Brain @Bangbon3
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
31201mid521
31201mid52131201mid521
31201mid521
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วนแบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 

Viewers also liked

หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละชายชรา ริมทะเลสาบ
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละmakotosuwan
 
ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...sornordon
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ทับทิม เจริญตา
 

Viewers also liked (8)

หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
ม.3
ม.3ม.3
ม.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 
ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
 

Similar to ชุดที่ 7 สัดส่วน

เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2555
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2555เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2555
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2555Tonson Lalitkanjanakul
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558Tonson Lalitkanjanakul
 
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557Tonson Lalitkanjanakul
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการkanjana2536
 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยมKamolthip Boonpo
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันAon Narinchoti
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2pumtuy3758
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 

Similar to ชุดที่ 7 สัดส่วน (20)

เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2555
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2555เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2555
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2555
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
 
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 2 3)
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
 
อันดับ
อันดับอันดับ
อันดับ
 
อันดับ
อันดับอันดับ
อันดับ
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการ
 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 2
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 

More from พิทักษ์ ทวี

โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์พิทักษ์ ทวี
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารพิทักษ์ ทวี
 
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณพิทักษ์ ทวี
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2พิทักษ์ ทวี
 

More from พิทักษ์ ทวี (12)

ผลงานนักเรียนปี 2555
ผลงานนักเรียนปี 2555ผลงานนักเรียนปี 2555
ผลงานนักเรียนปี 2555
 
ผลงานนักเรียนปี 2557
ผลงานนักเรียนปี 2557ผลงานนักเรียนปี 2557
ผลงานนักเรียนปี 2557
 
ผลงานนักเรียนปี 2556
ผลงานนักเรียนปี 2556ผลงานนักเรียนปี 2556
ผลงานนักเรียนปี 2556
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
 
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
 
Ratio m2
Ratio m2Ratio m2
Ratio m2
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
 

ชุดที่ 7 สัดส่วน

  • 1. คาชี้แจง 1. แบบแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอัตราส่วน สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 แบ่งเป็น 8 ชุด แต่ละชุดมีส่วนประกอบดังนี้ 1.1 ส่วนหน้า ประกอบด้วย ปก คานา สารบัญ คาชี้แจง 1.2 ส่วนเนื้อหา ประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ สาระสาคัญ ใบความรู้ แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์และแบบทดสอบหลังเรียน 1.3 ส่วนท้าย ประกอบด้วย บรรณานุกรม ภาคผนวก (กระดาษคาตอบ แบบบันทึกคะแนน เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะคณิตสาสตร์ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน) 2. แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดนี้ เป็น ชุดที่ 7 สัดส่วน 3. คาแนะนาในการใช้ชุดฝึกทักษะคณิตศาสตร์แต่ละชุดให้ปฏิบัติดังนี้ 3.1 ทดสอบก่อนเรียน 3.2 ตรวจคาตอบก่อนเรียน 3.3 ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้และรายละเอียดของเนื้อหาจาก ใบความรู้ให้เข้าใจ 3.4 ทาแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์แต่ละชุดด้วยตนเอง โดยเขียนตอบลงใน แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์แต่ละชุด ห้ามเปิดไปดูเฉลยก่อนทาแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ 3.5 ตรวจคาตอบแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ 3.6 ทดสอบหลังเรียน 3.7 ตรวจคาตอบหลังเรียน 4. นักเรียนจะต้องทาถูกต้องร้อยละ 80 ขึ้นไป ของจานวนข้อทั้งหมดของแต่ละแบบฝึกเสริม ทักษะคณิตศาสตร์ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมินของแต่ละแบบฝึก
  • 2. 2 เกณฑ์การให้คะแนนแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ 1) เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน แบบฝึกแต่ละเล่มซึ่งเป็นแบบเลือกตอบ แบบฝึกเสริมทักษะแบบเลือกถูก-ผิด และแบบจับคู่ มีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ - ตอบถูกให้ 1 คะแนน - ตอบผิดให้ 0 คะแนน 2) เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบแสดงวิธีทา ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 4 คาตอบถูกต้องและแสดงวิธีทาที่มีประสิทธิภาพโดยแสดงถึงการคิดอย่างเป็นระบบ และการคิดวิเคราะห์ 3 คาตอบถูกต้องและแสดงวิธีทาถูกต้องสมบูรณ์ 2 คาตอบถูกต้อง แสดงวิธีทาถูกต้อง 1 คาตอบถูกต้อง มีการแสดงแสดงวิธีทา แต่ยังไม่สมบูรณ์ 0 คาตอบไม่ถูกต้อง และแสดงวิธีทาไม่ถูกต้อง 3) การวัดและประเมินผลด้านทักษะ/กระบวนการ ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา 4 (ดีมาก) - ทาแบบฝึกเสริมทักษะครบถ้วนและเสร็จตามกาหนดเวลา - ทาแบบฝึกเสริมทักษะได้ถูกต้อง - แสดงลาดับขั้นตอนของการทาแบบฝึกเสริมทักษะชัดเจนเหมาะสม 3 (ดี) - ทาแบบฝึกเสริมทักษะครบถ้วนและเสร็จตามกาหนดเวลา - ทาแบบฝึกเสริมทักษะได้ถูกต้อง - สลับขั้นตอนของการทาแบบฝึกเสริมทักษะ หรือไม่ระบุขั้นตอนของการทา 2 (พอใช้) - ทาแบบฝึกเสริมทักษะครบถ้วน แต่เสร็จหลังกาหนดเวลาเล็กน้อย - ทาแบบฝึกเสริมทักษะบางข้อไม่ถูกต้อง - สลับขั้นตอนของการทาแบบฝึกเสริมทักษะ หรือไม่ระบุขั้นตอนของการทา แบบฝึกเสริมทักษะ 1 (ต้อง ปรับปรุง) - ทาแบบฝึกเสริมทักษะไม่ครบถ้วน หรือไม่เสร็จตามกาหนดเวลา - ทาแบบฝึกเสริมทักษะไม่ถูกต้อง - แสดงลาดับขั้นตอนของการทาแบบฝึกเสริมทักษะไม่สัมพันธ์กับโจทย์ หรือไม่ แสดงลาดับขั้นตอน
  • 3. 3 แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชุดที่ 7 เรื่อง สัดส่วน ********************************************************************************* คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านคาถามต่อไปนี้ทีละข้อ แล้วกาเครื่องหมาย  ลงในช่องใต้ตัวอักษร ก, ข, ค และ ง ที่นักเรียนเห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ในกระดาษคาตอบ ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 20 นาที 1. ถ้า 30 : 38 = 27 : X แล้ว X มีค่าเท่าไร ก. 16.5 ข. 20.8 ค. 34.2 ง. 42.7 2. ถ้า 0.003 : 0.04 = M : 0.005 แล้ว M มีค่าเท่าไร ก. 375 ข. 37.5 ค. 0.0375 ง. 0.00375 3. ถ้า x = และ y = 20 ข้อใดถูกต้อง ก. x : y = 100 : 3 ข. x : y = 3 : 100 ค. x : y = 60 : 5 ง. x : y = 5 : 60 4. ถ้า a : 6 = 15 : 45 แล้ว a เท่ากับข้อใด ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5
  • 4. 4 5. ถ้า แล้ว 2 x + 3 เท่ากับข้อใด ก. 27 ข. 29 ค. 28 ง. 39 6. ถ้า แล้ว + 2 เท่ากับข้อใด ก. 9 ข. 10 ค. 11 ง. 12 7. ถ้า แล้ว a เท่ากับข้อใด ก. 72 ข. 84 ค. 96 ง. 108 8. ถ้า แล้ว x เท่ากับข้อใด ก. ข. ค. ง.
  • 5. 5 9. ถ้า แล้ว 4z + 8 เท่ากับข้อใด ก. 44 ข. 48 ค. 52 ง. 56 10. ถ้า (2X - 1) : (X + 9) = 5 : 4 แล้ว X มีค่าเท่าไร ก. 16.33 ข. 18.25 ค. 20.03 ง. 26.34 ไชโย ! ทาได้ทุกข้อเลย
  • 6. 6 จุดประสงค์การเรียนรู้ สามารถอธิบายการหาสัดส่วน เด็กๆพร้อมที่จะ เรียนรู้หรือยังคะ โอเค !
  • 7. 7 สาระการเรียนรู้ จานวนที่แทนด้วยตัวแปรในสัดส่วน สาระสาคัญ สัดส่วนคือประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วน สองอัตราส่วน
  • 8. 8 ใบความรู้ที่ 7.1 วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 7 สัดส่วน ********************************************************************************* สัดส่วน นักเรียนเคยรู้จักอัตราส่วนสองอัตราส่วนที่เท่ากันมาแล้ว เช่น 4 : 5 = 8 : 10 , , แต่ละประโยคข้างต้นแสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน ประโยคสัญลักษณ์ เป็นสัดส่วน 27 6 9 2   18 15 6 5   9 21 3 7   18 12 a 8   7 9 28 a   a 4 56 27 : 7 3  
  • 9. 9 สมบัติของสัดส่วน ถ้า a  b = c  d หรือ d c b a  ad = bc (ผลคูณของพจน์กลางเท่ากับผลคูณของพจน์ท้าย) โดยที่ a , b , c และ d ไม่เท่ากับศูนย์ ..ข้อควรรู้..เราใช้สมบัติของสัดส่วนและการแก้สมการในการหาค่าตัวแปรที่อยู่ในสัดส่วน ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่า m ในสัดส่วน 8  11 = m  33 วิธีทา 8 11 = m  33 8(33) = m(11) 11 8(33) = m 24 = m ดังนั้น m = 24 ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่า m ในสัดส่วน (m – 4)  81 = 7  9 วิธีทา (m – 4)  81 = 7  9 9(m – 4) = 7(81) m – 4 = 9 7(81) m – 4 = 63 m = 63 + 4 = 67 ดังนั้น m = 67
  • 10. 10 ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่า m ในสัดส่วน (m – 3)  7 = (m + 1)  5 วิธีทา (m – 3)  7 = (m + 1)  5 5(m – 3) = 7(m + 1) 5m – 15 = 7m + 7 5m – 7m = 7 + 15 – 2m = 22 m = 2 22  = – 11 ดังนั้น m = – 11 ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าของ ในสัดส่วน วิธีทา เนื่องจาก จะได้ ดังนั้น ค่าของ เป็น 20 ตอบ 20 ตัวอย่างที่ 5 จงหาค่าของ ในสัดส่วน วิธีทา เนื่องจาก จะได้ ดังนั้น ค่าของ เป็น 7 ตอบ 7
  • 11. 11 ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่า จากสัดส่วน 9 4  a 16 วิธีที่ 1 เนื่องจาก 9 4  9 4  4 4  36 16 ดังนั้น a  36 วิธีที่2 จะใช้หลักการคูณไขว้จาก 9 4  a 16 ดังนั้น 4  a  9  16 a  4 9 16 จะได้ a  36 อย่างง่ายเลยไช่ไหมครับ
  • 12. 12 แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ที่ 7.1 วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 7 สัดส่วน ********************************************************************************* คาชี้แจง หาจา นวนที่แทนตัวแปรในสัดส่วนที่กา หนดให้ต่อไปนี้ 1) 40 a 5 3   ………………………………………………...............................….. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2) b 35 9 5   ………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 3) 45 36 15 c   ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 4) 12 33 m 11   …………………………………………………………………...….. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 13. 13 ใบความรู้ที่ 7.2 วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 7 สัดส่วน ********************************************************************************* ชนิดของสัดส่วน สัดส่วน เป็นการกล่าวถึงอัตราส่วนที่เท่ากันสองอัตราส่วน ซึ่งสัดส่วนแบ่งเป็น 2 ชนิด ดังนี้ คือ 1. สัดส่วนตรง หมายถึง สัดส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบอัตราส่วนสองอัตราส่วนที่มีความสัมพันธ์ไป ในทางเดียวกัน โดยที่อัตราส่วนหนึ่งเพิ่มขึ้น อีกอัตราส่วนหนึ่งก็จะเพิ่มตามหรือ อัตราส่วนหนึ่งลดลง อีกอัตราส่วนหนึ่งก็จะลดลงตาม เช่น ก๋วยเตี๋ยว 1 ชาม ราคา 20 บาท ก๋วยเตี๋ยว 2 ชาม ราคา 40 บาท ก๋วยเตี๋ยว 6 ชาม ราคา 120 บาท ก๋วยเตี๋ยว 4 ชาม ราคา 80 บาท ความสัมพันธ์ของจา นวนชามก๋วยเตี๋ยวกับราคาไปในทางเดียวกัน กล่าวคือ เมื่อจา นวนชาม ก๋วยเตี๋ยวเพิ่มขึ้นราคาจะเพิ่มขึ้นตาม ถ้าจา นวนชามก๋วยเตี๋ยวลดลงราคาจะลดลงตามไปด้วย ความสัมพันธ์ดังกล่าว เขียนเป็นสัดส่วนตรงได้ดังนี้ 120 6 80 4 = 20 1 20 1 = 20 1 40 2 = 20 1 20 1 = จา นวนชาม ราคา
  • 14. 14 สมบัติของสัดส่วนตรง a  b และ c  d เป็นสัดส่วนตรงก็ต่อเมื่อ a  b = c  d หรือ d c b a  หรือ ad = bc โดยที่ a , b , c และ d ต้องไม่เท่ากับศูนย์ ตัวอย่างที่ 7 กา หนดให้ a  b เป็นสัดส่วนตรงกับ c  d 1. เมื่อ a = 4 , b = 7 , c = 8 , d จะมีค่าเท่าไร 2. เมื่อ a = 20 , b = 30 , d = 6 , c จะมีค่าเท่าไร 3. เมื่อ a = 13 , c = 39 , d = 45 , b จะมีค่าเท่าไร 4. เมื่อ b = 130 , c = 13 , d = 10 , a จะมีค่าเท่าไร วิธีทา 1. เนื่องจาก a  b = c  d เป็นสัดส่วนตรง จะได้ a  b = c  d ad = bc 4  7 = 8  d 4(d) = 8(7) d = 4 8(7) = 14 ดังนั้น d = 14
  • 15. 15 2. เนื่องจาก a  b = c  d เป็นสัดส่วนตรง จะได้ a  b = c  d ad = bc 20  30 = c  6 (30)c = 20(6) = 30 20(6) c = 4 ดังนั้น c = 4 3. เนื่องจาก a  b = c  d เป็นสัดส่วนตรง จะได้ a  b = c  d ad = bc 13  b = 39  45 39(b) = 13(45) b = 39 13(45) b = 15 ดังนั้น b = 15 4. เนื่องจาก a  b = c  d เป็นสัดส่วนตรง จะได้ a  b = c  d ad = bc a  130 = 13  10 (10)a = 13(130) a = 10 13(130) = 169 ดังนั้น a = 169
  • 16. 16 แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ที่ 7.2 วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 7 สัดส่วน ********************************************************************************* คาชี้แจง แสดงวิธีหาจานวนที่แทนตัวแปรในสัดส่วนที่กาหนดให้ โดยใช้หลักการคูณไขว้ 1) 5 42 15 m  2) 3.1 1.2 a 14.4  …………………………………………..…… ………………………..……………………… ……………………………………………….. …………………………..…………………… ……………………………………………….. ……….………………..……………………… ……………………………………………….. ……………………..………………………… ……………………………………………….. ……………………..………………………… ……………………………………………….. ……………………..………………………… ……………………………………………….. ……………………..………………………… ……………………………………………….. ……………………..………………………… ……………………………………………….. ……………………..………………………… 3) : 6 y : 12 2 1 1  4) 16 : 28 12 : x …………………………………………..…… ………………………..……………………… ……………………………………………….. …………………………..…………………… ……………………………………………….. ……….………………..……………………… ……………………………………………….. ……………………..………………………… ……………………………………………….. ……………………..………………………… ……………………………………………….. ……………………..………………………… ……………………………………………….. ……………………..………………………… ……………………………………………….. ……………………..………………………… ……………………………………………….. ……………………..…………………………
  • 17. 17 ใบความรู้ที่ 7.3 วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 7 สัดส่วน ********************************************************************************* สัดส่วนผกผัน สัดส่วนผกผัน หมายถึง สัดส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบอัตราส่วนสองอัตราส่วน ที่มี ความสัมพันธ์ไปในทางตรงกันข้าม โดยที่อัตราส่วนหนึ่งเพิ่มขึ้น อีกอัตราส่วนหนึ่งจะลดลง หรือ อัตราส่วนหนึ่งลดลง อีกอัตราส่วนหนึ่งจะเพิ่มขึ้น เช่น ช่างก่อสร้าง 10 คน เทพื้นปูนเสร็จภายในเวลา 4 วัน ช่างก่อสร้าง 20 คน เทพื้นปูนแบบเดียวกันเสร็จภายในเวลา 2 วัน ช่างก่อสร้าง 5 คน เทพื้นปูนแบบเดียวกันเสร็จภายในเวลา 8 วัน ความสัมพันธ์ของจา นวนคนกับเวลาที่ใช้ทา งานไปในทางตรงกันข้าม กล่าวคือ เมื่อจา นวน คนเพิ่มขึ้นจา นวนวันทา งานลดลง ถ้าจา นวนคนลดลงจา นวนวันทา งานเพิ่มขึ้น ความสัมพันธ์ดังกล่าว เขียนเป็นสัดส่วนผกผันได้ดังนี้ 4 20 2 10 = 1 5 1 5 = จา นวนคน จา นวนวัน
  • 18. 18 สมบัติของสัดส่วนผกผัน สมบัติของสัดส่วนผกผัน a  b และ c  d เป็นสัดส่วนผกผันก็ต่อเมื่อ a  c = d  b หรือ b d c a  หรือ ab = cd โดยที่ a , b , c และ d ต้องไม่เท่ากับศูนย์ ตัวอย่างที่ 8 กา หนดให้ a  b เป็นสัดส่วนผกผันกับ c  d 1. เมื่อ a = 4 , b = 27 , c = 9 , d จะมีค่าเท่าไร 2. เมื่อ a = 25 , b = 6 , d = 5 , c จะมีค่าเท่าไร 3. เมื่อ a = 121 , c = 99 , d = 11 , b จะมีค่าเท่าไร วิธีทา 1. เนื่องจาก a  b และ c  d เป็นสัดส่วนผกผัน จะได้ a  c = d  b ab = cd a  c = d  b 4  9 = d  27 4(27) = d(9) 9 4(27) = d 12 = d ดังนั้น d = 12
  • 19. 19 2. เนื่องจาก a  b และ c  d เป็นสัดส่วนผกผัน จะได้ a  c = d  b 25  c = 5  6 25(6) = 5(c) 5 25(6) = c 30 = c ดังนั้น c = 30 3. เนื่องจาก a  b และ c  d เป็นสัดส่วนผกผัน จะได้ a  c = d  b 121  99 = 11  b 121(b) = 11(99) b = 121 11(99) ดังนั้น b = 9
  • 20. 20 แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ที่ 7.3 วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 7 สัดส่วน ********************************************************************************* คาชี้แจง กา หนดให้ a, b, c และ d เป็นสัดส่วนผกผัน และ b a = c d จงหา 1. ค่าของ a เมื่อ b = 7, c = 49, d = 21 ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 2. ค่าของ c เมื่อ a = 3, b = 4, d = 10 ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 3. ค่าของ d เมื่อ a = 0.5, b = 0.8, c = 5.6 ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………
  • 21. 21 4. ค่าของ b เมื่อ a = 5.2, c = 1.6, d = 1.3 ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 5. ค่าของ d เมื่อ a = 0.5 , b = 2 , c = 8 ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………
  • 22. 22 แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชุดที่ 7 สัดส่วน ********************************************************************************* คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านคาถามต่อไปนี้ทีละข้อ แล้วกาเครื่องหมาย  ลงในช่องใต้ตัวอักษร ก, ข, ค และ ง ที่นักเรียนเห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ในกระดาษคาตอบ ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 20 นาที 1. ถ้า 30 : 38 = 27 : X แล้ว X มีค่าเท่าไร ก. 16.5 ข. 20.8 ค. 34.2 ง. 42.7 2. ถ้า 0.003 : 0.04 = M : 0.005 แล้ว M มีค่าเท่าไร ก. 375 ข. 37.5 ค. 0.0375 ง. 0.00375 3. ถ้า x = และ y = 20 ข้อใดถูกต้อง ก. x : y = 100 : 3 ข. x : y = 3 : 100 ค. x : y = 60 : 5 ง. x : y = 5 : 60 4. ถ้า a : 6 = 15 : 45 แล้ว a เท่ากับข้อใด ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5
  • 23. 23 5. ถ้า แล้ว 2 x + 3 เท่ากับข้อใด ก. 27 ข. 29 ค. 28 ง. 39 6. ถ้า แล้ว + 2 เท่ากับข้อใด ก. 9 ข. 10 ค. 11 ง. 12 7. ถ้า แล้ว a เท่ากับข้อใด ก. 72 ข. 84 ค. 96 ง. 108 8. ถ้า แล้ว x เท่ากับข้อใด ก. ข. ค. ง.
  • 24. 24 9. ถ้า แล้ว 4z + 8 เท่ากับข้อใด ก. 44 ข. 48 ค. 52 ง. 56 10. ถ้า (2X - 1) : (X + 9) = 5 : 4 แล้ว X มีค่าเท่าไร ก. 16.33 ข. 18.25 ค. 20.03 ง. 26.34 ไชโย ! ทาได้ทุกข้อเลย
  • 25. 25 บรรณานุกรม กนกวลี อุษณกรกุล และคณะ หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์, 2547. ฉวีวรรณ เศวตมาลย์ และคณะ. กิจกรรมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ประสานมิตร, 2546. นพพร แหยมแสง และ มาลินทร์ อิทธิรส. หนังสือสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.), 2547 พนิดา พิสิฐอมรชัย และคณะ. แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสานักพิมพ์แม็ค จากัด, 2554. วาสนา ทองการุณ. คณิตสาสตร์ ม.2 เล่ม 1 รายวิชาพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสานักพิมพ์เดอะ บุคส์ จากัด, 2554. สุพล สุวรรณนพ และ คณะ. สื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างทักษะตามมาตรฐานการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ 3. กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา, 2547. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. . คู่มือครูวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโยลี, สถาบัน. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
  • 27. 27 กระดาษคาตอบ แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 7 สัดส่วน โรงเรียนรัตนบุรี อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ****************************************************************************** ชื่อ .............................................................. เลขที่ .............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/ ..... แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10
  • 28. 28 แบบบันทึกผลการสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 7 สัดส่วน ********************************************************************* ชื่อ ...................................................... เลขที่ ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/ .......... โรงเรียนรัตนบุรี อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ 1) แบบทดสอบ แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนที่ทาได้ หมายเหตุ ก่อนเรียน 10 หลังเรียน 10 ผลการพัฒนา 2) แบบฝึกเสริมทักษะ ชุดที่ คะแนนเต็ม คะแนนที่ทาได้ หมายเหตุ 7.1 4 7.2 4 7.3 5 รวม 13 เฉลี่ย ร้อยละ (ลงชื่อ) ..............................................ผู้บันทึก ( นายพิทักษ์ ทวีแสง ) หมายเหตุ ผลการพัฒนา หมายถึง คะแนนทดสอบหลังเรียนมากกว่าก่อนเรียน
  • 29. 29 ตอบให้ถูกทุกข้อนะ เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ที่ 7.1 วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 7 สัดส่วน คาชี้แจง หาจา นวนที่แทนตัวแปรในสัดส่วนที่กา หนดให้ต่อไปนี้ 1) 40 a 5 3   ………………………………………………...............................….. 2) b 35 9 5   ………………………………………………………………………. 3) 45 36 15 c   ……………………………………………………………………… 4) 12 33 m 11   …………………………………………………………………...….. 3×40  5×a  a  24 5  b  9  35  b  63 c  45  36  15  c  12 m×33  11×12  m  4
  • 30. 30 เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ที่ 7.2 วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 7 สัดส่วน ********************************************************************************* คาชี้แจง แสดงวิธีหาจา นวนที่แทนตัวแปรในสัดส่วนที่กา หนดให้ โดยใช้หลักการคูณไขว้ 1) 5 42 15 m  2) 3.1 1.2 a 14.4  3) : 6 y : 12 2 1 1  4) 16 : 28 12 : x จะได้ m×5  15 42 จะได้ a×1.2  14.43.1 m×5  630 a×1.2  44.64 m  630  5 a  44.64  1.2 m  126 a  37.2 จะได้ 6 1.5  12 y จะได้ 28 16  x 12 1.5×12  6× y 16 × x  1228 18  6× y 16 × x  336 y  6 18 x  336  16  3  21
  • 31. 31 เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ที่ 7.3 วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 7 สัดส่วน ********************************************************************************* คาชี้แจง กา หนดให้ a, b, c และ d เป็นสัดส่วนผกผัน และ b a = c d จงหา 1. ค่าของ a เมื่อ b = 7, c = 49, d = 21 วิธีทา จาก b a = c d จะได้ 7 a = 49 21 a = 49 21 7  ดังนั้น a = 3 2. ค่าของ c เมื่อ a = 3, b = 4, d = 10 วิธีทา จาก b a = c d จะได้ 4 3 = c 10 c = 3 4 10  ดังนั้น c = 13.33 3. ค่าของ d เมื่อ a = 0.5, b = 0.8, c = 5.6 วิธีทา จาก b a = c d จะได้ 0.8 0.5 = 5.6 d d = 0.8 0.5 5.6 ดังนั้น d = 3.5
  • 32. 32 4. ค่าของ b เมื่อ a = 5.2, c = 1.6, d = 1.3 วิธีทา จาก b a = c d จะได้ b 5.2 = 1.6 1.3 b = 1.3 1.6 5.2 ดังนั้น b = 6.4 5. ค่าของ d เมื่อ a = 0.5 , b = 2 , c = 8 วิธีทา จาก b a = c d จะได้ 2 0.5 = 8 d d = 2 0.5 8 ดังนั้น d = 2
  • 33. 33 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชุดที่ 7 สัดส่วน 1) ค 2) ง 3) ง 4) ก 5) ก 6) ข 7) ค 8) ค 9) ง 10) ก เด็กดีต้องไม่โกงข้อสอบนะครับ
  • 34. 34 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค 22101) ชุดที่ 7 สัดส่วน 1) ค 2) ง 3) ง 4) ก 5) ก 6) ข 7) ค 8) ค 9) ง 10) ก เก่งทุกคนเลยครับ
  • 35. 35 ประวัติผู้จัดทา ชื่อ-สกุล นายพิทักษ์ ทวีแสง วันเดือนปีเกิด วันที่ 17 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2519 ที่อยู่ปัจจุบัน 67 หมู่ที่ 9 ตาบลหนองบัวทอง อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ สถานที่ทางานปัจจุบัน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนรัตนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2532 ประถมศึกษา โรงเรียนบ้านโนนโพธิ์ อาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2538 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนหนองพอกวิทยา อาเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2542 ปริญญาตรี ครุศาสตร์บันฑิต(คบ.) วิชาเอกคณิตศาสตร์ สถาบันราชภัฏนครราชสีมา พ.ศ. 2553 ประกาศนียบัตรวิชาชีพการบริหารการศึกษา (ป.บัณฑิต) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2554 ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี