SlideShare a Scribd company logo
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล(1)
แบบทดสอบอิงมาตรฐาน
เนนการคิด
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนอานออก เขียนได คิดคํานวณเปน มุงใหเกิดทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต
เตรียมตัวเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ และมีความสามารถในการแขงขันไดในอนาคต การจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับจุดมุงหมายดังกลาว
จึงควรใหผูเรียนฝกฝนการนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริง สามารถคิดวิเคราะหและแกปญหาได ดังนั้นเพื่อเปนการเตรียมความพรอม
ของผูเรียน ทางโครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด จึงไดจัดทําแบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด
โดยดําเนินการวิเคราะหสาระการเรียนรูที่สําคัญตามที่ระบุไวในมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นป แลวนํามากําหนดเปนระดับพฤติกรรมการคิด
เพื่อสรางแบบทดสอบที่มีคุณสมบัติ ดังน�้
ที่สอดคลองกับมาตรฐาน
ตัวชี้วัดชั้นปทุกขอ
ตามระดับพฤติกรรมการคิด
ที่ระบุไวในตัวชี้วัด
วัดผลการเรียนรู เนนใหผูเรียนเกิดการคิด1 2 ผูสอนสามารถนําแบบทดสอบน�้ไปใชเปนเครื่องมือวัด
และประเมินผล รวมทั้งเปนเครื่องบงชี้ความสําเร็จและรายงาน
คุณภาพของผูเรียนแตละคน เพื่อเปนการเตรียมความพรอม
ของนักเรียนใหมีความสามารถในดานการใชภาษา ดานการ
คิดคํานวณ และดานเหตุผล สําหรับรองรับการประเมินผลผูเรียน
ในระดับประเทศ (O-NET) และระดับนานาชาติ (PISA) ตอไป
ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ ภาคเรียนที่ 1
ชุดที่
ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด
มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด
ระดับ
พฤติกรรม
การคิด
ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ
ระดับพฤติกรรมการคิด รวม
1 ท 5.1
1 1-4, 13-15, 27-30 A ความรูความจํา - -
2 5-7, 16-18, 31-34 B ความเขาใจ 1-2, 5, 23, 27-28 6
3 8-10, 19-20, 35-38 C การนําไปใช 3, 6, 8, 13-14, 19, 31-33 9
4 11-12, 21-22, 39-40 D การวิเคราะห 7, 9-10, 15-16, 20, 25, 29-30, 35-36, 39 12
5 23-24 E การสังเคราะห 11-12, 21, 24, 26, 34, 37 7
6 25-26 F การประเมินคา 4, 17-18, 22, 38, 40 6
2 ท 5.1
1 1-4, 13-15, 27-30 A ความรูความจํา - -
2 5-8, 16-18, 31-34 B ความเขาใจ 1-2, 11, 13, 27-28, 31, 35 8
3 9-10, 19-21, 35-37 C การนําไปใช 5-6, 14, 16, 19, 29, 32, 36 8
4 11-12, 22, 38-40 D การวิเคราะห 7-8, 9-10, 15, 17, 20-21, 23-24, 33, 37-38 13
5 23-24 E การสังเคราะห 3-4, 25-26, 34, 39-40 7
6 25-26 F การประเมินคา 12, 18, 22, 30 4
แบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด ที่จัดทําโดยโครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ประกอบดวย
แบบทดสอบประจําภาคเรียนที่ 1 และแบบทดสอบประจําภาคเรียนที่ 2 ซึ�งแตละภาคเรียนจะมีแบบทดสอบ 2 ชุด แตละชุดมีทั้ง
แบบทดสอบปรนัย และแบบทดสอบอัตนัย โดยวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด และระดับพฤติกรรมการคิดที่สัมพันธกับแบบทดสอบไวอยาง
ชัดเจน เพื่อใหผูสอนนําไปใชเปนเครื่องมือวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ
หมายเหตุ : มีเฉลยและคําอธิบายเชิงวิเคราะห อยูทายแบบทดสอบภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล (2)
4. ขอใดกลาวถูกตองที่สุดเกี่ยวกับการอานวรรณคดี
1. การอานวรรณคดีคือการอานเพื่อใหเห็นคุณคาของ
วรรณคดี
2. การอานวรรณคดีคือการอานเพื่อใหเกิดความซาบซึ้ง
ในรสวรรณคดี
3. การอานวรรณคดีคือการอานที่ตองใชกระบวนการคิด
วิเคราะหอยางมีเหตุผล
4. การอานวรรณคดีคือการอานที่ตองใชสติปญญา
กลั่นกรองคุณคาทางอารมณและคุณคาทางความคิด
5. วันนี้เพื่อนเรา เพื่อนเกาเพื่อนใหม
ที่หางกันไกล มาพรอมหนากัน
บทประพันธขางตนมีลักษณะคําประพันธประเภทใด
1. กลอนสี่สุภาพ
2. มาณวกฉันท 8
3. วิชชุมมาลาฉันท 8
4. กาพยสุรางคนางค 28
6. ขอใดใชลักษณะคําประพันธแตกตางจากขออื่น
1. ขาวสุดพุดจีบจีน เจามีสินพี่มีศักดิ์
2. นวลจันทรเปนนวลจริง เจางามพริ้งยิ่งนวลปลา
3. ชะโดดุกกระดี่โดด สลาดโลดยะหยอยหยอย
4. สุวรรณหงสทรงพูหอย งามชดชอยลอยหลังสินธุ
1. การอานวรรณคดีคือการอานเพื่อใหเห็นคุณคาของ
4. ขอใดกลาวถูกตองที่สุดเกี่ยวกับการอานวรรณคดี
1. การอานวรรณคดีคือการอานเพื่อใหเห็นคุณคาของ1. การอานวรรณคดีคือการอานเพื่อใหเห็นคุณคาของF 1. การอานวรรณคดีคือการอานเพื่อใหเห็นคุณคาของ
ที่หางกันไกล มาพรอมหนากัน
5.
ที่หางกันไกล มาพรอมหนากันที่หางกันไกล มาพรอมหนากันD ที่หางกันไกล มาพรอมหนากัน
1. ขาวสุดพุดจีบจีน เจามีสินพี่มีศักดิ์
6. ขอใดใชลักษณะคําประพันธแตกตางจากขออื่น
1. ขาวสุดพุดจีบจีน เจามีสินพี่มีศักดิ์1. ขาวสุดพุดจีบจีน เจามีสินพี่มีศักดิ์C 1. ขาวสุดพุดจีบจีน เจามีสินพี่มีศักดิ์
1. มะลิวัลยพันจิกจวง ดอกเปนพวงรวงเรณู
หอมมานาเอ็นดู ชูชื่นจิตคิดวนิดา
บทประพันธขางตนปรากฏอยูในวรรณคดีเรื่องใด
และใครเปนผูประพันธ
1. กาพยพระไชยสุริยา สุนทรภู
2. กาพยเหเรือ เจาฟาธรรมธิเบศร
3. กาพยหอโคลง เจาฟาธรรมธิเบศร
4. กาพยขับไม เจาพระยาพระคลัง(หน)
2. วรรณคดีในขอใดใชคําประพันธทั้งประเภทโคลงและราย
ทั้ง 2 เรื่อง
1. กากี พระอภัยมณี
2. ลิลิตพระลอ ลิลิตยวนพาย
3. นิราศนรินทร ขุนชางขุนแผน
4. โคลงโลกนิติ โคลงราชสวัสดิ์
3. บาวเศิกเอิกอึง ทราบถึงบัดดล
ในหมูผูคน ชาวเวสาลี
บทประพันธที่ยกมานี้อยูในวรรณคดีเรื่องใด และมีลักษณะ
คําประพันธประเภทใด
1. อิลราชคําฉันท มาณวกฉันท
2. สามัคคีเภทคําฉันท วิชชุมมาลาฉันท
3. สมุทรโฆษคําฉันท วิชชุมมาลาฉันท
4. สามัคคีเภทคําฉันท อินทรวิเชียรฉันท
หอมมานาเอ็นดู ชูชื่นจิตคิดวนิดา
1.
หอมมานาเอ็นดู ชูชื่นจิตคิดวนิดาหอมมานาเอ็นดู ชูชื่นจิตคิดวนิดาB หอมมานาเอ็นดู ชูชื่นจิตคิดวนิดา
ทั้ง 2 เรื่อง
2. วรรณคดีในขอใดใชคําประพันธทั้งประเภทโคลงและราย
ทั้ง 2 เรื่องทั้ง 2 เรื่องB ทั้ง 2 เรื่อง
ในหมูผูคน ชาวเวสาลี
3.
ในหมูผูคน ชาวเวสาลีC ในหมูผูคน ชาวเวสาลีC ในหมูผูคน ชาวเวสาลี
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
40
ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา
A B C D E F
ชุดที่ 1
แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ภาคเร�ยนที่ 1
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
50
ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..
เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล(3)
7. บทประพันธในขอใดไมมีคําที่กอใหเกิดจินตภาพทางการ
เคลื่อนไหว
1. มีหมีที่ดําขลับ ขึ้นไมผับฉับไวถึง
2. กระจงกระจิดเตี้ย วิ่งเรี่ยเรี่ยนาเอ็นดู
3. กระรอกหางพัวพู โพรงไมอยูคูไลตาม
4. เลียงผาอยูภูเขา หนวดพรายเพราเขาแปลปลาย
8. คําศัพทในขอใดมีความหมายแตกตางจากขออื่น
1. โพยม นภา
2. พสุธา ธาตรี
3. คัคนานต อัมพร
4. ทิฆัมพร นภาพร
9. การอานบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ควรใชหลักการ
วิจักษวรรณคดีตามขอใด
1. อานอยางพินิจพิจารณา
2. รับรูอารมณของบทประพันธ
3. พิจารณากลวิธีในการแตงคําประพันธ
4. คนหาความหมายพื้นฐานของบทประพันธ
10. องคประกอบใดถือเปนธรรมเนียมในการแตงคําประพันธ
ประเภทนิราศ
1. บทสดุดี 2. บทไหวครู
3. บทชมโฉม 4. บทครํ่าครวญ
11. ขอใดกลาวไมถูกตอง
1. วรรณคดีเกิดจากจินตนาการของกวีเพียงประการเดียว
2. คติธรรมที่กวีถายทอดไวในวรรณคดีคือมุมมองที่กวี
ประสบพบเห็น
3. พฤติกรรมที่ตัวละครในวรรณคดีแสดงออก มีพฤติกรรม
เหมือนมนุษยทั่วไป
4. การอานวรรณคดีโดยวิเคราะหเนื้อหาและพิจารณา
คุณคาดานวรรณศิลปทําใหผูอานเขาใจวรรณคดี
มากขึ้น
12. ขาวสุดพุดจีบจีน เจามีสินพี่มีศักดิ์
ทั้งวังเขาชังนัก แตพี่รักเจาคนเดียว
จากบทประพันธขางตนไมไดกลาวถึงเรื่องใด
1. คานิยมในสังคม
2. ความรักที่ยิ่งใหญ
3. สถานภาพของสตรี
4. ศักดิ์ศรีและชาติตระกูล
เคลื่อนไหว
7. บทประพันธในขอใด
เคลื่อนไหวเคลื่อนไหวD เคลื่อนไหว
1. โพยม นภา
8. คําศัพทในขอใดมีความหมายแตกตางจากขออื่น
1. โพยม นภาC 1. โพยม นภาC 1. โพยม นภา
วิจักษวรรณคดีตามขอใด
9. การอานบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ควรใชหลักการ
วิจักษวรรณคดีตามขอใดวิจักษวรรณคดีตามขอใดD วิจักษวรรณคดีตามขอใด
10. องคประกอบใดถือเปนธรรมเนียมในการแตงคําประพันธ
D
1. วรรณคดีเกิดจากจินตนาการของกวีเพียงประการเดียว
11. ขอใดกลาว
1. วรรณคดีเกิดจากจินตนาการของกวีเพียงประการเดียวE 1. วรรณคดีเกิดจากจินตนาการของกวีเพียงประการเดียวE 1. วรรณคดีเกิดจากจินตนาการของกวีเพียงประการเดียว
ทั้งวังเขาชังนัก แตพี่รักเจาคนเดียว
12.
ทั้งวังเขาชังนัก แตพี่รักเจาคนเดียวทั้งวังเขาชังนัก แตพี่รักเจาคนเดียวF ทั้งวังเขาชังนัก แตพี่รักเจาคนเดียว
13. วรรณคดีในขอใดที่ไดรับการยกยองวามีสํานวนดีเยี่ยมที่สุด
1. รามเกียรติ์ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี
2. โคลงราชสวัสดิ์ ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช
3. มัทนะพาธา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา-
เจาอยูหัว
4. ขุนชางขุนแผน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ-
เลิศหลานภาลัย
14. เออนี่เนื้อเคราะหกรรมมานําผิด
นาอายมิตรหมองใจไมหายหมาง
ฝายพอมีบุญเปนขุนนาง
แตแมไปแนบขางคนจัญไร
บทประพันธขางตนเปนคําพูดของใคร และคําที่ขีดเสนใต
หมายถึงใคร
1. ขุนแผน ขุนชาง
2. พลายงาม ขุนชาง
3. นางวันทอง ขุนชาง
4. ขุนชาง ขุนแผน
15. ขอความในขอใดไมปรากฏในเรื่องขุนชางขุนแผน
ตอนขุนชางถวายฎีกา
1. ขุนชางเปนชายผูมีความรักที่มั่นคง
2. พระหมื่นไวยเปนที่ยําเกรงของขาศึก
3. สมเด็จพระพันวษาทรงฝกใฝในทางธรรม
4. พลายงามเปนผูมีความเชื่อดานไสยศาสตร
16. บทประพันธในขอใดที่แสดงถึงลักษณะนิสัยที่มุทะลุดุดัน
ของพลายงามไดชัดเจนที่สุด
1. แมอยาเจรจาชาที จวนแจงแสงศรีจะรีบไป
2. จะตัดเอาศีรษะของแมไป ทิ้งแตตัวไวใหอยูนี่
3. แมนมิไปใหงามก็ตามใจ จะบาปกรรมอยางไรก็ตามที
4. เสียแรงเปนลูกผูชายไมอายเพื่อน
จะพาแมไปเรือนใหจงได
17. ขอใดมีคําศัพทแสดงถึงวัฒนธรรมการแตงกายในสมัยกอน
1. ผาผอนลอนแกนไมติดกาย
เห็นมานขาดเรี่ยรายประหลาดใจ
2. พระสูตรรูดกรางกระจางองค
ขุนนางกราบลงเปนขนัด
3. ลุกขึ้นถกเขมรรองเกนไป
ทุดอายไพรขี้ครอกหลอกผูดี
4. เสกกระแจะจวงจันทนนํ้ามันทา
เสร็จแลวก็พาวันทองไป
1. รามเกียรติ์ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี
13. วรรณคดีในขอใดที่ไดรับการยกยองวามีสํานวนดีเยี่ยมที่สุด
1. รามเกียรติ์ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี1. รามเกียรติ์ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีC 1. รามเกียรติ์ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี
นาอายมิตรหมองใจไมหายหมาง
14.
นาอายมิตรหมองใจไมหายหมางC นาอายมิตรหมองใจไมหายหมางC นาอายมิตรหมองใจไมหายหมาง
ตอนขุนชางถวายฎีกา
15. ขอความในขอใด
ตอนขุนชางถวายฎีกาD ตอนขุนชางถวายฎีกาD ตอนขุนชางถวายฎีกา
16. บทประพันธในขอใดที่แสดงถึงลักษณะนิสัยที่มุทะลุดุดัน
D
1. ผาผอนลอนแกนไมติดกาย
17. ขอใดมีคําศัพทแสดงถึงวัฒนธรรมการแตงกายในสมัยกอน
1. ผาผอนลอนแกนไมติดกายF 1. ผาผอนลอนแกนไมติดกายF 1. ผาผอนลอนแกนไมติดกาย
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล (4)
18. อัยการศาลโรงก็มีอยู ฤๅวากูตัดสินใหไมได
ชอบทวนดวยลวดใหปวดไป ปรับไหมใหเทากับชายชู
จากบทประพันธนี้เปนคํากลาวของสมเด็จพระพันวษา
ที่แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของสิ่งใด
1. ขนบประเพณี 2. จารีตประเพณี
3. กฎมณเฑียรบาล 4. กฎหมายบานเมือง
19. บทประพันธในขอใดไมเกี่ยวของกับความเชื่อของคนไทย
1. ใตเตียงเสียงหนูก็กุกกก
2. พรุงนี้พี่จะแกเสนียดฝน
3. ยื้อยุดฉุดคราทําสามานย
4. พิเคราะหดูทั้งยามอัฐกาล
20. ขอใดไมไดกลาวถึงความเชื่อในเรื่องไสยศาสตร
1. ลงยันตราชะเอาปะตัว
หยิบยกมงคลขึ้นใสหัว
2. เปามนตเบื้องบนชอุมมัว
พรายยั่วยวนใจใหไคลคลา
3. นํ้าคางตกกระเซ็นเย็นเยือกใจ
สงัดคนเสียงใครไมพูดจา
4. จึงเซนเหลาขาวปลาใหพรายกิน
เสกขมิ้นวานยาเขาทาตัว
21. นางวันทองมีความรูสึกชื่นชมยกยองความดีของขุนชาง
ในเรื่องใดมากที่สุด
1. ไมเคยขัดใจนางวันทอง
2. รักนางวันทองเพียงคนเดียว
3. ยกยองใหเกียรตินางวันทอง
4. เปนคูทุกขคูยากของนางวันทอง
22. จากสาระสําคัญในเรื่องขุนชางขุนแผนตอนขุนชาง
ถวายฎีกา แสดงแนวคิดที่สําคัญในขอใด
1. ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข
2. การใชสติพิจารณากอนตัดสินใจ
3. ความแนนอนคือความไมแนนอน
4. ความรักสามารถเอาชนะทุกสิ่งได
23. คะเนนับยํ่ายามไดสามครา ดูเวลาปลอดหวงทักทิน
จากบทประพันธขางตนคําวา “ทักทิน” มีความหมายวา
อยางไร
1. วันดี 2. วันอันชั่วราย
3. วันแรม ๑ คํ่า 4. วันอันเปนฤกษดี
ชอบทวนดวยลวดใหปวดไป ปรับไหมใหเทากับชายชู
18.
ชอบทวนดวยลวดใหปวดไป ปรับไหมใหเทากับชายชูB ชอบทวนดวยลวดใหปวดไป ปรับไหมใหเทากับชายชูB ชอบทวนดวยลวดใหปวดไป ปรับไหมใหเทากับชายชู
1. ใตเตียงเสียงหนูก็กุกกก
19. บทประพันธในขอใด
1. ใตเตียงเสียงหนูก็กุกกกC 1. ใตเตียงเสียงหนูก็กุกกกC 1. ใตเตียงเสียงหนูก็กุกกก
1. ลงยันตราชะเอาปะตัว
20. ขอใด
1. ลงยันตราชะเอาปะตัวD 1. ลงยันตราชะเอาปะตัวD 1. ลงยันตราชะเอาปะตัว
21. นางวันทองมีความรูสึกชื่นชมยกยองความดีของขุนชาง
E
ถวายฎีกา แสดงแนวคิดที่สําคัญในขอใด
22. จากสาระสําคัญในเรื่องขุนชางขุนแผนตอนขุนชาง
ถวายฎีกา แสดงแนวคิดที่สําคัญในขอใดถวายฎีกา แสดงแนวคิดที่สําคัญในขอใดF ถวายฎีกา แสดงแนวคิดที่สําคัญในขอใด
จากบทประพันธขางตนคําวา
23.
จากบทประพันธขางตนคําวา
B
24. บทประพันธในขอใดตอไปนี้สะทอนสภาพสังคมไทยที่
แตกตางจากปจจุบัน
1. พลางเรียกหาขาไทยอยูวาวุน อีอุนอีอิ่มอีฉิมอีสอน
2. ไดยินเสียงฆองยํ่าประจําวัง ลอยลมลองดังถึงเคหา
3. พรุงนี้พี่จะแกเสนียดฝน แลวทํามิ่งสิ่งขวัญใหเปนสุข
4. หอมหวนอวลอบบุปผชาติ เบิกบานกานกลาดกิ่งไสว
25. ยี่สุนกุหลาบมะลิซอน ซอนชูชูกลิ่นถวิลหา
ลําดวนกวนใจใหไคลคลา สาวหยุดหยุดชาแลวยืนชม
บทประพันธขางตนมีความดีเดนดานวรรณศิลปคือมีการใช
ภาพพจนตรงกับขอใด
1. อุปมา
2. บุคคลวัต
3. อติพจน
4. อุปลักษณ
26. โจนลงกลางชานรานดอกไม
ของขุนชางปลูกไวอยูดาษดื่น
รวยรสเกสรเมื่อคอนคืน
ชื่นชื่นลมชายสบายใจ
บทประพันธนี้มีคําประสมกี่คํา
1. 1 คํา 2. 2 คํา
3. 3 คํา 4. 4 คํา
27. “ยิ่งไดอานสามกกมากครั้งเขาก็ยิ่งมีใจฝกใฝ
เปนขางโจโฉมากขึ้น…จึงลองนึกวาลองเขียนสามกก
แบบเลานิทานแตจะทําใจเปนฝายโจโฉตลอดเรื่อง”
ผูกลาวขอความนี้คือกวีทานใด
1. ยาขอบ
2. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
3. เจาพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
4. สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ
28. ขอใดไมใชเงื่อนไขที่กวนอูใชเปนขอแลกเปลี่ยนในการ
ยอมไปรับราชการกับโจโฉ
1. ขอใหไดตําแหนงเสนาบดี
2. ขอใหไดเปนขาพระเจาเหี้ยนเต
3. ขอไปหาเลาปทันทีเมื่อรูวาอยูที่ใด
4. ขอใหไดดูแลและคุมครองภรรยาของเลาป
24. บทประพันธในขอใดตอไปนี้สะทอนสภาพสังคมไทยที่24. บทประพันธในขอใดตอไปนี้สะทอนสภาพสังคมไทยที่
D
ลําดวนกวนใจใหไคลคลา สาวหยุดหยุดชาแลวยืนชม
25.
ลําดวนกวนใจใหไคลคลา สาวหยุดหยุดชาแลวยืนชมD ลําดวนกวนใจใหไคลคลา สาวหยุดหยุดชาแลวยืนชมD ลําดวนกวนใจใหไคลคลา สาวหยุดหยุดชาแลวยืนชม
ของขุนชางปลูกไวอยูดาษดื่น
26.
ของขุนชางปลูกไวอยูดาษดื่นของขุนชางปลูกไวอยูดาษดื่นB ของขุนชางปลูกไวอยูดาษดื่น
เปนขางโจโฉมากขึ้น…จึงลองนึกวาลองเขียนสามกก
27.
เปนขางโจโฉมากขึ้น…จึงลองนึกวาลองเขียนสามกกเปนขางโจโฉมากขึ้น…จึงลองนึกวาลองเขียนสามกกB เปนขางโจโฉมากขึ้น…จึงลองนึกวาลองเขียนสามกก
28. ขอใด
B
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล(5)
29. ฝายโจโฉยกทัพมาใกลถึงเมืองเสียวพาย พอเกิด
ลมพายุใหญพัดหนัก ธงชัยซึ่งปกมาบนเกรียนนั้น
หักทับลง โจโฉเห็นวิปริตดังนั้นก็สั่งใหหยุดทหารตั้ง
คายมั่นไว
ขอความขางตนแสดงคานิยมความเชื่อในดานใด
1. ดานพิธีกรรม
2. ดานไสยศาสตร
3. ดานลางบอกเหตุ
4. ดานปรากฏการณทางธรรมชาติ
30. โจโฉเห็นกวนอูมาก็มีความยินดีจึงออกไปรับกวนอู
เขามา กวนอูจึงคํานับโจโฉแลววา “ตัวขาพเจาเปน
เชลย ทานมิไดฆาเสีย แลวออกไปรับขาพเจาถึงนอก
คายนั้น คุณหาที่สุดมิได”
ขอความขางตน แสดงใหเห็นวากวนอูรูสึกอยางไรตอการ
กระทําของโจโฉ
1. สํานึกในบุญคุณ
2. ใหความเคารพอยางจริงใจ
3. ไมชอบใจแตไมกลาแสดงออก
4. นอยใจดวยคิดวาตนไมมีความสําคัญ
31. เจาพระยาพระคลัง(หน) ไดรับยกยองวาเปนกวีที่ยอดเยี่ยม
เหนือกวีทั้งปวงทานมีความสามารถในการแตงคําประพันธ
ทุกประเภท งานเขียนประเภทใดเปนผลงานสําคัญที่สุด
ของทาน
1. งานแปล
2. งานสารคดี
3. งานนวนิยาย
4. งานกวีนิพนธ
32. วรรณคดีเรื่องสามกกมีโวหารดีที่สุดในกระบวน
รอยแกว บทอุปมาอุปไมยลึกซึ้งคมคาย บทพรรณนา
แจมชัดทุกตอน
จากขอความขางตน กลาวถึงวรรณคดีเรื่องสามกกวามี
ความดีเดนในดานใด
1. ดานสังคม
2. ดานเนื้อหา
3. ดานวรรณศิลป
4. ดานประวัติศาสตร
29.
D
30.
D
31. เจาพระยาพระคลัง(หน) ไดรับยกยองวาเปนกวีที่ยอดเยี่ยม
C
รอยแกว บทอุปมาอุปไมยลึกซึ้งคมคาย บทพรรณนา
32.
รอยแกว บทอุปมาอุปไมยลึกซึ้งคมคาย บทพรรณนารอยแกว บทอุปมาอุปไมยลึกซึ้งคมคาย บทพรรณนาC รอยแกว บทอุปมาอุปไมยลึกซึ้งคมคาย บทพรรณนา
33. โจโฉใหเชิญกวนอูมากินโตะ เห็นกวนอูหมเสื้อขาด
โจโฉจึงเอาเสื้ออยางดีใหกวนอู กวนอูรับเอาเสื้อแลว
จึงเอาเสื้อใหมนั้นใสขางใน เอาเสื้อเกานั้นใสขางนอก
จากขอความขางตน กวนอูมีเหตุผลอยางไรจึงทําเชนนั้น
1. เสียดายเสื้อใหม
2. เกรงคนจะนินทา
3. เกรงวาจะลืมเลาป
4. ไมชอบเสื้อของโจโฉ
34. ครั้นอยูมาวันหนึ่งโจโฉจึงพากวนอูไปเฝาพระเจา
เหี้ยนเต แลวทูลวากวนอูคนนี้มีฝมือพอจะเปนทหารได
พระเจาเหี้ยนเตมีความยินดีจึงตั้งกวนอูเปนนายทหาร
โจโฉกับกวนอูก็ลากลับบาน
ลักษณะการใชประโยคขางตนนี้มีลักษณะเดนอยางไร
1. เปนขอความซับซอน เขาใจยาก
2. เปนขอความที่แฝงนัยตองอาศัยการตีความ
3. เปนขอความสั้นๆ แตมีตัวละครมากยากแกการจดจํา
4. เปนขอความสั้นๆ แตลําดับเหตุการณชัดเจน เขาใจงาย
35. “แมขาพเจาวาเลาปอยูที่ใดถึงมาตรวาเปนทางกันดาร
จะตองขามพระมหาสมุทรแลลุยเพลิงก็ดี”
ขอความขางตนปรากฏภาพพจนในขอใดเดนชัดที่สุด
1. อุปมา 2. อติพจน
3. อุปลักษณ 4. สัญลักษณ
36. ชื่อตัวละครในขอใดมีเสียงวรรณยุกตในพยางคแรกและ
พยางคที่สองตรงกันทุกคํา
1. วุยกก งอกก ลิ่วลอ
2. กวนอู โจโฉ ซุนกวน
3. เตียวหุย ซุนฮก เซียงจู
4. เตียวเลี้ยว ขงเบง แหฝอ
37. ธรรมดาเกิดเปนชายใหรูจักที่หนักที่เบา ถาผูใดเกิดมา
ไมรูจักที่หนักที่เบา คนทั้งปวงจะติเตียนไดวาผูนั้นหา
สติปญญาไม
ขอความนี้มีคํายืมภาษาบาลีสันสกฤตกี่คํา
1. 1 คํา 2. 2 คํา
3. 3 คํา 4. 4 คํา
33.
C
34.
B
35.
D
36. ชื่อตัวละครในขอใดมีเสียงวรรณยุกตในพยางคแรกและ
D
37.
B
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล (6)
38. สํานวนที่ปรากฏในวรรณคดีเรื่องสามกกขอใดที่ยังปรากฏ
ใชในปจจุบัน
1. กินโตะ
2. ชุบเลี้ยง
3. ทหารเลว
4. รองไหรักกัน
39. “ตัวเรามิไดรักชีวิตอันความตายเหมือนนอนหลับ…”
จากคํากลาวขางตน สรุปความไดตรงตามขอใด
1. ความตายก็เหมือนกับการนอนหลับ
2. ความตายเปนเรื่องปกติสําหรับทุกคน
3. คนนอนหลับกับคนตายมิไดมีความแตกตางกัน
4. ไมตองเสียใจกับคนตายเพราะเหมือนคนนอนหลับ
38. สํานวนที่ปรากฏในวรรณคดีเรื่องสามกกขอใดที่ยังปรากฏ
F
จากคํากลาวขางตน สรุปความไดตรงตามขอใด
39.
จากคํากลาวขางตน สรุปความไดตรงตามขอใด
D
40. สามกกไมไดแฝงอิทธิปาฏิหาริยเกินความสามารถ
ของสามัญชน จึงทําใหผูอานไดเห็นชีวิตของตัวละคร
ทั้งหมดในลักษณะของคนจริงๆ ความรู ความคิด และ
สติปญญาที่ไดจากการอานจึงเปนประโยชนตอการ
ดําเนินชีวิตของผูอาน
ขอความขางตนแสดงคุณคาของงานวรรณกรรมในดานใด
เดนชัดที่สุด
1. คุณคาดานสังคม
2. คุณคาดานเนื้อหา
3. คุณคาดานวรรณศิลป
4. คุณคาดานการนําไปประยุกตใช
40.
F
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล(7)
1. การศึกษาวรรณคดีมีแนวทางการศึกษาอยางไร (3 คะแนน)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. วรรณคดีเรื่องขุนชางขุนแผน ตอนขุนชางถวายฎีกา นักเรียนคิดวาตัวละครใดนาเห็นใจมากที่สุด เพราะเหตุใด (4 คะแนน)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. กวนอูไดรับฉายาวา เทพเจาผูซื่อสัตย นักเรียนเห็นดวยกับคํากลาวนี้หรือไม อธิบายใหชัดเจน (3 คะแนน)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10
ตอนที่ 2 ตอบคําถามใหถูกตอง จํานวน 3 ขอ 10 คะแนน
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล (8)
4. “วรรณคดีทั้งรอยแกวและรอยกรองลวนเกิดจาก
ประสบการณและจินตนาการของมนุษยที่แสดงออก
ทางภาษาในรูปแบบตางๆ และมีพัฒนาการมาโดย
ลําดับตามความเจริญของมนุษยชาติ การเรียน
วรรณคดีสงเสริมพัฒนาการทางความคิด อารมณ และ
คุณธรรมไดอยางดียิ่ง ชวยใหผูเรียนมีโลกทัศนกวางขึ้น
เขาใจตนเอง เพื่อนมนุษย และสังคมโดยสวนรวมดีขึ้น”
ขอความขางตนไมไดกลาวถึงคุณคาในดานใดของวรรณคดี
1. คุณคาดานสังคม 2. คุณคาดานจริยธรรม
3. คุณคาดานสติปญญา 4. คุณคาดานวรรณศิลป
5. เพียนทองงามดั่งทอง ไมเหมือนนองหมตาดพราย
ขอใดใชภาพพจนแตกตางจากบทประพันธขางตน
1. นาคาหนาดังเปน ดูเขมนเห็นขบขัน
2. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง
3. แกมชํ้าชํ้าใครตอง อันแกมนองชํ้าเพราะชม
4. งามทรงวงดั่งวาด งามมารยาทนาดกรกราย
6. ขอใดใชกลวิธีการประพันธตางจากขออื่น
1. ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบ
2. สนละเมียดเสียดยอดขึ้นกอดฟา
3. ดอกหญายิ้มหวานหวานกับลานหญา
4. แกวเอียงกลีบเคลียนํ้าคางอยางหงิมหงิม
4.
E
ขอใดใชภาพพจนแตกตางจากบทประพันธขางตน
5.
ขอใดใชภาพพจนแตกตางจากบทประพันธขางตน
C
1. ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบ
6.
1. ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบ1. ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบC 1. ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบ
1. ครองทิพยพิมาน บริวารอมรปวง
ปองธรรมะบลวง ลุอํานาจอกุศล
บทประพันธขางตน มีเนื้อหาสอดคลองกับบทประพันธ
ในขอใด
1. ธรรมะเทวบุตร ผูพิสุทธิโสภา
2. ปางนั้นอธรรมะ เทวบุตรผูใจพาล
3. แตงองคก็ทรงลวน พัสตระดําทุกสิ่งอัน
4. ครองพวกบริวาร ลวนแตพาลประดุจกัน
2. วรรณกรรมขอใดตอไปนี้ใชคําประพันธประเภทรอยกรอง
1. โคลนติดลอ
2. ไตรภูมิพระรวง
3. พระบรมราโชวาท
4. ตําราแพทยศาสตรสงเคราะห
3. “การเกิดความเขาใจแจมแจงจนตระหนักในคุณคา
ของวรรณคดีเรื่องหนึ่งวา เปนงานศิลปะพรอมเพียงใด
มีขอเดน ขอดอย อยางไร มีขอคิดที่สัมพันธกับ
ชีวิตจริงเพียงใด”
ขอความขางตนถือเปนนิยามที่ตรงกับขอใด
1. การวิจักษวรรณคดี
2. การวิจารณวรรณคดี
3. การวิพากษวรรณคดี
4. การพิจารณาวรรณคดี
ปองธรรมะบลวง ลุอํานาจอกุศล
1.
ปองธรรมะบลวง ลุอํานาจอกุศลB ปองธรรมะบลวง ลุอํานาจอกุศลB ปองธรรมะบลวง ลุอํานาจอกุศล
2. วรรณกรรมขอใดตอไปนี้ใชคําประพันธประเภทรอยกรอง
B
3.
D
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
40
ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา
A B C D E F
ชุดที่ 2
แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ภาคเร�ยนที่ 1
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
50
ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..
เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล(9)
7. บทประพันธในขอใดแสดงถึงวัฒนธรรมไทย
1. เรือมาหนามุงนํ้า
แลนเฉื่อยฉํ่าลําระหง
2. คิดอนงคองคเอวอร
ผมประบาอาเอี่ยมไร
3. เพราะลูกเตาเจากรรมทําแคนขัด
จนวิบัติบานเมืองไดเคืองเข็ญ
4. ในดนตรีมีรักอันลึกซึ้ง
รวมหัวใจเปนหนึ่งอยางแนนเหนียว
8. ขอใดสะทอนแนวคิดหลักของพระพุทธศาสนาชัดเจนที่สุด
1. นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย
2. อันวาความกรุณาปรานี จะมีใครบังคับก็หาไม
3. ยามบวชบมบุญไป นํ้าตาไหลเพราะอิ่มบุญ
4. ไมมีพรเทพพรมนุษย เปรียบประดุจความดีที่ทําเอง
9. นิจจาใจเจาจะใหพี่เจ็บจิต
ดังเอากริชแกะกรีดในอกผัว
เกรงผิดคิดบาปจึงหลาบกลัว
พี่นี้ชั่วเพราะหมิ่นประมาทความ
บทประพันธนี้มีคํายืมภาษาตางประเทศกี่คํา
1. 4 คํา 2. 5 คํา
3. 6 คํา 4. 7 คํา
10. ขอใดใชกลวิธีการประพันธโดยการเลนคํา
1. โอวาอนิจจาความรัก
พึ่งประจักษดั่งสายนํ้าไหล
2. ในลักษณนั้นวานาประหลาด
เปนเชื้อชาตินักรบกลั่นกลา
3. แลวสอนวาอยาไวใจมนุษย
มันแสนสุดลึกลํ้าเหลือกําหนด
4. ทั้งจากที่จากคลองเปนสองขอ
ยังจากกอนั้นก็ขึ้นในคลองขวาง
11. ขอใดกลาวถึงวรรณกรรมประเภทบันเทิงคดีถูกตองที่สุด
1. บันเทิงคดีมุงใหเกิดความสําเริงอารมณเทานั้น
2. บันเทิงคดีมิไดมุงใหความรูหรือความคิดเห็นใดๆ
3. บันเทิงคดีไมมีสาระในดานปรัชญา การเมือง
หรือประวัติศาสตร
4. บันเทิงคดีจะตองมีเนื้อหากระทบอารมณผูอานจนทําให
เกิดความสําเริงอารมณ
1. เรือมาหนามุงนํ้า
7.
1. เรือมาหนามุงนํ้า1. เรือมาหนามุงนํ้าD 1. เรือมาหนามุงนํ้า
1. นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย
8.
1. นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย1. นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรียD 1. นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย
ดังเอากริชแกะกรีดในอกผัว
9.
ดังเอากริชแกะกรีดในอกผัวD ดังเอากริชแกะกรีดในอกผัวD ดังเอากริชแกะกรีดในอกผัว
1. โอวาอนิจจาความรัก
10.
1. โอวาอนิจจาความรักD 1. โอวาอนิจจาความรักD 1. โอวาอนิจจาความรัก
11.
B
12. “ในวรรณคดี กวียอมแสดงภูมิปญญาของตนออกมา
เราจึงสามารถมองเห็นชีวิต ความเปนอยู คานิยม
และจริยธรรมของคนในสังคมที่ผูประพันธจําลองไว
ใหประจักษ”
จากขอความขางตนคําวา “ภูมิปญญา” มีความหมาย
ตรงกับขอใด
1. ลักษณะของสังคมที่เสนออยางตรงไปตรงมา
2. การแสดงภาพของชีวิตที่สัมพันธกับวัฒนธรรม
3. ภาพจําลองของชีวิตและการสงเสริมจริยธรรมของสังคม
4. ความรูทางดานขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดมา
อยางยาวนาน
13. วีรกรรมใดของขุนแผนที่เชื่อวาเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นจริง
1. ยกทัพไปตีพมาแลวชนะศึก
2. ยกทัพไปตีลานชางแลวชนะศึก
3. ยกทัพไปตีเชียงใหมแลวชนะศึก
4. ยกทัพไปตีกาญจนบุรีแลวชนะศึก
14. บทประพันธในขอใดบรรยายลักษณะไดตรงกับชื่อตอน
“ขุนชางถวายฎีกา” มากที่สุด
1. จะกลาวถึงพระองคผูทรงเดช
เสด็จคืนนิเวศนพอจวนคํ่า
2. ฝพายรายเลมมาเต็มลํา
เรือประจําแหนแหเซ็งแซมา
3. พอเรือพระที่นั่งประทับที่
ขุนชางก็รี่ลงตีนทา
4. ลอยคอชูหนังสือดื้อเขามา
ผุดโผลโงหนายึดแคมเรือ
15. เมื่อขุนชางถวายฎีการองทุกข ผลของการตัดสินเปน
อยางไร
1. ขุนชางแพความถูกปรับ
2. ขุนชางชนะความไดนางวันทองคืน
3. ขุนแผนชนะความไดนางวันทองคืน
4. พระพันวษาสั่งประหารชีวิตนางวันทอง
16. เหตุใดพระราชนิพนธเรื่องอิเหนาจึงมีบทบรรยายทั้งบท
อาบนํ้าแตงตัว บทเดินทางชมปา และบทเกี้ยวพาราสี
1. เพราะเปนบทเสภา
2. เพราะเปนบทละครใน
3. เพราะเปนบทละครนอก
4. เพราะเปนบทพระราชนิพนธ
12.
F
1. ยกทัพไปตีพมาแลวชนะศึก
13. วีรกรรมใดของขุนแผนที่เชื่อวาเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นจริง
1. ยกทัพไปตีพมาแลวชนะศึกB 1. ยกทัพไปตีพมาแลวชนะศึกB 1. ยกทัพไปตีพมาแลวชนะศึก
14. บทประพันธในขอใดบรรยายลักษณะไดตรงกับชื่อตอน
C
15.
D
16. เหตุใดพระราชนิพนธเรื่องอิเหนาจึงมีบทบรรยายทั้งบท
C
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล (10)
17. ขอใดไมมีคําแสดงภาพพจนอุปมา
1. กองไฟสวางดังกลางวัน
หมายสําคัญตรงมาหนาประตู
2. จับใจดังหัวใจจะพังพอง
ขยับจองดาบงาอยากฆาฟน
3. ถาคิดเห็นเอ็นดูวาลูกเตา
แมทูนเกลาไปเรือนอยาเชือนเฉย
4. มิควรทําเจาอยาทําใหรําคาญ
อยาอาจหาญเหมือนพอนักคะนองใจ
18. บทประพันธในขอใดมีลักษณะเปนคําสั่ง
1. อาจองทะนงตัวไมกลัวภัย
นี่พอใชฤๅวาเจามาเอง
2. ใสดาลบานชองกองไฟรอบ
พอชางลอบเขามากระไรได
3. มีธุระสิ่งไรในใจเจา
พอจงเลาแกแมแลวกลับบาน
4. เจามาไยปานนี้นี่ลูกอา
เขารักษาอยูทุกแหงตําแหนงใน
19. บทประพันธในขอใดแสดงถึงความทุกขใจของตัวละครมาก
ที่สุด
1. ใชจะอิ่มเอิบอาบดวยเงินทอง
มิใชของตัวทํามาแตไหน
ทั้งผูคนชางมาแลขาไท
ไมรักใครเหมือนกับพอพลายงาม
2. ทุกวันนี้ใชแมจะผาสุก
มีแตทุกขใจเจ็บดังเหน็บหนาม
ตองจําจนทนกรรมที่ติดตาม
จะขืนความคิดไปก็ใชที
3. ที่จริงใจถึงไปอยูเรือนอื่น
คงคิดคืนที่หมอมเปนแมนมั่น
ดวยรักลูกรักผัวยังพัวพัน
คราวนั้นก็ไปอยูเพราะจําใจ
4. แคนคิดดวยมิตรไมรักเลย
ยามมีที่เชยเฉยเสียได
เสียงแรงรวมทุกขยากกันกลางไพร
กินผลไมตางขาวทุกเพรางาย
20. บทประพันธในขอใดมีคําเลียนเสียงธรรมชาติ
1. ไดยินเสียงฆองยํ่าประจําวัง ลอยลมลองดังถึงเคหา
2. นํ้าคางตกกระเซ็นเย็นเยือกใจ สงัดเสียงคนใครไมพูดจา
3. มีแตหลับเพอละเมอฝน ทั้งไฟกองปองกันทุกแหงหน
4. เรณูฟูรอนขจรใจ ยางเทากาวไปไมโครมคราม
17. ข
D
1. อาจองทะนงตัวไมกลัวภัย
18.
1. อาจองทะนงตัวไมกลัวภัย1. อาจองทะนงตัวไมกลัวภัยF 1. อาจองทะนงตัวไมกลัวภัย
19.
F
1. ไดยินเสียงฆองยํ่าประจําวัง ลอยลมลองดังถึงเคหา
20. บทประพันธในขอใดมีคําเลียนเสียงธรรมชาติ
1. ไดยินเสียงฆองยํ่าประจําวัง ลอยลมลองดังถึงเคหา1. ไดยินเสียงฆองยํ่าประจําวัง ลอยลมลองดังถึงเคหาD 1. ไดยินเสียงฆองยํ่าประจําวัง ลอยลมลองดังถึงเคหา
21. คําที่ขีดเสนใตในขอใดไมมีความหมายกลาวถึงขุนชาง
1. วันนั้นแพกูเมื่อดํานํ้า
ก็กริ้วซํ้าจะฆาใหเปนผี
2. มาอยูไยกับอายหินชาติ
แสนอุบาทวใจจิตริษยา
3. ฝายพอมีบุญเปนขุนนาง
แตแมไปแนบขางคนจัญไร
4. พรากใหพนคนอุบาทวชาติอัปรีย
ยิ่งคิดยิ่งมีความโกรธา
22. วรรณคดีเรื่องขุนชางขุนแผน ตอนขุนชางถวายฎีกา
ใหขอคิดในเรื่องใดชัดเจนที่สุด
1. การทําสิ่งใดอยาวูวามจะทําใหเกิดผลเสียได
2. การใชอํานาจในทางที่ผิดยอมทําลายชีวิตคนได
3. ผูหญิงไมวายุคใดสมัยใดมักเปนเพศที่เสียเปรียบ
4. การทําสิ่งใดควรตัดสินใจใหเด็ดขาดอยางมีเหตุผล
23. คํากลาวในขอใดที่ทําใหนางวันทองยอมไปกับพลายงาม
1. จะตัดเอาศีรษะของแมไป
ทิ้งแตตัวไวใหอยูนี่
2. เหมือนไมมีรักใครในลูกยา
อุตสาหมารับแลวยังมิไป
3. แมนมิไปใหงามก็ตามใจ
จะบาปกรรมอยางไรก็ตามที
4. เสียแรงเปนลูกผูชายไมอายเพื่อน
จะพาแมไปเรือนใหจงได
24. สมเด็จพระพันวษาทรงกริ้วพลายงามเพราะเหตุใด
1. นี่มึงหนีมันมาฤๅวาไร
ฤๅวาใครไปรับเอามึงมา
2. อีวันทองกูใหอายแผนไป
อายชางบังอาจใจทําจูลู
3. ตกวากูหาเปนเจาชีวิตไม
มึงถือใจวาเปนเจาที่โรงโขน
4. อายหมื่นไวยทําใจอหังการ
ตกวาบานเมืองไมมีนาย
25. โจนลงกลางชานรานดอกไม ของขุนชางปลูกไวอยูดาษดื่น
บทประพันธนี้ควรแกไขเรื่องเสียงวรรณยุกตอยางไร จึงจะ
ทําใหบทประพันธมีความไพเราะยิ่งขึ้น
1. คําสุดทายของวรรคสดับควรเปนเสียงสามัญ
2. คําสุดทายของวรรคสดับควรเปนเสียงจัตวา
3. คําสุดทายของวรรครับควรเปนเสียงจัตวา
4. คําสุดทายของวรรครับควรเปนเสียงตรี
1. วัน
21.
1. วันD 1. วันD 1. วัน
ใหขอคิดในเรื่องใดชัดเจนที่สุด
22.
ใหขอคิดในเรื่องใดชัดเจนที่สุดใหขอคิดในเรื่องใดชัดเจนที่สุดF ใหขอคิดในเรื่องใดชัดเจนที่สุด
1. จะตัดเอาศีรษะของแมไป
23.
1. จะตัดเอาศีรษะของแมไป1. จะตัดเอาศีรษะของแมไปD 1. จะตัดเอาศีรษะของแมไป
24. สมเด็จพระพันวษาทรงกริ้วพลายงามเพราะเหตุใด
1. นี่มึงหนีมันมาฤๅวาไร
24. สมเด็จพระพันวษาทรงกริ้วพลายงามเพราะเหตุใด
1. นี่มึงหนีมันมาฤๅวาไร1. นี่มึงหนีมันมาฤๅวาไรD 1. นี่มึงหนีมันมาฤๅวาไร
บทประพันธนี้ควรแกไขเรื่องเสียงวรรณยุกตอยางไร จึงจะ
25.
บทประพันธนี้ควรแกไขเรื่องเสียงวรรณยุกตอยางไร จึงจะ
E
บทประพันธนี้ควรแกไขเรื่องเสียงวรรณยุกตอยางไร จึงจะ
E
บทประพันธนี้ควรแกไขเรื่องเสียงวรรณยุกตอยางไร จึงจะ
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล(11)
26. บทประพันธในขอใดมีคําที่ประสมดวยสระประสม
มากที่สุด
1. กระดึงพรวนลวนสักหลาดทับ
2. ดาวประดับดวงเดนดูสลอน
3. สลักเสลาเกลาเกลี้ยงอรชร
4. เชือกใชไวซอนสลับกัน
27. แผนดินที่กลาวถึงในเรื่องสามกกอยูในรัชสมัยของกษัตริย
พระองคใดและราชวงศใด
1. พระเจาเลนเต ราชวงศจิ๋น
2. พระเจาเลนเต ราชวงศหมิง
3. พระเจาเหี้ยนเต ราชวงศฮั่น
4. พระเจาเหี้ยนเต ราชวงศวุย
28. เรื่องสามกกเปนวรรณคดีที่มีลักษณะอยางไร
1. เปนเรื่องแปล
2. เปนเรื่องแตงขึ้นใหม
3. เปนเรื่องที่นํามาจากนิทานพื้นบานของจีน
4. เปนเรื่องที่แตงโดยนําเคาโครงมาจากวรรณคดีของจีน
29. “ถึงมาตรวาเปนทางกันดารจะตองขามมหาสมุทร
แลลุยเพลิงก็ดี จะไปหาใหจงได”
ขอความขางตนนี้สัมพันธกับตัวละครในขอใด
1. กวนอู-เลาป
2. กําฮูหยิน-เลาป
3. เตียวเลี้ยว-กวนอู
4. กวนอู-พระเจาเหี้ยนเต
30. ขอใดไมใชขอคิดที่ไดจากวรรณคดีเรื่องสามกก
1. ความซื่อสัตยเปนพื้นฐานของคุณธรรมอื่นๆ
2. การจงรักภักดีตอกษัตริย ทีี่แมแตชีวิตก็สละได
3. การรักษาวาจาสัตยจะทําใหผูอื่นเชื่อถือและศรัทธา
4. ความกตัญูตอผูมีพระคุณจะมีความสุขความเจริญ
ในชีวิต
31. “ธรรมดาเกิดมาเปนชายใหรูจักที่หนักที่เบา ถาผูใดมิได
รูจักที่หนักที่เบา คนทั้งปวงก็ลวงติเตียนวาผูนั้นหาสติ
ปญญาไม”
จากขอความขางตนคําที่ขีดเสนใตหมายถึงขอใด
1. บุญคุณ 2. ภารกิจ
3. กําลังรบ 4. อาวุโส
มากที่สุด
26. บทประพันธในขอใดมีคําที่ประสมดวยสระประสม
มากที่สุดมากที่สุดE มากที่สุด
พระองคใดและราชวงศใด
27. แผนดินที่กลาวถึงในเรื่องสามกกอยูในรัชสมัยของกษัตริย
พระองคใดและราชวงศใดพระองคใดและราชวงศใดB พระองคใดและราชวงศใด
1. เปนเรื่องแปล
28.
1. เปนเรื่องแปล1. เปนเรื่องแปลB 1. เปนเรื่องแปล
แลลุยเพลิงก็ดี จะไปหาใหจงได”
29.
แลลุยเพลิงก็ดี จะไปหาใหจงได”C แลลุยเพลิงก็ดี จะไปหาใหจงได”C แลลุยเพลิงก็ดี จะไปหาใหจงได”
1. ความซื่อสัตยเปนพื้นฐานของคุณธรรมอื่นๆ
30.
1. ความซื่อสัตยเปนพื้นฐานของคุณธรรมอื่นๆ1. ความซื่อสัตยเปนพื้นฐานของคุณธรรมอื่นๆF 1. ความซื่อสัตยเปนพื้นฐานของคุณธรรมอื่นๆ
31.
B
32. เพราะเหตุใดกวนอูจึงตัดสินใจรับราชการกับโจโฉ
1. เพื่อเปนทหารเอกของโจโฉ
2. เพื่อเอาใจออกหางจากเลาป
3. เพื่อตอบแทนบุญคุณแลวจากไป
4. เพื่อแสดงความจงรักภักดีตอพระเจาเหี้ยนเต
33. ในเรื่องสามกก เหตุการณใดที่โจโฉมั่นใจวาตนไมสามารถ
ผูกใจกวนอูได
1. กวนอูปฏิเสธไมยอมออกรบกับเลาป
2. กวนอูแสดงความดีใจที่โจโฉมอบมาเซ็กเธาวให
3. กวนอูเคารพและซื่อสัตยตอฮูหยินทั้งสองอยางสุจริตใจ
4. กวนอูสวมเสื้อตัวใหมที่โจโฉมอบใหไวขางใน
และสวมเสื้อตัวเกาที่เลาปใหไวขางนอก
34. โจโฉจึงใหกวนอูกับภรรยาเลาปทั้งสองนั้นอยูเรือน
เดียวกัน หวังจะใหกวนอูคิดทํารายพี่สะใภ นํ้าใจจะได
แตกออกจากเลาปจะไดเปนสิทธิ์แกตัว
จากเหตุการณขางตนแสดงใหเห็นวาโจโฉมีจุดมุงหมาย
อยางไร
1. ตองการไดฮูหยินเปนของตน
2. ตองการใหกวนอูสวามิภักดิ์ตอตน
3. ตองการใหกวนอูคิดไมซื่อตอฮูหยิน
4. ตองการใหกวนอูประทุษรายฮูหยินเพื่อแกแคนเลาป
35. เรื่องสามกกฉบับเจาพระยาพระคลัง(หน) ไดรับยกยอง
จากวรรณคดีสโมสรใหเปนยอดของวรรณคดีประเภท
1. เรื่องแปลจีน
2. ความเรียงนิทาน
3. ความเรียงตํานาน
4. ความเรียงเชิงอธิบายความ
36. เพราะเหตุใดโจโฉจึงตองการกวนอูมาเปนทหารของตน
1. กวนอูมีความซื่อสัตย
2. กวนอูมีความรูรอบดาน
3. กวนอูมีความกตัญูรูคุณ
4. กวนอูมีฝมือกลาหาญในการสงคราม
37. ขอใดมีความหมายตรงกับสํานวนไทยวา “ตัดไฟแตตนลม”
1. ลูกนกอันขนปกยังไมขึ้นพรอม
2. จะมาตีตัวตายกอนไขนั้นไมควร
3. อุปมาเหมือนหนึ่งลุยเพลิงอันสุก
4. อันความคิดของอวนเสี้ยวนั้นถาจะทําการสิ่งใดก็รวดเร็ว
1. เพื่อเปนทหารเอกของโจโฉ
32. เพราะเหตุใดกวนอูจึงตัดสินใจรับราชการกับโจโฉ
1. เพื่อเปนทหารเอกของโจโฉ1. เพื่อเปนทหารเอกของโจโฉC 1. เพื่อเปนทหารเอกของโจโฉ
33. ในเรื่องสามกก เหตุการณใดที่โจโฉมั่นใจวาตนไมสามารถ
D
34.
E
35. เรื่องสามกกฉบับเจาพระยาพระคลัง(หน) ไดรับยกยอง
B
1. กวนอูมีความซื่อสัตย
36. เพราะเหตุใดโจโฉจึงตองการกวนอูมาเปนทหารของตน
1. กวนอูมีความซื่อสัตย1. กวนอูมีความซื่อสัตยC 1. กวนอูมีความซื่อสัตย
37. ขอใดมีความหมายตรงกับสํานวนไทยวา
D
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล (12)
38. ขอใดไมเกี่ยวกับเนื้อหาเรื่องสามกก
1. การปกครองบานเมือง
2. การสูรบโดยมีหญิงสาวเปนชนวน
3. การแยงอํานาจของผูปกครองบานเมือง
4. การใชกลอุบายทางการเมืองและการสงคราม
39. วรรณคดีเรื่องสามกกมีประโยชนตอการบริหารบานเมือง
อยางไร
1. การรูจักใชคน
2. การปกครองบานเมือง
3. การใชกลยุทธและไหวพริบทางการทหาร
4. การบริหารบุคคลทั้งทางทหารและทางการเมือง
1. การปกครองบานเมือง
38.
1. การปกครองบานเมืองD 1. การปกครองบานเมืองD 1. การปกครองบานเมือง
39. วรรณคดีเรื่องสามกกมีประโยชนตอการบริหารบานเมือง
E
40. จากวรรณคดีเรื่องสามกกชื่อตัวละครในขอใดมีจํานวน
พยางคที่มีเสียงวรรณยุกตตรงกับรูปวรรณยุกตมากที่สุด
1. เตียวหุย ลิโป
2. กวนอู เตียวหุย
3. เลาป เตียวเลี้ยว
4. โจโฉ บิฮูหยิน
พยางคที่มีเสียงวรรณยุกตตรงกับรูปวรรณยุกตมากที่สุด
40. จากวรรณคดีเรื่องสามกกชื่อตัวละครในขอใดมีจํานวน
พยางคที่มีเสียงวรรณยุกตตรงกับรูปวรรณยุกตมากที่สุดพยางคที่มีเสียงวรรณยุกตตรงกับรูปวรรณยุกตมากที่สุดE พยางคที่มีเสียงวรรณยุกตตรงกับรูปวรรณยุกตมากที่สุด
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
SophinyaDara
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
Kruthai Kidsdee
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
Surapong Klamboot
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
พัน พัน
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
พัน พัน
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
Manas Panjai
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
ssuser456899
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 

What's hot (20)

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 

Viewers also liked

ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54Wonder Juey
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551Atthaphon45614
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
Drsek Sai
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
Persuasive language
Persuasive languagePersuasive language
Persuasive language
Winn Khemdaeng
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
kingkarn somchit
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
kingkarn somchit
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
kingkarn somchit
 
วิช
วิชวิช

Viewers also liked (16)

ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้  ขุนช้างขุนแผนใบความรู้  ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
Persuasive language
Persuasive languagePersuasive language
Persuasive language
 
Test 6
Test 6Test 6
Test 6
 
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
วิช
วิชวิช
วิช
 

Similar to แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6

การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
kruthai40
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
kruthai40
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdfการอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
Krapom Jiraporn
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
kruthailand
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometrywongsrida
 
Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555wongsrida
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
parinya poungchan
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาaromdjoy
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาThawinan Emsiranunt
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาSu Surut
 

Similar to แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6 (20)

การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdfการอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometry
 
Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
M6social2553
M6social2553M6social2553
M6social2553
 
O net สังคม
O net สังคมO net สังคม
O net สังคม
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
 
So52
So52So52
So52
 
CSo52
CSo52CSo52
CSo52
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
 

More from teerachon

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3teerachon
 

More from teerachon (20)

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
 

แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6

  • 1. โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล(1) แบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนอานออก เขียนได คิดคํานวณเปน มุงใหเกิดทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต เตรียมตัวเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ และมีความสามารถในการแขงขันไดในอนาคต การจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับจุดมุงหมายดังกลาว จึงควรใหผูเรียนฝกฝนการนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริง สามารถคิดวิเคราะหและแกปญหาได ดังนั้นเพื่อเปนการเตรียมความพรอม ของผูเรียน ทางโครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด จึงไดจัดทําแบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด โดยดําเนินการวิเคราะหสาระการเรียนรูที่สําคัญตามที่ระบุไวในมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นป แลวนํามากําหนดเปนระดับพฤติกรรมการคิด เพื่อสรางแบบทดสอบที่มีคุณสมบัติ ดังน�้ ที่สอดคลองกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดชั้นปทุกขอ ตามระดับพฤติกรรมการคิด ที่ระบุไวในตัวชี้วัด วัดผลการเรียนรู เนนใหผูเรียนเกิดการคิด1 2 ผูสอนสามารถนําแบบทดสอบน�้ไปใชเปนเครื่องมือวัด และประเมินผล รวมทั้งเปนเครื่องบงชี้ความสําเร็จและรายงาน คุณภาพของผูเรียนแตละคน เพื่อเปนการเตรียมความพรอม ของนักเรียนใหมีความสามารถในดานการใชภาษา ดานการ คิดคํานวณ และดานเหตุผล สําหรับรองรับการประเมินผลผูเรียน ในระดับประเทศ (O-NET) และระดับนานาชาติ (PISA) ตอไป ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ ภาคเรียนที่ 1 ชุดที่ ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด ระดับ พฤติกรรม การคิด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ ระดับพฤติกรรมการคิด รวม 1 ท 5.1 1 1-4, 13-15, 27-30 A ความรูความจํา - - 2 5-7, 16-18, 31-34 B ความเขาใจ 1-2, 5, 23, 27-28 6 3 8-10, 19-20, 35-38 C การนําไปใช 3, 6, 8, 13-14, 19, 31-33 9 4 11-12, 21-22, 39-40 D การวิเคราะห 7, 9-10, 15-16, 20, 25, 29-30, 35-36, 39 12 5 23-24 E การสังเคราะห 11-12, 21, 24, 26, 34, 37 7 6 25-26 F การประเมินคา 4, 17-18, 22, 38, 40 6 2 ท 5.1 1 1-4, 13-15, 27-30 A ความรูความจํา - - 2 5-8, 16-18, 31-34 B ความเขาใจ 1-2, 11, 13, 27-28, 31, 35 8 3 9-10, 19-21, 35-37 C การนําไปใช 5-6, 14, 16, 19, 29, 32, 36 8 4 11-12, 22, 38-40 D การวิเคราะห 7-8, 9-10, 15, 17, 20-21, 23-24, 33, 37-38 13 5 23-24 E การสังเคราะห 3-4, 25-26, 34, 39-40 7 6 25-26 F การประเมินคา 12, 18, 22, 30 4 แบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด ที่จัดทําโดยโครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ประกอบดวย แบบทดสอบประจําภาคเรียนที่ 1 และแบบทดสอบประจําภาคเรียนที่ 2 ซึ�งแตละภาคเรียนจะมีแบบทดสอบ 2 ชุด แตละชุดมีทั้ง แบบทดสอบปรนัย และแบบทดสอบอัตนัย โดยวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด และระดับพฤติกรรมการคิดที่สัมพันธกับแบบทดสอบไวอยาง ชัดเจน เพื่อใหผูสอนนําไปใชเปนเครื่องมือวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ หมายเหตุ : มีเฉลยและคําอธิบายเชิงวิเคราะห อยูทายแบบทดสอบภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
  • 2. โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล (2) 4. ขอใดกลาวถูกตองที่สุดเกี่ยวกับการอานวรรณคดี 1. การอานวรรณคดีคือการอานเพื่อใหเห็นคุณคาของ วรรณคดี 2. การอานวรรณคดีคือการอานเพื่อใหเกิดความซาบซึ้ง ในรสวรรณคดี 3. การอานวรรณคดีคือการอานที่ตองใชกระบวนการคิด วิเคราะหอยางมีเหตุผล 4. การอานวรรณคดีคือการอานที่ตองใชสติปญญา กลั่นกรองคุณคาทางอารมณและคุณคาทางความคิด 5. วันนี้เพื่อนเรา เพื่อนเกาเพื่อนใหม ที่หางกันไกล มาพรอมหนากัน บทประพันธขางตนมีลักษณะคําประพันธประเภทใด 1. กลอนสี่สุภาพ 2. มาณวกฉันท 8 3. วิชชุมมาลาฉันท 8 4. กาพยสุรางคนางค 28 6. ขอใดใชลักษณะคําประพันธแตกตางจากขออื่น 1. ขาวสุดพุดจีบจีน เจามีสินพี่มีศักดิ์ 2. นวลจันทรเปนนวลจริง เจางามพริ้งยิ่งนวลปลา 3. ชะโดดุกกระดี่โดด สลาดโลดยะหยอยหยอย 4. สุวรรณหงสทรงพูหอย งามชดชอยลอยหลังสินธุ 1. การอานวรรณคดีคือการอานเพื่อใหเห็นคุณคาของ 4. ขอใดกลาวถูกตองที่สุดเกี่ยวกับการอานวรรณคดี 1. การอานวรรณคดีคือการอานเพื่อใหเห็นคุณคาของ1. การอานวรรณคดีคือการอานเพื่อใหเห็นคุณคาของF 1. การอานวรรณคดีคือการอานเพื่อใหเห็นคุณคาของ ที่หางกันไกล มาพรอมหนากัน 5. ที่หางกันไกล มาพรอมหนากันที่หางกันไกล มาพรอมหนากันD ที่หางกันไกล มาพรอมหนากัน 1. ขาวสุดพุดจีบจีน เจามีสินพี่มีศักดิ์ 6. ขอใดใชลักษณะคําประพันธแตกตางจากขออื่น 1. ขาวสุดพุดจีบจีน เจามีสินพี่มีศักดิ์1. ขาวสุดพุดจีบจีน เจามีสินพี่มีศักดิ์C 1. ขาวสุดพุดจีบจีน เจามีสินพี่มีศักดิ์ 1. มะลิวัลยพันจิกจวง ดอกเปนพวงรวงเรณู หอมมานาเอ็นดู ชูชื่นจิตคิดวนิดา บทประพันธขางตนปรากฏอยูในวรรณคดีเรื่องใด และใครเปนผูประพันธ 1. กาพยพระไชยสุริยา สุนทรภู 2. กาพยเหเรือ เจาฟาธรรมธิเบศร 3. กาพยหอโคลง เจาฟาธรรมธิเบศร 4. กาพยขับไม เจาพระยาพระคลัง(หน) 2. วรรณคดีในขอใดใชคําประพันธทั้งประเภทโคลงและราย ทั้ง 2 เรื่อง 1. กากี พระอภัยมณี 2. ลิลิตพระลอ ลิลิตยวนพาย 3. นิราศนรินทร ขุนชางขุนแผน 4. โคลงโลกนิติ โคลงราชสวัสดิ์ 3. บาวเศิกเอิกอึง ทราบถึงบัดดล ในหมูผูคน ชาวเวสาลี บทประพันธที่ยกมานี้อยูในวรรณคดีเรื่องใด และมีลักษณะ คําประพันธประเภทใด 1. อิลราชคําฉันท มาณวกฉันท 2. สามัคคีเภทคําฉันท วิชชุมมาลาฉันท 3. สมุทรโฆษคําฉันท วิชชุมมาลาฉันท 4. สามัคคีเภทคําฉันท อินทรวิเชียรฉันท หอมมานาเอ็นดู ชูชื่นจิตคิดวนิดา 1. หอมมานาเอ็นดู ชูชื่นจิตคิดวนิดาหอมมานาเอ็นดู ชูชื่นจิตคิดวนิดาB หอมมานาเอ็นดู ชูชื่นจิตคิดวนิดา ทั้ง 2 เรื่อง 2. วรรณคดีในขอใดใชคําประพันธทั้งประเภทโคลงและราย ทั้ง 2 เรื่องทั้ง 2 เรื่องB ทั้ง 2 เรื่อง ในหมูผูคน ชาวเวสาลี 3. ในหมูผูคน ชาวเวสาลีC ในหมูผูคน ชาวเวสาลีC ในหมูผูคน ชาวเวสาลี ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹àµçÁ 40 ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน 2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา A B C D E F ชุดที่ 1 แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ภาคเร�ยนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹ÃÇÁ 50 ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล …………………………………………………………………………………………….. เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………. สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ……………………………………….. โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
  • 3. โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล(3) 7. บทประพันธในขอใดไมมีคําที่กอใหเกิดจินตภาพทางการ เคลื่อนไหว 1. มีหมีที่ดําขลับ ขึ้นไมผับฉับไวถึง 2. กระจงกระจิดเตี้ย วิ่งเรี่ยเรี่ยนาเอ็นดู 3. กระรอกหางพัวพู โพรงไมอยูคูไลตาม 4. เลียงผาอยูภูเขา หนวดพรายเพราเขาแปลปลาย 8. คําศัพทในขอใดมีความหมายแตกตางจากขออื่น 1. โพยม นภา 2. พสุธา ธาตรี 3. คัคนานต อัมพร 4. ทิฆัมพร นภาพร 9. การอานบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ควรใชหลักการ วิจักษวรรณคดีตามขอใด 1. อานอยางพินิจพิจารณา 2. รับรูอารมณของบทประพันธ 3. พิจารณากลวิธีในการแตงคําประพันธ 4. คนหาความหมายพื้นฐานของบทประพันธ 10. องคประกอบใดถือเปนธรรมเนียมในการแตงคําประพันธ ประเภทนิราศ 1. บทสดุดี 2. บทไหวครู 3. บทชมโฉม 4. บทครํ่าครวญ 11. ขอใดกลาวไมถูกตอง 1. วรรณคดีเกิดจากจินตนาการของกวีเพียงประการเดียว 2. คติธรรมที่กวีถายทอดไวในวรรณคดีคือมุมมองที่กวี ประสบพบเห็น 3. พฤติกรรมที่ตัวละครในวรรณคดีแสดงออก มีพฤติกรรม เหมือนมนุษยทั่วไป 4. การอานวรรณคดีโดยวิเคราะหเนื้อหาและพิจารณา คุณคาดานวรรณศิลปทําใหผูอานเขาใจวรรณคดี มากขึ้น 12. ขาวสุดพุดจีบจีน เจามีสินพี่มีศักดิ์ ทั้งวังเขาชังนัก แตพี่รักเจาคนเดียว จากบทประพันธขางตนไมไดกลาวถึงเรื่องใด 1. คานิยมในสังคม 2. ความรักที่ยิ่งใหญ 3. สถานภาพของสตรี 4. ศักดิ์ศรีและชาติตระกูล เคลื่อนไหว 7. บทประพันธในขอใด เคลื่อนไหวเคลื่อนไหวD เคลื่อนไหว 1. โพยม นภา 8. คําศัพทในขอใดมีความหมายแตกตางจากขออื่น 1. โพยม นภาC 1. โพยม นภาC 1. โพยม นภา วิจักษวรรณคดีตามขอใด 9. การอานบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ควรใชหลักการ วิจักษวรรณคดีตามขอใดวิจักษวรรณคดีตามขอใดD วิจักษวรรณคดีตามขอใด 10. องคประกอบใดถือเปนธรรมเนียมในการแตงคําประพันธ D 1. วรรณคดีเกิดจากจินตนาการของกวีเพียงประการเดียว 11. ขอใดกลาว 1. วรรณคดีเกิดจากจินตนาการของกวีเพียงประการเดียวE 1. วรรณคดีเกิดจากจินตนาการของกวีเพียงประการเดียวE 1. วรรณคดีเกิดจากจินตนาการของกวีเพียงประการเดียว ทั้งวังเขาชังนัก แตพี่รักเจาคนเดียว 12. ทั้งวังเขาชังนัก แตพี่รักเจาคนเดียวทั้งวังเขาชังนัก แตพี่รักเจาคนเดียวF ทั้งวังเขาชังนัก แตพี่รักเจาคนเดียว 13. วรรณคดีในขอใดที่ไดรับการยกยองวามีสํานวนดีเยี่ยมที่สุด 1. รามเกียรติ์ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี 2. โคลงราชสวัสดิ์ ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช 3. มัทนะพาธา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา- เจาอยูหัว 4. ขุนชางขุนแผน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ- เลิศหลานภาลัย 14. เออนี่เนื้อเคราะหกรรมมานําผิด นาอายมิตรหมองใจไมหายหมาง ฝายพอมีบุญเปนขุนนาง แตแมไปแนบขางคนจัญไร บทประพันธขางตนเปนคําพูดของใคร และคําที่ขีดเสนใต หมายถึงใคร 1. ขุนแผน ขุนชาง 2. พลายงาม ขุนชาง 3. นางวันทอง ขุนชาง 4. ขุนชาง ขุนแผน 15. ขอความในขอใดไมปรากฏในเรื่องขุนชางขุนแผน ตอนขุนชางถวายฎีกา 1. ขุนชางเปนชายผูมีความรักที่มั่นคง 2. พระหมื่นไวยเปนที่ยําเกรงของขาศึก 3. สมเด็จพระพันวษาทรงฝกใฝในทางธรรม 4. พลายงามเปนผูมีความเชื่อดานไสยศาสตร 16. บทประพันธในขอใดที่แสดงถึงลักษณะนิสัยที่มุทะลุดุดัน ของพลายงามไดชัดเจนที่สุด 1. แมอยาเจรจาชาที จวนแจงแสงศรีจะรีบไป 2. จะตัดเอาศีรษะของแมไป ทิ้งแตตัวไวใหอยูนี่ 3. แมนมิไปใหงามก็ตามใจ จะบาปกรรมอยางไรก็ตามที 4. เสียแรงเปนลูกผูชายไมอายเพื่อน จะพาแมไปเรือนใหจงได 17. ขอใดมีคําศัพทแสดงถึงวัฒนธรรมการแตงกายในสมัยกอน 1. ผาผอนลอนแกนไมติดกาย เห็นมานขาดเรี่ยรายประหลาดใจ 2. พระสูตรรูดกรางกระจางองค ขุนนางกราบลงเปนขนัด 3. ลุกขึ้นถกเขมรรองเกนไป ทุดอายไพรขี้ครอกหลอกผูดี 4. เสกกระแจะจวงจันทนนํ้ามันทา เสร็จแลวก็พาวันทองไป 1. รามเกียรติ์ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี 13. วรรณคดีในขอใดที่ไดรับการยกยองวามีสํานวนดีเยี่ยมที่สุด 1. รามเกียรติ์ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี1. รามเกียรติ์ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีC 1. รามเกียรติ์ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี นาอายมิตรหมองใจไมหายหมาง 14. นาอายมิตรหมองใจไมหายหมางC นาอายมิตรหมองใจไมหายหมางC นาอายมิตรหมองใจไมหายหมาง ตอนขุนชางถวายฎีกา 15. ขอความในขอใด ตอนขุนชางถวายฎีกาD ตอนขุนชางถวายฎีกาD ตอนขุนชางถวายฎีกา 16. บทประพันธในขอใดที่แสดงถึงลักษณะนิสัยที่มุทะลุดุดัน D 1. ผาผอนลอนแกนไมติดกาย 17. ขอใดมีคําศัพทแสดงถึงวัฒนธรรมการแตงกายในสมัยกอน 1. ผาผอนลอนแกนไมติดกายF 1. ผาผอนลอนแกนไมติดกายF 1. ผาผอนลอนแกนไมติดกาย โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
  • 4. โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล (4) 18. อัยการศาลโรงก็มีอยู ฤๅวากูตัดสินใหไมได ชอบทวนดวยลวดใหปวดไป ปรับไหมใหเทากับชายชู จากบทประพันธนี้เปนคํากลาวของสมเด็จพระพันวษา ที่แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของสิ่งใด 1. ขนบประเพณี 2. จารีตประเพณี 3. กฎมณเฑียรบาล 4. กฎหมายบานเมือง 19. บทประพันธในขอใดไมเกี่ยวของกับความเชื่อของคนไทย 1. ใตเตียงเสียงหนูก็กุกกก 2. พรุงนี้พี่จะแกเสนียดฝน 3. ยื้อยุดฉุดคราทําสามานย 4. พิเคราะหดูทั้งยามอัฐกาล 20. ขอใดไมไดกลาวถึงความเชื่อในเรื่องไสยศาสตร 1. ลงยันตราชะเอาปะตัว หยิบยกมงคลขึ้นใสหัว 2. เปามนตเบื้องบนชอุมมัว พรายยั่วยวนใจใหไคลคลา 3. นํ้าคางตกกระเซ็นเย็นเยือกใจ สงัดคนเสียงใครไมพูดจา 4. จึงเซนเหลาขาวปลาใหพรายกิน เสกขมิ้นวานยาเขาทาตัว 21. นางวันทองมีความรูสึกชื่นชมยกยองความดีของขุนชาง ในเรื่องใดมากที่สุด 1. ไมเคยขัดใจนางวันทอง 2. รักนางวันทองเพียงคนเดียว 3. ยกยองใหเกียรตินางวันทอง 4. เปนคูทุกขคูยากของนางวันทอง 22. จากสาระสําคัญในเรื่องขุนชางขุนแผนตอนขุนชาง ถวายฎีกา แสดงแนวคิดที่สําคัญในขอใด 1. ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข 2. การใชสติพิจารณากอนตัดสินใจ 3. ความแนนอนคือความไมแนนอน 4. ความรักสามารถเอาชนะทุกสิ่งได 23. คะเนนับยํ่ายามไดสามครา ดูเวลาปลอดหวงทักทิน จากบทประพันธขางตนคําวา “ทักทิน” มีความหมายวา อยางไร 1. วันดี 2. วันอันชั่วราย 3. วันแรม ๑ คํ่า 4. วันอันเปนฤกษดี ชอบทวนดวยลวดใหปวดไป ปรับไหมใหเทากับชายชู 18. ชอบทวนดวยลวดใหปวดไป ปรับไหมใหเทากับชายชูB ชอบทวนดวยลวดใหปวดไป ปรับไหมใหเทากับชายชูB ชอบทวนดวยลวดใหปวดไป ปรับไหมใหเทากับชายชู 1. ใตเตียงเสียงหนูก็กุกกก 19. บทประพันธในขอใด 1. ใตเตียงเสียงหนูก็กุกกกC 1. ใตเตียงเสียงหนูก็กุกกกC 1. ใตเตียงเสียงหนูก็กุกกก 1. ลงยันตราชะเอาปะตัว 20. ขอใด 1. ลงยันตราชะเอาปะตัวD 1. ลงยันตราชะเอาปะตัวD 1. ลงยันตราชะเอาปะตัว 21. นางวันทองมีความรูสึกชื่นชมยกยองความดีของขุนชาง E ถวายฎีกา แสดงแนวคิดที่สําคัญในขอใด 22. จากสาระสําคัญในเรื่องขุนชางขุนแผนตอนขุนชาง ถวายฎีกา แสดงแนวคิดที่สําคัญในขอใดถวายฎีกา แสดงแนวคิดที่สําคัญในขอใดF ถวายฎีกา แสดงแนวคิดที่สําคัญในขอใด จากบทประพันธขางตนคําวา 23. จากบทประพันธขางตนคําวา B 24. บทประพันธในขอใดตอไปนี้สะทอนสภาพสังคมไทยที่ แตกตางจากปจจุบัน 1. พลางเรียกหาขาไทยอยูวาวุน อีอุนอีอิ่มอีฉิมอีสอน 2. ไดยินเสียงฆองยํ่าประจําวัง ลอยลมลองดังถึงเคหา 3. พรุงนี้พี่จะแกเสนียดฝน แลวทํามิ่งสิ่งขวัญใหเปนสุข 4. หอมหวนอวลอบบุปผชาติ เบิกบานกานกลาดกิ่งไสว 25. ยี่สุนกุหลาบมะลิซอน ซอนชูชูกลิ่นถวิลหา ลําดวนกวนใจใหไคลคลา สาวหยุดหยุดชาแลวยืนชม บทประพันธขางตนมีความดีเดนดานวรรณศิลปคือมีการใช ภาพพจนตรงกับขอใด 1. อุปมา 2. บุคคลวัต 3. อติพจน 4. อุปลักษณ 26. โจนลงกลางชานรานดอกไม ของขุนชางปลูกไวอยูดาษดื่น รวยรสเกสรเมื่อคอนคืน ชื่นชื่นลมชายสบายใจ บทประพันธนี้มีคําประสมกี่คํา 1. 1 คํา 2. 2 คํา 3. 3 คํา 4. 4 คํา 27. “ยิ่งไดอานสามกกมากครั้งเขาก็ยิ่งมีใจฝกใฝ เปนขางโจโฉมากขึ้น…จึงลองนึกวาลองเขียนสามกก แบบเลานิทานแตจะทําใจเปนฝายโจโฉตลอดเรื่อง” ผูกลาวขอความนี้คือกวีทานใด 1. ยาขอบ 2. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช 3. เจาพระยาธรรมศักดิ์มนตรี 4. สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ 28. ขอใดไมใชเงื่อนไขที่กวนอูใชเปนขอแลกเปลี่ยนในการ ยอมไปรับราชการกับโจโฉ 1. ขอใหไดตําแหนงเสนาบดี 2. ขอใหไดเปนขาพระเจาเหี้ยนเต 3. ขอไปหาเลาปทันทีเมื่อรูวาอยูที่ใด 4. ขอใหไดดูแลและคุมครองภรรยาของเลาป 24. บทประพันธในขอใดตอไปนี้สะทอนสภาพสังคมไทยที่24. บทประพันธในขอใดตอไปนี้สะทอนสภาพสังคมไทยที่ D ลําดวนกวนใจใหไคลคลา สาวหยุดหยุดชาแลวยืนชม 25. ลําดวนกวนใจใหไคลคลา สาวหยุดหยุดชาแลวยืนชมD ลําดวนกวนใจใหไคลคลา สาวหยุดหยุดชาแลวยืนชมD ลําดวนกวนใจใหไคลคลา สาวหยุดหยุดชาแลวยืนชม ของขุนชางปลูกไวอยูดาษดื่น 26. ของขุนชางปลูกไวอยูดาษดื่นของขุนชางปลูกไวอยูดาษดื่นB ของขุนชางปลูกไวอยูดาษดื่น เปนขางโจโฉมากขึ้น…จึงลองนึกวาลองเขียนสามกก 27. เปนขางโจโฉมากขึ้น…จึงลองนึกวาลองเขียนสามกกเปนขางโจโฉมากขึ้น…จึงลองนึกวาลองเขียนสามกกB เปนขางโจโฉมากขึ้น…จึงลองนึกวาลองเขียนสามกก 28. ขอใด B โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
  • 5. โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล(5) 29. ฝายโจโฉยกทัพมาใกลถึงเมืองเสียวพาย พอเกิด ลมพายุใหญพัดหนัก ธงชัยซึ่งปกมาบนเกรียนนั้น หักทับลง โจโฉเห็นวิปริตดังนั้นก็สั่งใหหยุดทหารตั้ง คายมั่นไว ขอความขางตนแสดงคานิยมความเชื่อในดานใด 1. ดานพิธีกรรม 2. ดานไสยศาสตร 3. ดานลางบอกเหตุ 4. ดานปรากฏการณทางธรรมชาติ 30. โจโฉเห็นกวนอูมาก็มีความยินดีจึงออกไปรับกวนอู เขามา กวนอูจึงคํานับโจโฉแลววา “ตัวขาพเจาเปน เชลย ทานมิไดฆาเสีย แลวออกไปรับขาพเจาถึงนอก คายนั้น คุณหาที่สุดมิได” ขอความขางตน แสดงใหเห็นวากวนอูรูสึกอยางไรตอการ กระทําของโจโฉ 1. สํานึกในบุญคุณ 2. ใหความเคารพอยางจริงใจ 3. ไมชอบใจแตไมกลาแสดงออก 4. นอยใจดวยคิดวาตนไมมีความสําคัญ 31. เจาพระยาพระคลัง(หน) ไดรับยกยองวาเปนกวีที่ยอดเยี่ยม เหนือกวีทั้งปวงทานมีความสามารถในการแตงคําประพันธ ทุกประเภท งานเขียนประเภทใดเปนผลงานสําคัญที่สุด ของทาน 1. งานแปล 2. งานสารคดี 3. งานนวนิยาย 4. งานกวีนิพนธ 32. วรรณคดีเรื่องสามกกมีโวหารดีที่สุดในกระบวน รอยแกว บทอุปมาอุปไมยลึกซึ้งคมคาย บทพรรณนา แจมชัดทุกตอน จากขอความขางตน กลาวถึงวรรณคดีเรื่องสามกกวามี ความดีเดนในดานใด 1. ดานสังคม 2. ดานเนื้อหา 3. ดานวรรณศิลป 4. ดานประวัติศาสตร 29. D 30. D 31. เจาพระยาพระคลัง(หน) ไดรับยกยองวาเปนกวีที่ยอดเยี่ยม C รอยแกว บทอุปมาอุปไมยลึกซึ้งคมคาย บทพรรณนา 32. รอยแกว บทอุปมาอุปไมยลึกซึ้งคมคาย บทพรรณนารอยแกว บทอุปมาอุปไมยลึกซึ้งคมคาย บทพรรณนาC รอยแกว บทอุปมาอุปไมยลึกซึ้งคมคาย บทพรรณนา 33. โจโฉใหเชิญกวนอูมากินโตะ เห็นกวนอูหมเสื้อขาด โจโฉจึงเอาเสื้ออยางดีใหกวนอู กวนอูรับเอาเสื้อแลว จึงเอาเสื้อใหมนั้นใสขางใน เอาเสื้อเกานั้นใสขางนอก จากขอความขางตน กวนอูมีเหตุผลอยางไรจึงทําเชนนั้น 1. เสียดายเสื้อใหม 2. เกรงคนจะนินทา 3. เกรงวาจะลืมเลาป 4. ไมชอบเสื้อของโจโฉ 34. ครั้นอยูมาวันหนึ่งโจโฉจึงพากวนอูไปเฝาพระเจา เหี้ยนเต แลวทูลวากวนอูคนนี้มีฝมือพอจะเปนทหารได พระเจาเหี้ยนเตมีความยินดีจึงตั้งกวนอูเปนนายทหาร โจโฉกับกวนอูก็ลากลับบาน ลักษณะการใชประโยคขางตนนี้มีลักษณะเดนอยางไร 1. เปนขอความซับซอน เขาใจยาก 2. เปนขอความที่แฝงนัยตองอาศัยการตีความ 3. เปนขอความสั้นๆ แตมีตัวละครมากยากแกการจดจํา 4. เปนขอความสั้นๆ แตลําดับเหตุการณชัดเจน เขาใจงาย 35. “แมขาพเจาวาเลาปอยูที่ใดถึงมาตรวาเปนทางกันดาร จะตองขามพระมหาสมุทรแลลุยเพลิงก็ดี” ขอความขางตนปรากฏภาพพจนในขอใดเดนชัดที่สุด 1. อุปมา 2. อติพจน 3. อุปลักษณ 4. สัญลักษณ 36. ชื่อตัวละครในขอใดมีเสียงวรรณยุกตในพยางคแรกและ พยางคที่สองตรงกันทุกคํา 1. วุยกก งอกก ลิ่วลอ 2. กวนอู โจโฉ ซุนกวน 3. เตียวหุย ซุนฮก เซียงจู 4. เตียวเลี้ยว ขงเบง แหฝอ 37. ธรรมดาเกิดเปนชายใหรูจักที่หนักที่เบา ถาผูใดเกิดมา ไมรูจักที่หนักที่เบา คนทั้งปวงจะติเตียนไดวาผูนั้นหา สติปญญาไม ขอความนี้มีคํายืมภาษาบาลีสันสกฤตกี่คํา 1. 1 คํา 2. 2 คํา 3. 3 คํา 4. 4 คํา 33. C 34. B 35. D 36. ชื่อตัวละครในขอใดมีเสียงวรรณยุกตในพยางคแรกและ D 37. B โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
  • 6. โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล (6) 38. สํานวนที่ปรากฏในวรรณคดีเรื่องสามกกขอใดที่ยังปรากฏ ใชในปจจุบัน 1. กินโตะ 2. ชุบเลี้ยง 3. ทหารเลว 4. รองไหรักกัน 39. “ตัวเรามิไดรักชีวิตอันความตายเหมือนนอนหลับ…” จากคํากลาวขางตน สรุปความไดตรงตามขอใด 1. ความตายก็เหมือนกับการนอนหลับ 2. ความตายเปนเรื่องปกติสําหรับทุกคน 3. คนนอนหลับกับคนตายมิไดมีความแตกตางกัน 4. ไมตองเสียใจกับคนตายเพราะเหมือนคนนอนหลับ 38. สํานวนที่ปรากฏในวรรณคดีเรื่องสามกกขอใดที่ยังปรากฏ F จากคํากลาวขางตน สรุปความไดตรงตามขอใด 39. จากคํากลาวขางตน สรุปความไดตรงตามขอใด D 40. สามกกไมไดแฝงอิทธิปาฏิหาริยเกินความสามารถ ของสามัญชน จึงทําใหผูอานไดเห็นชีวิตของตัวละคร ทั้งหมดในลักษณะของคนจริงๆ ความรู ความคิด และ สติปญญาที่ไดจากการอานจึงเปนประโยชนตอการ ดําเนินชีวิตของผูอาน ขอความขางตนแสดงคุณคาของงานวรรณกรรมในดานใด เดนชัดที่สุด 1. คุณคาดานสังคม 2. คุณคาดานเนื้อหา 3. คุณคาดานวรรณศิลป 4. คุณคาดานการนําไปประยุกตใช 40. F โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
  • 7. โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล(7) 1. การศึกษาวรรณคดีมีแนวทางการศึกษาอยางไร (3 คะแนน) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. วรรณคดีเรื่องขุนชางขุนแผน ตอนขุนชางถวายฎีกา นักเรียนคิดวาตัวละครใดนาเห็นใจมากที่สุด เพราะเหตุใด (4 คะแนน) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. กวนอูไดรับฉายาวา เทพเจาผูซื่อสัตย นักเรียนเห็นดวยกับคํากลาวนี้หรือไม อธิบายใหชัดเจน (3 คะแนน) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹àµçÁ 10 ตอนที่ 2 ตอบคําถามใหถูกตอง จํานวน 3 ขอ 10 คะแนน โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
  • 8. โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล (8) 4. “วรรณคดีทั้งรอยแกวและรอยกรองลวนเกิดจาก ประสบการณและจินตนาการของมนุษยที่แสดงออก ทางภาษาในรูปแบบตางๆ และมีพัฒนาการมาโดย ลําดับตามความเจริญของมนุษยชาติ การเรียน วรรณคดีสงเสริมพัฒนาการทางความคิด อารมณ และ คุณธรรมไดอยางดียิ่ง ชวยใหผูเรียนมีโลกทัศนกวางขึ้น เขาใจตนเอง เพื่อนมนุษย และสังคมโดยสวนรวมดีขึ้น” ขอความขางตนไมไดกลาวถึงคุณคาในดานใดของวรรณคดี 1. คุณคาดานสังคม 2. คุณคาดานจริยธรรม 3. คุณคาดานสติปญญา 4. คุณคาดานวรรณศิลป 5. เพียนทองงามดั่งทอง ไมเหมือนนองหมตาดพราย ขอใดใชภาพพจนแตกตางจากบทประพันธขางตน 1. นาคาหนาดังเปน ดูเขมนเห็นขบขัน 2. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง 3. แกมชํ้าชํ้าใครตอง อันแกมนองชํ้าเพราะชม 4. งามทรงวงดั่งวาด งามมารยาทนาดกรกราย 6. ขอใดใชกลวิธีการประพันธตางจากขออื่น 1. ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบ 2. สนละเมียดเสียดยอดขึ้นกอดฟา 3. ดอกหญายิ้มหวานหวานกับลานหญา 4. แกวเอียงกลีบเคลียนํ้าคางอยางหงิมหงิม 4. E ขอใดใชภาพพจนแตกตางจากบทประพันธขางตน 5. ขอใดใชภาพพจนแตกตางจากบทประพันธขางตน C 1. ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบ 6. 1. ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบ1. ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบC 1. ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบ 1. ครองทิพยพิมาน บริวารอมรปวง ปองธรรมะบลวง ลุอํานาจอกุศล บทประพันธขางตน มีเนื้อหาสอดคลองกับบทประพันธ ในขอใด 1. ธรรมะเทวบุตร ผูพิสุทธิโสภา 2. ปางนั้นอธรรมะ เทวบุตรผูใจพาล 3. แตงองคก็ทรงลวน พัสตระดําทุกสิ่งอัน 4. ครองพวกบริวาร ลวนแตพาลประดุจกัน 2. วรรณกรรมขอใดตอไปนี้ใชคําประพันธประเภทรอยกรอง 1. โคลนติดลอ 2. ไตรภูมิพระรวง 3. พระบรมราโชวาท 4. ตําราแพทยศาสตรสงเคราะห 3. “การเกิดความเขาใจแจมแจงจนตระหนักในคุณคา ของวรรณคดีเรื่องหนึ่งวา เปนงานศิลปะพรอมเพียงใด มีขอเดน ขอดอย อยางไร มีขอคิดที่สัมพันธกับ ชีวิตจริงเพียงใด” ขอความขางตนถือเปนนิยามที่ตรงกับขอใด 1. การวิจักษวรรณคดี 2. การวิจารณวรรณคดี 3. การวิพากษวรรณคดี 4. การพิจารณาวรรณคดี ปองธรรมะบลวง ลุอํานาจอกุศล 1. ปองธรรมะบลวง ลุอํานาจอกุศลB ปองธรรมะบลวง ลุอํานาจอกุศลB ปองธรรมะบลวง ลุอํานาจอกุศล 2. วรรณกรรมขอใดตอไปนี้ใชคําประพันธประเภทรอยกรอง B 3. D ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹àµçÁ 40 ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน 2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา A B C D E F ชุดที่ 2 แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ภาคเร�ยนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹ÃÇÁ 50 ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล …………………………………………………………………………………………….. เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………. สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ……………………………………….. โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
  • 9. โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล(9) 7. บทประพันธในขอใดแสดงถึงวัฒนธรรมไทย 1. เรือมาหนามุงนํ้า แลนเฉื่อยฉํ่าลําระหง 2. คิดอนงคองคเอวอร ผมประบาอาเอี่ยมไร 3. เพราะลูกเตาเจากรรมทําแคนขัด จนวิบัติบานเมืองไดเคืองเข็ญ 4. ในดนตรีมีรักอันลึกซึ้ง รวมหัวใจเปนหนึ่งอยางแนนเหนียว 8. ขอใดสะทอนแนวคิดหลักของพระพุทธศาสนาชัดเจนที่สุด 1. นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย 2. อันวาความกรุณาปรานี จะมีใครบังคับก็หาไม 3. ยามบวชบมบุญไป นํ้าตาไหลเพราะอิ่มบุญ 4. ไมมีพรเทพพรมนุษย เปรียบประดุจความดีที่ทําเอง 9. นิจจาใจเจาจะใหพี่เจ็บจิต ดังเอากริชแกะกรีดในอกผัว เกรงผิดคิดบาปจึงหลาบกลัว พี่นี้ชั่วเพราะหมิ่นประมาทความ บทประพันธนี้มีคํายืมภาษาตางประเทศกี่คํา 1. 4 คํา 2. 5 คํา 3. 6 คํา 4. 7 คํา 10. ขอใดใชกลวิธีการประพันธโดยการเลนคํา 1. โอวาอนิจจาความรัก พึ่งประจักษดั่งสายนํ้าไหล 2. ในลักษณนั้นวานาประหลาด เปนเชื้อชาตินักรบกลั่นกลา 3. แลวสอนวาอยาไวใจมนุษย มันแสนสุดลึกลํ้าเหลือกําหนด 4. ทั้งจากที่จากคลองเปนสองขอ ยังจากกอนั้นก็ขึ้นในคลองขวาง 11. ขอใดกลาวถึงวรรณกรรมประเภทบันเทิงคดีถูกตองที่สุด 1. บันเทิงคดีมุงใหเกิดความสําเริงอารมณเทานั้น 2. บันเทิงคดีมิไดมุงใหความรูหรือความคิดเห็นใดๆ 3. บันเทิงคดีไมมีสาระในดานปรัชญา การเมือง หรือประวัติศาสตร 4. บันเทิงคดีจะตองมีเนื้อหากระทบอารมณผูอานจนทําให เกิดความสําเริงอารมณ 1. เรือมาหนามุงนํ้า 7. 1. เรือมาหนามุงนํ้า1. เรือมาหนามุงนํ้าD 1. เรือมาหนามุงนํ้า 1. นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย 8. 1. นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย1. นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรียD 1. นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย ดังเอากริชแกะกรีดในอกผัว 9. ดังเอากริชแกะกรีดในอกผัวD ดังเอากริชแกะกรีดในอกผัวD ดังเอากริชแกะกรีดในอกผัว 1. โอวาอนิจจาความรัก 10. 1. โอวาอนิจจาความรักD 1. โอวาอนิจจาความรักD 1. โอวาอนิจจาความรัก 11. B 12. “ในวรรณคดี กวียอมแสดงภูมิปญญาของตนออกมา เราจึงสามารถมองเห็นชีวิต ความเปนอยู คานิยม และจริยธรรมของคนในสังคมที่ผูประพันธจําลองไว ใหประจักษ” จากขอความขางตนคําวา “ภูมิปญญา” มีความหมาย ตรงกับขอใด 1. ลักษณะของสังคมที่เสนออยางตรงไปตรงมา 2. การแสดงภาพของชีวิตที่สัมพันธกับวัฒนธรรม 3. ภาพจําลองของชีวิตและการสงเสริมจริยธรรมของสังคม 4. ความรูทางดานขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดมา อยางยาวนาน 13. วีรกรรมใดของขุนแผนที่เชื่อวาเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นจริง 1. ยกทัพไปตีพมาแลวชนะศึก 2. ยกทัพไปตีลานชางแลวชนะศึก 3. ยกทัพไปตีเชียงใหมแลวชนะศึก 4. ยกทัพไปตีกาญจนบุรีแลวชนะศึก 14. บทประพันธในขอใดบรรยายลักษณะไดตรงกับชื่อตอน “ขุนชางถวายฎีกา” มากที่สุด 1. จะกลาวถึงพระองคผูทรงเดช เสด็จคืนนิเวศนพอจวนคํ่า 2. ฝพายรายเลมมาเต็มลํา เรือประจําแหนแหเซ็งแซมา 3. พอเรือพระที่นั่งประทับที่ ขุนชางก็รี่ลงตีนทา 4. ลอยคอชูหนังสือดื้อเขามา ผุดโผลโงหนายึดแคมเรือ 15. เมื่อขุนชางถวายฎีการองทุกข ผลของการตัดสินเปน อยางไร 1. ขุนชางแพความถูกปรับ 2. ขุนชางชนะความไดนางวันทองคืน 3. ขุนแผนชนะความไดนางวันทองคืน 4. พระพันวษาสั่งประหารชีวิตนางวันทอง 16. เหตุใดพระราชนิพนธเรื่องอิเหนาจึงมีบทบรรยายทั้งบท อาบนํ้าแตงตัว บทเดินทางชมปา และบทเกี้ยวพาราสี 1. เพราะเปนบทเสภา 2. เพราะเปนบทละครใน 3. เพราะเปนบทละครนอก 4. เพราะเปนบทพระราชนิพนธ 12. F 1. ยกทัพไปตีพมาแลวชนะศึก 13. วีรกรรมใดของขุนแผนที่เชื่อวาเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นจริง 1. ยกทัพไปตีพมาแลวชนะศึกB 1. ยกทัพไปตีพมาแลวชนะศึกB 1. ยกทัพไปตีพมาแลวชนะศึก 14. บทประพันธในขอใดบรรยายลักษณะไดตรงกับชื่อตอน C 15. D 16. เหตุใดพระราชนิพนธเรื่องอิเหนาจึงมีบทบรรยายทั้งบท C โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
  • 10. โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล (10) 17. ขอใดไมมีคําแสดงภาพพจนอุปมา 1. กองไฟสวางดังกลางวัน หมายสําคัญตรงมาหนาประตู 2. จับใจดังหัวใจจะพังพอง ขยับจองดาบงาอยากฆาฟน 3. ถาคิดเห็นเอ็นดูวาลูกเตา แมทูนเกลาไปเรือนอยาเชือนเฉย 4. มิควรทําเจาอยาทําใหรําคาญ อยาอาจหาญเหมือนพอนักคะนองใจ 18. บทประพันธในขอใดมีลักษณะเปนคําสั่ง 1. อาจองทะนงตัวไมกลัวภัย นี่พอใชฤๅวาเจามาเอง 2. ใสดาลบานชองกองไฟรอบ พอชางลอบเขามากระไรได 3. มีธุระสิ่งไรในใจเจา พอจงเลาแกแมแลวกลับบาน 4. เจามาไยปานนี้นี่ลูกอา เขารักษาอยูทุกแหงตําแหนงใน 19. บทประพันธในขอใดแสดงถึงความทุกขใจของตัวละครมาก ที่สุด 1. ใชจะอิ่มเอิบอาบดวยเงินทอง มิใชของตัวทํามาแตไหน ทั้งผูคนชางมาแลขาไท ไมรักใครเหมือนกับพอพลายงาม 2. ทุกวันนี้ใชแมจะผาสุก มีแตทุกขใจเจ็บดังเหน็บหนาม ตองจําจนทนกรรมที่ติดตาม จะขืนความคิดไปก็ใชที 3. ที่จริงใจถึงไปอยูเรือนอื่น คงคิดคืนที่หมอมเปนแมนมั่น ดวยรักลูกรักผัวยังพัวพัน คราวนั้นก็ไปอยูเพราะจําใจ 4. แคนคิดดวยมิตรไมรักเลย ยามมีที่เชยเฉยเสียได เสียงแรงรวมทุกขยากกันกลางไพร กินผลไมตางขาวทุกเพรางาย 20. บทประพันธในขอใดมีคําเลียนเสียงธรรมชาติ 1. ไดยินเสียงฆองยํ่าประจําวัง ลอยลมลองดังถึงเคหา 2. นํ้าคางตกกระเซ็นเย็นเยือกใจ สงัดเสียงคนใครไมพูดจา 3. มีแตหลับเพอละเมอฝน ทั้งไฟกองปองกันทุกแหงหน 4. เรณูฟูรอนขจรใจ ยางเทากาวไปไมโครมคราม 17. ข D 1. อาจองทะนงตัวไมกลัวภัย 18. 1. อาจองทะนงตัวไมกลัวภัย1. อาจองทะนงตัวไมกลัวภัยF 1. อาจองทะนงตัวไมกลัวภัย 19. F 1. ไดยินเสียงฆองยํ่าประจําวัง ลอยลมลองดังถึงเคหา 20. บทประพันธในขอใดมีคําเลียนเสียงธรรมชาติ 1. ไดยินเสียงฆองยํ่าประจําวัง ลอยลมลองดังถึงเคหา1. ไดยินเสียงฆองยํ่าประจําวัง ลอยลมลองดังถึงเคหาD 1. ไดยินเสียงฆองยํ่าประจําวัง ลอยลมลองดังถึงเคหา 21. คําที่ขีดเสนใตในขอใดไมมีความหมายกลาวถึงขุนชาง 1. วันนั้นแพกูเมื่อดํานํ้า ก็กริ้วซํ้าจะฆาใหเปนผี 2. มาอยูไยกับอายหินชาติ แสนอุบาทวใจจิตริษยา 3. ฝายพอมีบุญเปนขุนนาง แตแมไปแนบขางคนจัญไร 4. พรากใหพนคนอุบาทวชาติอัปรีย ยิ่งคิดยิ่งมีความโกรธา 22. วรรณคดีเรื่องขุนชางขุนแผน ตอนขุนชางถวายฎีกา ใหขอคิดในเรื่องใดชัดเจนที่สุด 1. การทําสิ่งใดอยาวูวามจะทําใหเกิดผลเสียได 2. การใชอํานาจในทางที่ผิดยอมทําลายชีวิตคนได 3. ผูหญิงไมวายุคใดสมัยใดมักเปนเพศที่เสียเปรียบ 4. การทําสิ่งใดควรตัดสินใจใหเด็ดขาดอยางมีเหตุผล 23. คํากลาวในขอใดที่ทําใหนางวันทองยอมไปกับพลายงาม 1. จะตัดเอาศีรษะของแมไป ทิ้งแตตัวไวใหอยูนี่ 2. เหมือนไมมีรักใครในลูกยา อุตสาหมารับแลวยังมิไป 3. แมนมิไปใหงามก็ตามใจ จะบาปกรรมอยางไรก็ตามที 4. เสียแรงเปนลูกผูชายไมอายเพื่อน จะพาแมไปเรือนใหจงได 24. สมเด็จพระพันวษาทรงกริ้วพลายงามเพราะเหตุใด 1. นี่มึงหนีมันมาฤๅวาไร ฤๅวาใครไปรับเอามึงมา 2. อีวันทองกูใหอายแผนไป อายชางบังอาจใจทําจูลู 3. ตกวากูหาเปนเจาชีวิตไม มึงถือใจวาเปนเจาที่โรงโขน 4. อายหมื่นไวยทําใจอหังการ ตกวาบานเมืองไมมีนาย 25. โจนลงกลางชานรานดอกไม ของขุนชางปลูกไวอยูดาษดื่น บทประพันธนี้ควรแกไขเรื่องเสียงวรรณยุกตอยางไร จึงจะ ทําใหบทประพันธมีความไพเราะยิ่งขึ้น 1. คําสุดทายของวรรคสดับควรเปนเสียงสามัญ 2. คําสุดทายของวรรคสดับควรเปนเสียงจัตวา 3. คําสุดทายของวรรครับควรเปนเสียงจัตวา 4. คําสุดทายของวรรครับควรเปนเสียงตรี 1. วัน 21. 1. วันD 1. วันD 1. วัน ใหขอคิดในเรื่องใดชัดเจนที่สุด 22. ใหขอคิดในเรื่องใดชัดเจนที่สุดใหขอคิดในเรื่องใดชัดเจนที่สุดF ใหขอคิดในเรื่องใดชัดเจนที่สุด 1. จะตัดเอาศีรษะของแมไป 23. 1. จะตัดเอาศีรษะของแมไป1. จะตัดเอาศีรษะของแมไปD 1. จะตัดเอาศีรษะของแมไป 24. สมเด็จพระพันวษาทรงกริ้วพลายงามเพราะเหตุใด 1. นี่มึงหนีมันมาฤๅวาไร 24. สมเด็จพระพันวษาทรงกริ้วพลายงามเพราะเหตุใด 1. นี่มึงหนีมันมาฤๅวาไร1. นี่มึงหนีมันมาฤๅวาไรD 1. นี่มึงหนีมันมาฤๅวาไร บทประพันธนี้ควรแกไขเรื่องเสียงวรรณยุกตอยางไร จึงจะ 25. บทประพันธนี้ควรแกไขเรื่องเสียงวรรณยุกตอยางไร จึงจะ E บทประพันธนี้ควรแกไขเรื่องเสียงวรรณยุกตอยางไร จึงจะ E บทประพันธนี้ควรแกไขเรื่องเสียงวรรณยุกตอยางไร จึงจะ โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
  • 11. โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล(11) 26. บทประพันธในขอใดมีคําที่ประสมดวยสระประสม มากที่สุด 1. กระดึงพรวนลวนสักหลาดทับ 2. ดาวประดับดวงเดนดูสลอน 3. สลักเสลาเกลาเกลี้ยงอรชร 4. เชือกใชไวซอนสลับกัน 27. แผนดินที่กลาวถึงในเรื่องสามกกอยูในรัชสมัยของกษัตริย พระองคใดและราชวงศใด 1. พระเจาเลนเต ราชวงศจิ๋น 2. พระเจาเลนเต ราชวงศหมิง 3. พระเจาเหี้ยนเต ราชวงศฮั่น 4. พระเจาเหี้ยนเต ราชวงศวุย 28. เรื่องสามกกเปนวรรณคดีที่มีลักษณะอยางไร 1. เปนเรื่องแปล 2. เปนเรื่องแตงขึ้นใหม 3. เปนเรื่องที่นํามาจากนิทานพื้นบานของจีน 4. เปนเรื่องที่แตงโดยนําเคาโครงมาจากวรรณคดีของจีน 29. “ถึงมาตรวาเปนทางกันดารจะตองขามมหาสมุทร แลลุยเพลิงก็ดี จะไปหาใหจงได” ขอความขางตนนี้สัมพันธกับตัวละครในขอใด 1. กวนอู-เลาป 2. กําฮูหยิน-เลาป 3. เตียวเลี้ยว-กวนอู 4. กวนอู-พระเจาเหี้ยนเต 30. ขอใดไมใชขอคิดที่ไดจากวรรณคดีเรื่องสามกก 1. ความซื่อสัตยเปนพื้นฐานของคุณธรรมอื่นๆ 2. การจงรักภักดีตอกษัตริย ทีี่แมแตชีวิตก็สละได 3. การรักษาวาจาสัตยจะทําใหผูอื่นเชื่อถือและศรัทธา 4. ความกตัญูตอผูมีพระคุณจะมีความสุขความเจริญ ในชีวิต 31. “ธรรมดาเกิดมาเปนชายใหรูจักที่หนักที่เบา ถาผูใดมิได รูจักที่หนักที่เบา คนทั้งปวงก็ลวงติเตียนวาผูนั้นหาสติ ปญญาไม” จากขอความขางตนคําที่ขีดเสนใตหมายถึงขอใด 1. บุญคุณ 2. ภารกิจ 3. กําลังรบ 4. อาวุโส มากที่สุด 26. บทประพันธในขอใดมีคําที่ประสมดวยสระประสม มากที่สุดมากที่สุดE มากที่สุด พระองคใดและราชวงศใด 27. แผนดินที่กลาวถึงในเรื่องสามกกอยูในรัชสมัยของกษัตริย พระองคใดและราชวงศใดพระองคใดและราชวงศใดB พระองคใดและราชวงศใด 1. เปนเรื่องแปล 28. 1. เปนเรื่องแปล1. เปนเรื่องแปลB 1. เปนเรื่องแปล แลลุยเพลิงก็ดี จะไปหาใหจงได” 29. แลลุยเพลิงก็ดี จะไปหาใหจงได”C แลลุยเพลิงก็ดี จะไปหาใหจงได”C แลลุยเพลิงก็ดี จะไปหาใหจงได” 1. ความซื่อสัตยเปนพื้นฐานของคุณธรรมอื่นๆ 30. 1. ความซื่อสัตยเปนพื้นฐานของคุณธรรมอื่นๆ1. ความซื่อสัตยเปนพื้นฐานของคุณธรรมอื่นๆF 1. ความซื่อสัตยเปนพื้นฐานของคุณธรรมอื่นๆ 31. B 32. เพราะเหตุใดกวนอูจึงตัดสินใจรับราชการกับโจโฉ 1. เพื่อเปนทหารเอกของโจโฉ 2. เพื่อเอาใจออกหางจากเลาป 3. เพื่อตอบแทนบุญคุณแลวจากไป 4. เพื่อแสดงความจงรักภักดีตอพระเจาเหี้ยนเต 33. ในเรื่องสามกก เหตุการณใดที่โจโฉมั่นใจวาตนไมสามารถ ผูกใจกวนอูได 1. กวนอูปฏิเสธไมยอมออกรบกับเลาป 2. กวนอูแสดงความดีใจที่โจโฉมอบมาเซ็กเธาวให 3. กวนอูเคารพและซื่อสัตยตอฮูหยินทั้งสองอยางสุจริตใจ 4. กวนอูสวมเสื้อตัวใหมที่โจโฉมอบใหไวขางใน และสวมเสื้อตัวเกาที่เลาปใหไวขางนอก 34. โจโฉจึงใหกวนอูกับภรรยาเลาปทั้งสองนั้นอยูเรือน เดียวกัน หวังจะใหกวนอูคิดทํารายพี่สะใภ นํ้าใจจะได แตกออกจากเลาปจะไดเปนสิทธิ์แกตัว จากเหตุการณขางตนแสดงใหเห็นวาโจโฉมีจุดมุงหมาย อยางไร 1. ตองการไดฮูหยินเปนของตน 2. ตองการใหกวนอูสวามิภักดิ์ตอตน 3. ตองการใหกวนอูคิดไมซื่อตอฮูหยิน 4. ตองการใหกวนอูประทุษรายฮูหยินเพื่อแกแคนเลาป 35. เรื่องสามกกฉบับเจาพระยาพระคลัง(หน) ไดรับยกยอง จากวรรณคดีสโมสรใหเปนยอดของวรรณคดีประเภท 1. เรื่องแปลจีน 2. ความเรียงนิทาน 3. ความเรียงตํานาน 4. ความเรียงเชิงอธิบายความ 36. เพราะเหตุใดโจโฉจึงตองการกวนอูมาเปนทหารของตน 1. กวนอูมีความซื่อสัตย 2. กวนอูมีความรูรอบดาน 3. กวนอูมีความกตัญูรูคุณ 4. กวนอูมีฝมือกลาหาญในการสงคราม 37. ขอใดมีความหมายตรงกับสํานวนไทยวา “ตัดไฟแตตนลม” 1. ลูกนกอันขนปกยังไมขึ้นพรอม 2. จะมาตีตัวตายกอนไขนั้นไมควร 3. อุปมาเหมือนหนึ่งลุยเพลิงอันสุก 4. อันความคิดของอวนเสี้ยวนั้นถาจะทําการสิ่งใดก็รวดเร็ว 1. เพื่อเปนทหารเอกของโจโฉ 32. เพราะเหตุใดกวนอูจึงตัดสินใจรับราชการกับโจโฉ 1. เพื่อเปนทหารเอกของโจโฉ1. เพื่อเปนทหารเอกของโจโฉC 1. เพื่อเปนทหารเอกของโจโฉ 33. ในเรื่องสามกก เหตุการณใดที่โจโฉมั่นใจวาตนไมสามารถ D 34. E 35. เรื่องสามกกฉบับเจาพระยาพระคลัง(หน) ไดรับยกยอง B 1. กวนอูมีความซื่อสัตย 36. เพราะเหตุใดโจโฉจึงตองการกวนอูมาเปนทหารของตน 1. กวนอูมีความซื่อสัตย1. กวนอูมีความซื่อสัตยC 1. กวนอูมีความซื่อสัตย 37. ขอใดมีความหมายตรงกับสํานวนไทยวา D โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
  • 12. โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล (12) 38. ขอใดไมเกี่ยวกับเนื้อหาเรื่องสามกก 1. การปกครองบานเมือง 2. การสูรบโดยมีหญิงสาวเปนชนวน 3. การแยงอํานาจของผูปกครองบานเมือง 4. การใชกลอุบายทางการเมืองและการสงคราม 39. วรรณคดีเรื่องสามกกมีประโยชนตอการบริหารบานเมือง อยางไร 1. การรูจักใชคน 2. การปกครองบานเมือง 3. การใชกลยุทธและไหวพริบทางการทหาร 4. การบริหารบุคคลทั้งทางทหารและทางการเมือง 1. การปกครองบานเมือง 38. 1. การปกครองบานเมืองD 1. การปกครองบานเมืองD 1. การปกครองบานเมือง 39. วรรณคดีเรื่องสามกกมีประโยชนตอการบริหารบานเมือง E 40. จากวรรณคดีเรื่องสามกกชื่อตัวละครในขอใดมีจํานวน พยางคที่มีเสียงวรรณยุกตตรงกับรูปวรรณยุกตมากที่สุด 1. เตียวหุย ลิโป 2. กวนอู เตียวหุย 3. เลาป เตียวเลี้ยว 4. โจโฉ บิฮูหยิน พยางคที่มีเสียงวรรณยุกตตรงกับรูปวรรณยุกตมากที่สุด 40. จากวรรณคดีเรื่องสามกกชื่อตัวละครในขอใดมีจํานวน พยางคที่มีเสียงวรรณยุกตตรงกับรูปวรรณยุกตมากที่สุดพยางคที่มีเสียงวรรณยุกตตรงกับรูปวรรณยุกตมากที่สุดE พยางคที่มีเสียงวรรณยุกตตรงกับรูปวรรณยุกตมากที่สุด โครงการบูรณาการแบบทดสอบ