SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
การสร้ างและหาประสิ ทธิภาพชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL
              The Construction and of Finding the Efficiency Digital Circuit Experimental Set
                                        by CPLD No. XC9572XL

                                                      ศิริวรรณ คําภักดี1* ปิ ยะนัฐ ใจตรง2
                                                          1
                                                           วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บานครู
                                                                                  ้
                                                               2
                                                                มหาวิทยาลัยธนบุรี
                                                        mail: kampagdee3@gmail.com*


บทคัดย่ อ
         การวิจยครั6งนี6เป็ นการวิจยเชิงทดลอง เพื<อสร้างและหาประสิ ทธิภาพชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL สําหรับ
               ั                   ั
วิชาดิจิตอลเทคนิค รหัสวิชา 3105-1004 สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานเทคนิ คคอมพิวเตอร์ หลักสู ตรประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั6นสู ง
พ.ศ. 2546 ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิ การ โดยเริ< มตั6งแต่ศึกษาเอกสาร ตํารา งานวิจยที<เกี<ยวข้อง จากนั6น
                                                                                                                     ั
ทําการวิเคราะห์เนื6อหา และหลักสู ตรรายวิชา กําหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม กําหนดกลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ซึ< งเป็ นนักศึกษา
ระดับประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั6นสู ง ชั6นปี ที< 1 สาขาวิชาเทคนิ คคอมพิวเตอร์ ที<ลงทะเบียนเรี ยนในวิชาดิจิตอลเทคนิ ค (3105-1004) ในภาค
การศึกษาที< 2 ปี 2554 จํานวน 50 คน ชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ประกอบไปด้วย 4 ส่ วนคือ 1. บอร์ ดทดลอง
ดิจิตอล CPLD เบอร์ XC9572XL 2. ใบงานประกอบการทดลองจํานวน 6 บท 3. แบบทดสอบระหว่างการทดลอง และ 4. แบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิVทางการเรี ยน การหาคุณภาพของชุดทดลองได้นาส่วนที<เป็ นบอร์ดทดลองดิจิตอล และใบงานประกอบการทดลองส่ งให้อาจารย์
                                                           ํ
ที<ปรึ กษาและผูเ้ ชี<ยวชาญ จํานวน 4 ท่าน ประเมินหาค่าความเหมาะสม ผลการวิเคราะห์มีค่าเฉลี<ยเท่ากับ 4.01 หมายถึง ความเหมาะสมอยูใน            ่
ระดับดี สามารถนําไปใช้ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างได้ ถัดมาเป็ นการวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ ในส่ วนของแบบทดสอบระหว่าง
การทดลอง และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิV โดยนําแบบทดสอบส่ งให้อาจารย์ที<ปรึ กษาและผูเ้ ชี< ยวชาญตรวจสอบเพื<อประเมินหาค่าดัชนี
ความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์เชิ งพฤติกรรมกับข้อสอบ (IOC) ผลการวิเคราะห์ค่าอยู่ในระหว่าง 0.75-1 มากกว่าเกณฑ์ 0.5 ซึ< ง
หมายถึง ข้อสอบกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมสอดคล้องกัน จากนั6นทําการวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (Difficulty) และ ค่าอํานาจจําแนก
(Discrimination) ของแบบทดสอบ ซึ< งเป็ นคุ ณ สมบัติ ข องข้อ สอบที< มี คุ ณ ภาพ โดยนํา แบบทดสอบไปทดสอบกับ นัก ศึ ก ษาระดับ
ประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั6นสู ง สาขาเทคนิ คคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บานครู ที<ผ่านการเรี ยนวิชาดิจิตอลเทคนิ ค จํานวน 20 คน
                                                                                 ้
ผลการวิเคราะห์สรุ ปได้วา ค่าความยากง่ายมีค่าระหว่าง 0.5-0.8 ซึ< งอยูในเกณฑ์ 0.20-0.80 ค่าอํานาจจําแนก มีค่าระหว่าง 0.2-0.6 อยูใน
                             ่                                        ่                                                                  ่
เกณฑ์ 0.20 ดังนั6นจึงสรุ ปได้วา ชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL สามารถนําไปใช้ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างได้
                                ่
         ผลการวิจยพบว่า ประสิ ทธิ ภาพของชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<สร้างขึ6น วิเคราะห์จากคะแนนเฉลี<ย
                     ั
รวมของแบบทดสอบระหว่างการทดลอง และ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิV ทางการเรี ยน มีค่าเท่ากับ 81.05/80.50 ซึ< งสู งกว่าเกณฑ์ที<กาหนด            ํ
80/80 และเมื<อวิเคราะห์ผลสัมฤทธิVทางการเรี ยนด้วยสถิติที (t-test) พบว่าชุดทดลองที<สร้างขึ6นทําให้ผูเ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิV ทางการเรี ยนสู งกว่า
ก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที<ระดับ 0.01
                       ั

คําสําคัญ : CPLD / บอร์ดทดลองดิจิตอล CPLD เบอร์ XC9572XL / วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บานครู
                                                                                 ้
Abstract
        The research was aimed to construct and find the efficiency of Digital Circuit Experimental Set by CPLD XC9572XL from the
texts of relevant research. The sample are students the first year diploma courses in computer technology. Enrolled in Digital code
3105-1004 of the second semester of the academic year 2011, which included a total of 50 people. Digital Circuit Experimental set have
four parts. Board the number of digital CPLD XC9572XL, The assembly was 6 episode, An experimental test with answers and Model
achievement test with answers. The trial has been an advisor and expert monitoring. Analysis of the average scores of the experimental
tests and achievement tests were 81.05/80.50, higher than the set of 80/80 on the test scores from pretest and after posttest were compared
with the average t (t-test).

Keyword : CPLD / Digital Circuit Experimental Set by CPLD No. XC9572XL / Mubankru Technology College

1. บทนํา
         บทความนี6จะนําเสนอการสร้างและหาประสิ ทธิภาพของชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<สร้างขึ6น โดยการ
วิเคราะห์จากคะแนนเฉลี< ยรวมของแบบทดสอบระหว่างการทดลอง และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิV ที< กาหนด 80/80 และนําคะแนน
                                                                                                    ํ
แบบทดสอบก่อนเรี ยน (Pretest) และหลังเรี ยน (Posttest) มาวิเคราะห์เปรี ยบเทียบคะแนนเฉลี<ยด้วยสถิติที (t-test) หาผลสัมฤทธิV ทางการ
เรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยสําคัญที<ระดับ 0.01
                                ั

2. วัตถุประสงค์ การวิจัย
       เพื<อสร้างและหาประสิ ทธิ ภาพชุดทดลองวงจรดิ จิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL สําหรับวิชาดิ จิตอลเทคนิ ค (3105-1004)
สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ หลักสู ตรประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั6นสู ง พ.ศ.2546 ของสํานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

3. สมมติฐานการวิจัย
       ชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<ผวจยสร้างขึ6น สามารถใช้ในการเรี ยนการสอนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
                                                         ู้ ิ ั
เกณฑ์ 80/80

4. ขอบเขตการวิจัย
       การสร้างและหาประสิ ทธิชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<สร้างขึ6นโดยอิงเนื6อหาในรายวิชาดิจิตอลเทคนิค
รหัสวิชา 3105-1004 สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิ กส์ สาขางานเทคนิ คคอมพิวเตอร์ หลักสู ตรประกาศนี ยบัตรวิชาชี พชั6นสู ง ของสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เพื<อใช้ในการเรี ยนการสอนประกอบไปด้วย
       4.1 ชุดทดลอง
              4.1.1 บอร์ดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<สร้างขึ6น
              4.1.2 ใบงานประกอบการทดลอง เพื<อใช้ประกอบการเรี ยนโดยอิงเนื6อหาหลักสูตรรายวิชาดิจิตอลเทคนิค (3105-1004)
              4.1.3 แบบทดสอบระหว่างการทดลอง
              4.1.4 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิVทางการเรี ยน
4.2 กลุ่มประชากร
                 นักศึกษาสาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั6นสูง
                 4.2.1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั6นสูง ชั6นปี ที< 1 สาขางานเทคนิ คคอมพิวเตอร์ ที<ลงทะเบียน
เรี ยนวิชาดิจิตอลเทคนิค (3105-1004) ประจําภาคเรี ยนที< 2 ปี การศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บานครู จํานวน 50 คน ซึ< งผูวิจยใช้วิธี
                                                                                                        ้                       ้ ั
เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
         4.3 ตัวแปร
                 4.3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ ชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL
                 4.3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่
                        1. ประสิ ทธิภาพชุดทดลองวงจรดิจิตอล
                        2. ผลสัมฤทธิVทางการเรี ยนของนักศึกษา

5. ประโยชน์ ทได้ รับจากงานวิจัย
             ีR
      5.1 ได้ชุดทดลองที< มีประสิ ทธิ ภาพ ในการเรี ยนการสอนวิชาดิจิตอลเทคนิ ค หลักสู ตรประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั6นสู ง พุทธศักราช
2546 สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ สาขาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
      5.2 เป็ นแนวทางในการจัดสร้าง และพัฒนาชุดทดลองระดับอุดมศึกษา ในลักษณะอื<นๆ ซึ<งเป็ นการส่งเสริ มและพัฒนานวัตกรรมสื< อ
ทางการศึกษา อันนํามาใช้ในการเรี ยนการสอนให้เกิดประโยชน์เพิ<มมากขึ6นต่อไป

6. กระบวนการดําเนินการวิจัย

                                                                เริ< มต้น


                                                  ศึกษาเนื6อหารายวิชา/กําหนด
                                                   วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม




                                                         ให้ประเมินโดย                       ่
                                                                                         ไม่ผาน
                                                                                                      แก้ไขปรับปรุ ง
                                                           ผูเ้ ชี<ยวชาญ

                                                         ผ่าน

                                                                   ก


                                            รู ปที< 1 แสดงขั6นตอนการสร้างเครื< องมือที<ใช้ในการวิจย
                                                                                                  ั
ก


                                                  ออกแบบชุดทดลอง/ใบทดลอง




                                                           ให้ประเมินโดย                        ่
                                                                                            ไม่ผาน
                                                             ผูเ้ ชี<ยวชาญ                               แก้ไขปรับปรุ ง


                                                             ผ่าน
                                                    สร้างชุดทดลอง/ทดลองใช้




                                                           ให้ประเมินโดย                        ่
                                                                                            ไม่ผาน
                                                                                                         แก้ไขปรับปรุ ง
                                                             ผูเ้ ชี<ยวชาญ

                                                            ผ่าน

                                                  นําไปใช้งานจริ ง/วิเคราะห์ขอมูล
                                                                             ้



                                                                    จบ


                                          รู ปที< 1(ต่อ) แสดงขั6นตอนการสร้างเครื< องมือที<ใช้ในการวิจย
                                                                                                     ั


       ผูวจยได้ศึกษาข้อมูลเกี<ยวกับการวิจยโดยศึกษาเนื6อหา และวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา วิเคราะห์เนื6อหา และทําการสร้างเครื< องมือ ซึ<ง
          ้ิั                             ั
มีกระบวนการดําเนินการวิจย ดังแสดงรายละเอียดดังรู ปที< 1 (ศิริวรรณ, 2549)
                            ั
       6.1 ศึกษารายละเอียดหลักสูตรรายวิชาดิจิตอลเทคนิค รหัสวิชา 3105-1004 สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ หลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั6นสูง ในส่วนของคําอธิบายรายวิชา จะได้ส่วนของเนื6อหาหัวข้อเรื< องและเรื< องย่อย(หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั6นสูง,2546)
       6.2 วิเคราะห์เนื6 อหาโดยเนื6 อหาจะต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์ของหลักสู ตรรายวิชาดิจิตอลเทคนิ ค รหัสวิชา 3105-1004 รวมทั6ง
การนําเอาความรู ้และทักษะไปใช้งาน การวิเคราะห์สามารถรวบรวมหัวเรื< องได้ท6 งหมด 13 หัวเรื< องตลอดหลักสูตร โดยผูวจยเลือก 6 หัวเรื< อง
                                                                            ั                                    ้ิั
เพื<อสะดวกในการวิจย ดังนี6
                     ั
                6.2.1 การลดรู ปบูลีนฟังก์ชน ั<
                6.2.2 การประยุกต์วงจรโลจิกเกท
6.2.3 วงจร Adder
                    6.2.4 วงจร Encoder
                    6.2.5 วงจร Decoder
                    6.2.6 วงจร Multiplex and Demultiplex
           6.3 ตรวจสอบโดยผูสอนและผูเ้ ชี< ยวชาญ เมื< อกําหนดหัวข้อเรื< องและเนื6 อหาในแต่ละหัวข้อแล้ว ก็นําไปให้อาจารย์ผูสอนและ
                                 ้                                                                                           ้
ผูเ้ ชี<ยวชาญพิจารณาความเหมาะสมเพื<อปรับปรุ งและแก้ไขให้เหมาะสม
           6.4 กําหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื<อได้รายละเอียดเนื6 อหาที<ผ่านการพิจารณาจากผูเ้ ชี<ยวชาญแล้ว ทําการเขียนวัตถุประสงค์
เชิงพฤติกรรม โดยพิจารณาว่าต้องการให้ผเู ้ รี ยนเปลี<ยนแปลงพฤติกรรมหลังจากผ่านการทดลองแล้วอย่างไรบ้าง
           6.5 ออกแบบใบทดลอง เมื<อกําหนดหัวข้อ และกําหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ต่อไปก็เป็ นขบวนการออกแบบใบทดลอง และ
บอร์ดทดลอง โดยใบทดลองจะประกอบด้วย หัวข้อเรื< องการทดลอง บทนํา(เนื6 อหาโดยสรุ ป) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม วงจรที<จะทําการ
ทดลอง ลําดับขั6นการทดลอง ตารางบันทึ กค่าผลการทดลอง และสรุ ปผลการทดลอง นําไปให้ผูเ้ ชี< ยวชาญตรวจสอบ เพื<อปรับปรุ งแก้ไข
ต่อไป (ขรรค์ชย, 2543)
                  ั
           6.6 ออกแบบบอร์ ดทดลอง จากคุณสมบัติของชิพ CPLD XC9572 (Xilinx, 2006) ซึ< งรายละเอียดคุณสมบัติของชิพ CPLD เบอร์
XC9572 แสดงดังรู ปที< 2 ถือว่าเป็ นไอซีที<มีจานวนเกทภายในมากพอสมควรสามารถนําไปออกแบบวงจรรวมที<มีความซับซ้อนได้ในระดับ
                                              ํ
หนึ<ง โดยคุณสมบัติต่างๆ ทัวไปมีหลักการออกแบบบอร์ดทดลองออกเป็ นส่วนๆ (เจริ ญ และคณะ, 2547) ดังนี6คือ
                               <




                                       รู ปที< 2 แสดงรายละเอียดคุณสมบัติของชิ พ CPLD เบอร์ XC9572


               6.6.1 ส่วนแสดงผล แบ่งออกเป็ น 3 ส่วนคือ
                      1. ส่วนแสดงผลด้วย LED
                      2. ส่วนแสดงผลด้วย เซเวนเซกเมนต์(7-Segment)
                      3. ส่วนแสดงผลด้วยอุปกรณ์ออด(Buzzer)
               6.6.2 อุปกรณ์ Port ต่อสายสัญญาณ
               6.6.3 อุปกรณ์สาย JTAG Connector
               6.6.4 อุปกรณ์ดานอินพุทของชุดทดลอง
                              ้
               6.6.5 ภาคจ่ายไฟของบอร์ดทดลอง
               6.6.6 ส่วนของตําแหน่งขาที<ต่ออยูกบอุปกรณ์ภายนอกชุดทดลอง จากคุณสมบัติและหลักการทํางานผูใช้สามารถโปรแกรม
                                               ่ ั                                                     ้
วงจรดิจิตอลต่างๆ ลงบอร์ดทดลองได้อย่างง่ายๆ โดยทําการต่อสาย JTAG และต่อสาย Adaptor 9 V หลังจากนั6นจึงทําการ Download วงจร
ที<ตองการลงสู่ชิพ CPLD ซึ< งในขั6นตอนก่อนการโปรแกรมวงจรลงชิพจะต้องมีการกําหนดตําแหน่งขาที<ต่ออยูกบฮาร์ ดแวร์ ภายนอกบนชุด
    ้                                                                                           ่ ั
ทดลองเสี ยก่อนซึ<งแสดงในตารางที< 1 และ เมื<อทําการออกแบบบอร์ดทดลองจะได้วงจรดังแสดงในรู ปที< 3
ตารางที< 1 แสดงตําแหน่งขาที<ต่ออยูกบอุปกรณ์ภายนอกชุดทดลอง
                                  ่ ั
          LED                      7-Segment                   DIP Sw.         Push Button SW.      BCD Switch
    I/O      Pin No.             I/O Pin No.                I/O Pin NO.         I/O     Pin NO.   I/O    Pin NO.
    L1         P14                A       P2                 A       P36       SW1        P34      1       P27
    L2         P18                B       P3                 B       P37       SW2        P35      2       P28
    L3         P19                C       P4                 C       P38       SW3        P36      4       P29
    L4         P20                D       P8                 D       P39       SW4        P37      8       P33
    L5         P22                E       P9                 E       P40             Misc         P18      P14
    L6         P24                F       P11                F       P42        I/O     Pin NO.    00    Digital 1
    L7         P25                G       P12                G       P43      Buzzer       P1      01    Digital 2
    L8         P26                db      P13                H       P44       OSC         P5      10    Digital 3
                                                                                                   11    Digital 4




                                        รู ปที< 4 แสดงการออกแบบวงบอร์ดทดลอง CPLD XC9572

                                           รู ปที< 3 แสดงการออกแบบวงจรบอร์ ดทดลอง CPLD XC9572


        6.7 สร้าง/ทดลองใช้ ทําการสร้างชุดทดลอง และใบทดลองตามที<ได้ออกแบบมาแล้วเมื<อสร้างเสร็ จผูวิจยนําชุดทดลองที< ผ่านการ
                                                                                                     ้ ั
                       ั          ่
ปรับปรุ งไปทดลองใช้กบนักศึกษาที<ผานการเรี ยนวิชาดิจิตอลเทคนิค (3105-1004) จํานวน 20 คน เพื<อศึกษาข้อบกพร่ องของชุดทดลองและ
ใบทดลอง รวมถึงด้านเวลาที<ใช้ในการทดลอง และนําไปให้ผเู ้ ชี<ยวชาญประเมินความคิดเห็น เพื<อนําข้อมูลทั6งหมดมาปรับปรุ งชุดทดลอง
ซึ<งมีผลดังรายละเอียดดังนี6
6.7.1 หาคุณภาพของแบบทดสอบ
                     1. ค่าความยากง่ายของแบบทดสอบ มีค่าอยูระหว่าง 0.5-0.8 อยูในเกณฑ์ 0.20-0.80
                                                           ่                    ่
                     2. ค่าอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ มีค่าอยูระหว่าง 0.2-0.6 อยูในเกณฑ์ 0.20
                                                             ่                    ่
                     3. ค่าความเชื<อมันของแบบทดสอบในการวิจยครั6งนี6มีค่าเท่ากับ 0.92
                                      <                        ั
              6.7.2 การประเมิ นความเหมาะสมของชุ ดทดลองวงจรดิ จิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL จากผูเ้ ชี< ยวชาญที< มี
ประสบการณ์ในด้านการสอนหรื อมีประสบการณ์ทางด้านการวัดผล และประเมินผล จํานวนทั6งสิ6 น 4 ท่าน ปรากฏว่าระดับความเหมาะสม
ตามความคิดเห็นของผูเ้ ชี<ยวชาญมีค่าเฉลี<ย X = 4.01 อยูในระดับดี (ล้วน และคณะ, 2541) ดังนั6นความเหมาะสมของชุดทดลองวงจร
                                                      ่
ดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL จึงมีความเหมาะสมสามารถนําไปใช้ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างได้ บอร์ ดทดลองที<สมบูรณ์ ดังแสดง
ตามรู ปที< 4




                                           รู ปที< 4 แสดงบอร์ ดทดลอง CPLD XC9572 ที<สมบูรณ์


        6.8 นําชุดทดลองไปใช้จริ ง เมื<อทําการแก้ไขปรับปรุ งชุดทดลองเรี ยบร้อยแล้ว นําชุดทดลองที<มีความสมบูรณ์ มีเนื6อหาที<ถูกต้องที<
เหมาะสม ไปใช้กบกลุ่มตัวอย่าง ซึ<งเป็ นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั6นสูงชั6นปี ที< 1 สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ที<ลงทะเบียน
                  ั
เรี ยนในวิชาดิจิตอลเทคนิค รหัสวิชา 3105-1004 ในภาคเรี ยนที< 2 ปี การศึกษา 2554 จํานวน 50 คน และทําการวิเคราะห์เพื<อทดสอบ
ประสิ ทธิภาพชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL และการหาผลสัมฤทธิVทางการเรี ยนในลําดับต่อไป

7. ทดสอบชุ ดทดลองวงจรดิจิตอล
         นําชุดทดลองที<มีความสมบูรณ์ มีเนื6อหาที<ถูกต้องเหมาะสมไปใช้กบกลุ่มตัวอย่าง ซึ<งมีลาดับดังนี6
                                                                       ั                   ํ
         7.1 ก่อนการเริ< มใช้ชุดทดลองให้นกศึกษาทําแบบทดสอบซึ<งเป็ นแบบทดสอบก่อนเรี ยน
                                           ั
         7.2 ปฐมนิเทศนักศึกษากลุ่มตัวอย่างก่อนเริ< มใช้ชุดทดลอง โดยผูสอนได้ช6 ีแจงวัตถุประสงค์และวิธีการใช้ชุดทดลองให้กบนักศึกษา
                                                                     ้                                                 ั
กลุ่มตัวอย่างทราบ
                                                                                                  ํ
         7.3 ดําเนินการทดลองโดยให้นกศึกษาทดลองตามขั6นตอน และวิธีการตามแผนการสอนที<ได้กาหนดไว้ เมื<อทดลองจบแต่ละหัวเรื< อง
                                        ั
ก็ให้ทาแบบทดสอบระหว่างการทดลองและเมื<อเรี ยนจบทุกหัวเรื< อง จึงทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิV ในการเรี ยนจะเรี ยนสัปดาห์ละ 1 วันๆ
       ํ
ละ 4 คาบ (160 นาที) จํานวน 6 สัปดาห์
         7.4 เก็บข้อมูล เพื<อนําไปสรุ ปผลการวิจย
                                               ั
                 7.4.1 รวบรวมคะแนนที<ได้จากแบบทดสอบก่อนเรี ยน
7.4.2 รวมรวมคะแนนที<ได้จากแบบทดสอบระหว่างการทดลองแต่ละบทของชุดทดลองวงจรดิจิตอล
               7.4.3 รวมรวมคะแนนที<ได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิVทางการเรี ยน เมื<อได้ครบแล้วผูวจยได้นาไปวิเคราะห์ตามขั6นตอน
                                                                                            ้ิั    ํ
                      1. การหาประสิ ทธิภาพชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL
                      2. การวิเคราะห์หาผลสัมฤทธิVทางการเรี ยนของกลุ่มตัวอย่าง

8. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
       8.1 ทดสอบประสิทธิภาพชุดทดลองวงจรดิจตอล
                                          ิ
       การวิเคราะห์คะแนนแบบทดสอบระหว่างการทดลอง เพื<อศึกษาผลสัมฤทธิV ทางการเรี ยน หลังจากใช้ชุดทดลองจบในบทนั6นๆ โดย
การนําคะแนนจากการทําแบบทดสอบมาหาค่าเฉลี<ย แล้วคิดเป็ นค่าร้อยละ ซึ<งผลการวิเคราะห์ดงตารางที< 2
                                                                                   ั

ตารางที< 2 แสดงผลคะแนนของแบบทดสอบระหว่างการทดลอง

   ใบทดลองบทที<          คะแนนสอบจากแบบทดสอบระหว่างการทดลอง                X1                ร้อยละ
        1                                4.96                                                 82.67
        2                                6.54                                                 81.75
        3                                4.82                                                 80.33
        4                                4.84                                                 80.67
        5                                4.88                                                 81.33
        6                                6.38                                                 79.75
       รวม                               32.42                                                81.05

       จากตารางที< 2 แสดงให้เ ห็ น ว่า กลุ่ม ตัว อย่า งทําแบบทดสอบระหว่า งการทดลองได้ถูก ต้อ ง โดยมี ค่ า คะแนนที< มี ค่ า สู ง สุ ด คื อ
แบบทดสอบระหว่างการทดลองบทที< 1 มีค่าเฉลี<ยร้อยละเท่ากับ 82.67 ซึ< งเป็ นเนื6 อหาพื6นฐานเดิมที<นกศึกษามีความรู ้มาบ้างแล้ว รองลงมา
                                                                                                 ั
คือแบบทดสอบระหว่างการทดลองบทที< 2 มีค่าเฉลี<ยร้อยละเท่ากับ 81.75 รองลงมา คือแบบทดสอบระหว่างการทดลองบทที< 5 มีค่าเฉลี<ย
ร้อยละเท่ากับ 81.33 รองลงมา คือแบบทดสอบระหว่างการทดลองบทที< 4 มีค่าเฉลี<ยร้อยละเท่ากับ 80.67 รองลงมา คือแบบทดสอบ
ระหว่างการทดลองบทที< 3 มีค่าเฉลี<ยร้อยละเท่ากับ 80.33 ซึ<งมีค่ามากกว่าเกณฑ์ที<ได้ต6 งไว้คือ 80 และตํ<าสุดได้แก่แบบทดสอบระหว่างการ
                                                                                    ั
ทดลองบทที< 6 มีค่าเฉลี<ยร้อยละเท่ากับ 79.75 ซึ<งมีค่าใกล้เคียงกับเกณฑ์

ตารางที< 3 แสดงผลการทดสอบประสิ ทธิ ภาพของชุดทดลอง
                     รายการ                                           N          X             ร้อยละ
 คะแนนจากการทําแบบทดสอบระหว่างการทดลอง (E1)                           50        32.42           81.05
 คะแนนจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิV (E2)                             50        32.20           80.50

       จากตารางที< 3 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างทําข้อสอบในแบบทดสอบระหว่างการทดลองได้ถูกต้อง เฉลี<ยร้อยละ 81.05 สู งกว่า
เกณฑ์ 80 ตัวแรกที<กาหนดไว้ และทําข้อสอบในแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิVได้ถูกต้องเฉลี<ย 80.50 สูงกว่าเกณฑ์ 80 ตัวหลังที<กาหนดไว้ ซึ< ง
                    ํ                                                                                             ํ
แสดงว่า ชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<ผวจยสร้างขึ6นมีประสิ ทธิภาพเท่ากับ 81.05/80.50 สู งกว่าเกณฑ์ 80/80 ที<
                                                            ู้ ิ ั
กําหนดไว้ มีประสิ ทธิภาพสอดคล้องกับสมมติฐานที<ต6 งไว้
                                                 ั
8.2 วิเคราะห์ หาผลสัมฤทธิYทางการเรียน
         ก่อนการเรี ยนการสอนด้วยชุดทดลอง ผูวิจยได้ให้นักศึ กษากลุ่มตัวอย่างทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน (Pretest) และ หลังจากกลุ่ม
                                               ้ ั
ตัวอย่างได้ศึกษาเนื6 อหาทั6งหมดแล้ว ได้ให้ทาแบบทดสอบหลังเรี ยน (Posttest) นําผลของคะแนนทดสอบก่อนเรี ยนและคะแนนทดสอบ
                                            ํ
หลังเรี ยนไปวิเคราะห์ขอมูล หาผลสัมฤทธิVทางการเรี ยน โดยการเปรี ยบเทียบค่าเฉลี<ยด้วยสถิติที (t-test) ผลการวิเคราะห์ขอมูลแสดงดังตาราง
                         ้                                                                                         ้
ที< 4

ตารางที< 4 แสดงผลสัมฤทธิV ทางการเรี ยน
              การทดสอบ                     N           X          ∑D           ∑D
                                                                                     2
                                                                                                  t
  คะแนนแบบทดสอบก่อนเรี ยน                50          10.52
                                                                  1,084        24,040         46.22**
  คะแนนแบบทดสอบหลังเรี ยน                50          32.20
**
   มีนยสําคัญทางสถิติที<ระดับ 0.01(ตาราง
      ั

         จากตารางที< 4 พบว่านักศึกษากลุ่มตัวอย่าง จํานวน 50 คน ทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน และแบบทดสอบหลังเรี ยน เพื<อวิเคราะห์หา
ผลสัมฤทธิVทางการเรี ยน ผลการวิเคราะห์สังเกตได้วา คะแนนแบบทดสอบก่อนเรี ยนมีค่าเฉลี<ยเท่ากับ 10.52 น้อยกว่าคะแนนแบบทดสอบ
                                                       ่
หลังเรี ยนที<มีค่าเฉลี<ยเท่ากับ 32.20 และ เมื<อวิเคราะห์ใช้สถิติที (t-test) พบว่า ค่าเฉลี<ยของคะแนนแบบทดสอบหลังเรี ยนสูงกว่าแบบทดสอบ
                    ั                                                                          ่
ก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที<ระดับ 0.01 (ล้วน และคณะ, 2541) ดังนั6นจึงสรุ ปได้วา หลังจากที<นกศึกษาได้เรี ยนด้วยชุดทดลองวงจร
                                                                                                       ั
ดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL นี6แล้ว นักศึกษามีความรู ้วชาดิจิตอลเทคนิคเพิ<มขึ6น
                                                                       ิ

9. สรุ ปผลการวิจัย
       ผลการวิจัย พบว่า ชุ ด ทดลองวงจรดิ จิ ต อลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที< ผูวิจัย สร้ า งขึ6 น ได้ผ ลดัง นี6 ผลการวิเ คราะห์ ห า
                                                                                           ้
ประสิ ทธิภาพของชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL เมื<อพิจารณาผลการวิจยของกลุ่มตัวอย่าง ปรากฏว่าประสิ ทธิ ภาพ
                                                                                              ั
ของชุดทดลองวงจรที<สร้างโดยการวิเคราะห์จากคะแนนเฉลี<ยรวมของแบบทดสอบระหว่างการทดลอง และ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิV
ทางการเรี ยนมีประสิ ทธิภาพ มีค่าเท่ากับ 81.05/80.50 ซึ<งสูงกว่าเกณฑ์ที<กาหนด 80/80 และเมื<อนําคะแนนจากการทดสอบก่อนเรี ยน (Pretest)
                                                                        ํ
และ หลังเรี ยน (Posttest) มาวิเคราะห์เปรี ยบเทียบคะแนนเฉลี<ยด้วยสถิติที (t-test) พบว่าชุดทดลองที<สร้างขึ6น ทําให้ผูเ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิV
ทางการเรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที<ระดับ 0.01
                                      ั
       ผลจากการประเมินความเหมาะสมของชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL โดยผูเ้ ชี<ยวชาญด้านการสอนหรื อ
                                                                                                                   ่
ด้านสาขางานอิเล็กทรอนิกส์ จํานวน 4 ท่าน ปรากฏว่าระดับความเหมาะสมตามความคิดเห็นของผูเ้ ชี<ยวชาญส่วนใหญ่อยูในระดับดี สามารถ
นําไปใช้ในการเรี ยนการสอนได้
                       ่                                                                                                    ํ
       ดังนั6นสรุ ปได้วา ชุดทดลองวงจรดิ จิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<สร้างขึ6นมีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์ที<กาหนดไว้ใน
สมมติฐาน และชุดทดลองวงจรดิจิตอลที<สร้างขึ6นมานี6 ทําให้นกศึกษามีความรู ้ความสามารถสูงขึ6น ตามเกณฑ์ที<คาดหวังไว้
                                                              ั


10. กิตติกรรมประกาศ
        งานวิจยนี6ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยธนบุรี ประจําปี งบประมาณ 2554
              ั
11. เอกสารอ้ างอิง
 ขรรค์ชย ตุลละสกุล, 2543 “ CPLDs Training COLDs-1” ภาควิชาครุ ศาสตร์ไฟฟ้ า คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม
        ั
        มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เจริ ญ วงษ์ชุ่มเย็น และ ณรงค์ ทองฉิ ม, 2547 .บอร์ดทดลอง CPLD Explorer XC9572.วารสาร Hobby Electronic ฉบับที< 143.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. เทคนิคการวิจยทางการศึกษา. พิมพ์ครั6งที< 5. กรุ งเทพมหานคร สํานักพิมพ์สุวริยสาสน์, 2541.
                                              ั                                                     ี
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ,กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั6นสูง พุทธศักราช 2546 สาขา
        เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์. กรุ งเทพมหานคร : ศูนย์วจยและพัฒนาอาชีวศึกษา 1, 2546.
                                                       ิั
ศิริวรรณ คําภักดี. การพัฒนาและทดสอบประสิ ทธิภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมีเดีย เรื< องโปรแกรมภาษาซี. วิทยานิพนธ์
        ครุ ศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิตสาขาวิชาไฟฟ้ า ภาควิชาครุ ศาสตร์ไฟฟ้ าบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
        พระนครเหนือ ปี การศึกษา 2549
Xilinx Inc., 2006 , XC9572 In System Programmable CPLD.

More Related Content

What's hot

ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...Prachoom Rangkasikorn
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2ทับทิม เจริญตา
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระKrusupharat
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2Jiraporn Chaimongkol
 
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4pageคุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Icxise RevenClaw
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆJintana Kujapan
 
แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น
แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น
แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น สำเร็จ นางสีคุณ
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
เกศสุดา2
เกศสุดา2เกศสุดา2
เกศสุดา2Kat Suksrikong
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

What's hot (20)

ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระ
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4pageคุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
1.pdf
1.pdf1.pdf
1.pdf
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
 
แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น
แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น
แบบสอบถามค่าใช้จ่ายประจำวันของนักเรียนชั้น
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
เกศสุดา2
เกศสุดา2เกศสุดา2
เกศสุดา2
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 

Similar to การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดทดลองดีจิตอล CPLD XL9572

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Panuwat Butriang
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 
ใบงาน15
ใบงาน15ใบงาน15
ใบงาน15sb5_1605
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)krupornpana55
 
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1Prachyanun Nilsook
 
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตรworkshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตรPrachyanun Nilsook
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
 
Sampling For Internal Auditors
Sampling For Internal AuditorsSampling For Internal Auditors
Sampling For Internal AuditorsPairat Srivilairit
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยsuthida
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 

Similar to การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดทดลองดีจิตอล CPLD XL9572 (20)

ครู 3
ครู 3ครู 3
ครู 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
ใบงาน15
ใบงาน15ใบงาน15
ใบงาน15
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
 
Itemcons
ItemconsItemcons
Itemcons
 
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1
 
ประเมินค่างาน สุรินทร์
ประเมินค่างาน สุรินทร์ประเมินค่างาน สุรินทร์
ประเมินค่างาน สุรินทร์
 
Kpi(2)
Kpi(2)Kpi(2)
Kpi(2)
 
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตรworkshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
Sampling For Internal Auditors
Sampling For Internal AuditorsSampling For Internal Auditors
Sampling For Internal Auditors
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
Mini Master in software testing
Mini Master in software testingMini Master in software testing
Mini Master in software testing
 
Research report2
Research report2Research report2
Research report2
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัย
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 

การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดทดลองดีจิตอล CPLD XL9572

  • 1. การสร้ างและหาประสิ ทธิภาพชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL The Construction and of Finding the Efficiency Digital Circuit Experimental Set by CPLD No. XC9572XL ศิริวรรณ คําภักดี1* ปิ ยะนัฐ ใจตรง2 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บานครู ้ 2 มหาวิทยาลัยธนบุรี mail: kampagdee3@gmail.com* บทคัดย่ อ การวิจยครั6งนี6เป็ นการวิจยเชิงทดลอง เพื<อสร้างและหาประสิ ทธิภาพชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL สําหรับ ั ั วิชาดิจิตอลเทคนิค รหัสวิชา 3105-1004 สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานเทคนิ คคอมพิวเตอร์ หลักสู ตรประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั6นสู ง พ.ศ. 2546 ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิ การ โดยเริ< มตั6งแต่ศึกษาเอกสาร ตํารา งานวิจยที<เกี<ยวข้อง จากนั6น ั ทําการวิเคราะห์เนื6อหา และหลักสู ตรรายวิชา กําหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม กําหนดกลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ซึ< งเป็ นนักศึกษา ระดับประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั6นสู ง ชั6นปี ที< 1 สาขาวิชาเทคนิ คคอมพิวเตอร์ ที<ลงทะเบียนเรี ยนในวิชาดิจิตอลเทคนิ ค (3105-1004) ในภาค การศึกษาที< 2 ปี 2554 จํานวน 50 คน ชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ประกอบไปด้วย 4 ส่ วนคือ 1. บอร์ ดทดลอง ดิจิตอล CPLD เบอร์ XC9572XL 2. ใบงานประกอบการทดลองจํานวน 6 บท 3. แบบทดสอบระหว่างการทดลอง และ 4. แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิVทางการเรี ยน การหาคุณภาพของชุดทดลองได้นาส่วนที<เป็ นบอร์ดทดลองดิจิตอล และใบงานประกอบการทดลองส่ งให้อาจารย์ ํ ที<ปรึ กษาและผูเ้ ชี<ยวชาญ จํานวน 4 ท่าน ประเมินหาค่าความเหมาะสม ผลการวิเคราะห์มีค่าเฉลี<ยเท่ากับ 4.01 หมายถึง ความเหมาะสมอยูใน ่ ระดับดี สามารถนําไปใช้ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างได้ ถัดมาเป็ นการวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ ในส่ วนของแบบทดสอบระหว่าง การทดลอง และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิV โดยนําแบบทดสอบส่ งให้อาจารย์ที<ปรึ กษาและผูเ้ ชี< ยวชาญตรวจสอบเพื<อประเมินหาค่าดัชนี ความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์เชิ งพฤติกรรมกับข้อสอบ (IOC) ผลการวิเคราะห์ค่าอยู่ในระหว่าง 0.75-1 มากกว่าเกณฑ์ 0.5 ซึ< ง หมายถึง ข้อสอบกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมสอดคล้องกัน จากนั6นทําการวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (Difficulty) และ ค่าอํานาจจําแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบ ซึ< งเป็ นคุ ณ สมบัติ ข องข้อ สอบที< มี คุ ณ ภาพ โดยนํา แบบทดสอบไปทดสอบกับ นัก ศึ ก ษาระดับ ประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั6นสู ง สาขาเทคนิ คคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บานครู ที<ผ่านการเรี ยนวิชาดิจิตอลเทคนิ ค จํานวน 20 คน ้ ผลการวิเคราะห์สรุ ปได้วา ค่าความยากง่ายมีค่าระหว่าง 0.5-0.8 ซึ< งอยูในเกณฑ์ 0.20-0.80 ค่าอํานาจจําแนก มีค่าระหว่าง 0.2-0.6 อยูใน ่ ่ ่ เกณฑ์ 0.20 ดังนั6นจึงสรุ ปได้วา ชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL สามารถนําไปใช้ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างได้ ่ ผลการวิจยพบว่า ประสิ ทธิ ภาพของชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<สร้างขึ6น วิเคราะห์จากคะแนนเฉลี<ย ั รวมของแบบทดสอบระหว่างการทดลอง และ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิV ทางการเรี ยน มีค่าเท่ากับ 81.05/80.50 ซึ< งสู งกว่าเกณฑ์ที<กาหนด ํ 80/80 และเมื<อวิเคราะห์ผลสัมฤทธิVทางการเรี ยนด้วยสถิติที (t-test) พบว่าชุดทดลองที<สร้างขึ6นทําให้ผูเ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิV ทางการเรี ยนสู งกว่า ก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที<ระดับ 0.01 ั คําสําคัญ : CPLD / บอร์ดทดลองดิจิตอล CPLD เบอร์ XC9572XL / วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บานครู ้
  • 2. Abstract The research was aimed to construct and find the efficiency of Digital Circuit Experimental Set by CPLD XC9572XL from the texts of relevant research. The sample are students the first year diploma courses in computer technology. Enrolled in Digital code 3105-1004 of the second semester of the academic year 2011, which included a total of 50 people. Digital Circuit Experimental set have four parts. Board the number of digital CPLD XC9572XL, The assembly was 6 episode, An experimental test with answers and Model achievement test with answers. The trial has been an advisor and expert monitoring. Analysis of the average scores of the experimental tests and achievement tests were 81.05/80.50, higher than the set of 80/80 on the test scores from pretest and after posttest were compared with the average t (t-test). Keyword : CPLD / Digital Circuit Experimental Set by CPLD No. XC9572XL / Mubankru Technology College 1. บทนํา บทความนี6จะนําเสนอการสร้างและหาประสิ ทธิภาพของชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<สร้างขึ6น โดยการ วิเคราะห์จากคะแนนเฉลี< ยรวมของแบบทดสอบระหว่างการทดลอง และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิV ที< กาหนด 80/80 และนําคะแนน ํ แบบทดสอบก่อนเรี ยน (Pretest) และหลังเรี ยน (Posttest) มาวิเคราะห์เปรี ยบเทียบคะแนนเฉลี<ยด้วยสถิติที (t-test) หาผลสัมฤทธิV ทางการ เรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยสําคัญที<ระดับ 0.01 ั 2. วัตถุประสงค์ การวิจัย เพื<อสร้างและหาประสิ ทธิ ภาพชุดทดลองวงจรดิ จิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL สําหรับวิชาดิ จิตอลเทคนิ ค (3105-1004) สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ หลักสู ตรประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั6นสู ง พ.ศ.2546 ของสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 3. สมมติฐานการวิจัย ชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<ผวจยสร้างขึ6น สามารถใช้ในการเรี ยนการสอนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ู้ ิ ั เกณฑ์ 80/80 4. ขอบเขตการวิจัย การสร้างและหาประสิ ทธิชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<สร้างขึ6นโดยอิงเนื6อหาในรายวิชาดิจิตอลเทคนิค รหัสวิชา 3105-1004 สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิ กส์ สาขางานเทคนิ คคอมพิวเตอร์ หลักสู ตรประกาศนี ยบัตรวิชาชี พชั6นสู ง ของสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เพื<อใช้ในการเรี ยนการสอนประกอบไปด้วย 4.1 ชุดทดลอง 4.1.1 บอร์ดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<สร้างขึ6น 4.1.2 ใบงานประกอบการทดลอง เพื<อใช้ประกอบการเรี ยนโดยอิงเนื6อหาหลักสูตรรายวิชาดิจิตอลเทคนิค (3105-1004) 4.1.3 แบบทดสอบระหว่างการทดลอง 4.1.4 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิVทางการเรี ยน
  • 3. 4.2 กลุ่มประชากร นักศึกษาสาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั6นสูง 4.2.1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั6นสูง ชั6นปี ที< 1 สาขางานเทคนิ คคอมพิวเตอร์ ที<ลงทะเบียน เรี ยนวิชาดิจิตอลเทคนิค (3105-1004) ประจําภาคเรี ยนที< 2 ปี การศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บานครู จํานวน 50 คน ซึ< งผูวิจยใช้วิธี ้ ้ ั เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 4.3 ตัวแปร 4.3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ ชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL 4.3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 1. ประสิ ทธิภาพชุดทดลองวงจรดิจิตอล 2. ผลสัมฤทธิVทางการเรี ยนของนักศึกษา 5. ประโยชน์ ทได้ รับจากงานวิจัย ีR 5.1 ได้ชุดทดลองที< มีประสิ ทธิ ภาพ ในการเรี ยนการสอนวิชาดิจิตอลเทคนิ ค หลักสู ตรประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั6นสู ง พุทธศักราช 2546 สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ สาขาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 5.2 เป็ นแนวทางในการจัดสร้าง และพัฒนาชุดทดลองระดับอุดมศึกษา ในลักษณะอื<นๆ ซึ<งเป็ นการส่งเสริ มและพัฒนานวัตกรรมสื< อ ทางการศึกษา อันนํามาใช้ในการเรี ยนการสอนให้เกิดประโยชน์เพิ<มมากขึ6นต่อไป 6. กระบวนการดําเนินการวิจัย เริ< มต้น ศึกษาเนื6อหารายวิชา/กําหนด วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ให้ประเมินโดย ่ ไม่ผาน แก้ไขปรับปรุ ง ผูเ้ ชี<ยวชาญ ผ่าน ก รู ปที< 1 แสดงขั6นตอนการสร้างเครื< องมือที<ใช้ในการวิจย ั
  • 4. ออกแบบชุดทดลอง/ใบทดลอง ให้ประเมินโดย ่ ไม่ผาน ผูเ้ ชี<ยวชาญ แก้ไขปรับปรุ ง ผ่าน สร้างชุดทดลอง/ทดลองใช้ ให้ประเมินโดย ่ ไม่ผาน แก้ไขปรับปรุ ง ผูเ้ ชี<ยวชาญ ผ่าน นําไปใช้งานจริ ง/วิเคราะห์ขอมูล ้ จบ รู ปที< 1(ต่อ) แสดงขั6นตอนการสร้างเครื< องมือที<ใช้ในการวิจย ั ผูวจยได้ศึกษาข้อมูลเกี<ยวกับการวิจยโดยศึกษาเนื6อหา และวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา วิเคราะห์เนื6อหา และทําการสร้างเครื< องมือ ซึ<ง ้ิั ั มีกระบวนการดําเนินการวิจย ดังแสดงรายละเอียดดังรู ปที< 1 (ศิริวรรณ, 2549) ั 6.1 ศึกษารายละเอียดหลักสูตรรายวิชาดิจิตอลเทคนิค รหัสวิชา 3105-1004 สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ หลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพชั6นสูง ในส่วนของคําอธิบายรายวิชา จะได้ส่วนของเนื6อหาหัวข้อเรื< องและเรื< องย่อย(หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั6นสูง,2546) 6.2 วิเคราะห์เนื6 อหาโดยเนื6 อหาจะต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์ของหลักสู ตรรายวิชาดิจิตอลเทคนิ ค รหัสวิชา 3105-1004 รวมทั6ง การนําเอาความรู ้และทักษะไปใช้งาน การวิเคราะห์สามารถรวบรวมหัวเรื< องได้ท6 งหมด 13 หัวเรื< องตลอดหลักสูตร โดยผูวจยเลือก 6 หัวเรื< อง ั ้ิั เพื<อสะดวกในการวิจย ดังนี6 ั 6.2.1 การลดรู ปบูลีนฟังก์ชน ั< 6.2.2 การประยุกต์วงจรโลจิกเกท
  • 5. 6.2.3 วงจร Adder 6.2.4 วงจร Encoder 6.2.5 วงจร Decoder 6.2.6 วงจร Multiplex and Demultiplex 6.3 ตรวจสอบโดยผูสอนและผูเ้ ชี< ยวชาญ เมื< อกําหนดหัวข้อเรื< องและเนื6 อหาในแต่ละหัวข้อแล้ว ก็นําไปให้อาจารย์ผูสอนและ ้ ้ ผูเ้ ชี<ยวชาญพิจารณาความเหมาะสมเพื<อปรับปรุ งและแก้ไขให้เหมาะสม 6.4 กําหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื<อได้รายละเอียดเนื6 อหาที<ผ่านการพิจารณาจากผูเ้ ชี<ยวชาญแล้ว ทําการเขียนวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม โดยพิจารณาว่าต้องการให้ผเู ้ รี ยนเปลี<ยนแปลงพฤติกรรมหลังจากผ่านการทดลองแล้วอย่างไรบ้าง 6.5 ออกแบบใบทดลอง เมื<อกําหนดหัวข้อ และกําหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ต่อไปก็เป็ นขบวนการออกแบบใบทดลอง และ บอร์ดทดลอง โดยใบทดลองจะประกอบด้วย หัวข้อเรื< องการทดลอง บทนํา(เนื6 อหาโดยสรุ ป) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม วงจรที<จะทําการ ทดลอง ลําดับขั6นการทดลอง ตารางบันทึ กค่าผลการทดลอง และสรุ ปผลการทดลอง นําไปให้ผูเ้ ชี< ยวชาญตรวจสอบ เพื<อปรับปรุ งแก้ไข ต่อไป (ขรรค์ชย, 2543) ั 6.6 ออกแบบบอร์ ดทดลอง จากคุณสมบัติของชิพ CPLD XC9572 (Xilinx, 2006) ซึ< งรายละเอียดคุณสมบัติของชิพ CPLD เบอร์ XC9572 แสดงดังรู ปที< 2 ถือว่าเป็ นไอซีที<มีจานวนเกทภายในมากพอสมควรสามารถนําไปออกแบบวงจรรวมที<มีความซับซ้อนได้ในระดับ ํ หนึ<ง โดยคุณสมบัติต่างๆ ทัวไปมีหลักการออกแบบบอร์ดทดลองออกเป็ นส่วนๆ (เจริ ญ และคณะ, 2547) ดังนี6คือ < รู ปที< 2 แสดงรายละเอียดคุณสมบัติของชิ พ CPLD เบอร์ XC9572 6.6.1 ส่วนแสดงผล แบ่งออกเป็ น 3 ส่วนคือ 1. ส่วนแสดงผลด้วย LED 2. ส่วนแสดงผลด้วย เซเวนเซกเมนต์(7-Segment) 3. ส่วนแสดงผลด้วยอุปกรณ์ออด(Buzzer) 6.6.2 อุปกรณ์ Port ต่อสายสัญญาณ 6.6.3 อุปกรณ์สาย JTAG Connector 6.6.4 อุปกรณ์ดานอินพุทของชุดทดลอง ้ 6.6.5 ภาคจ่ายไฟของบอร์ดทดลอง 6.6.6 ส่วนของตําแหน่งขาที<ต่ออยูกบอุปกรณ์ภายนอกชุดทดลอง จากคุณสมบัติและหลักการทํางานผูใช้สามารถโปรแกรม ่ ั ้ วงจรดิจิตอลต่างๆ ลงบอร์ดทดลองได้อย่างง่ายๆ โดยทําการต่อสาย JTAG และต่อสาย Adaptor 9 V หลังจากนั6นจึงทําการ Download วงจร ที<ตองการลงสู่ชิพ CPLD ซึ< งในขั6นตอนก่อนการโปรแกรมวงจรลงชิพจะต้องมีการกําหนดตําแหน่งขาที<ต่ออยูกบฮาร์ ดแวร์ ภายนอกบนชุด ้ ่ ั ทดลองเสี ยก่อนซึ<งแสดงในตารางที< 1 และ เมื<อทําการออกแบบบอร์ดทดลองจะได้วงจรดังแสดงในรู ปที< 3
  • 6. ตารางที< 1 แสดงตําแหน่งขาที<ต่ออยูกบอุปกรณ์ภายนอกชุดทดลอง ่ ั LED 7-Segment DIP Sw. Push Button SW. BCD Switch I/O Pin No. I/O Pin No. I/O Pin NO. I/O Pin NO. I/O Pin NO. L1 P14 A P2 A P36 SW1 P34 1 P27 L2 P18 B P3 B P37 SW2 P35 2 P28 L3 P19 C P4 C P38 SW3 P36 4 P29 L4 P20 D P8 D P39 SW4 P37 8 P33 L5 P22 E P9 E P40 Misc P18 P14 L6 P24 F P11 F P42 I/O Pin NO. 00 Digital 1 L7 P25 G P12 G P43 Buzzer P1 01 Digital 2 L8 P26 db P13 H P44 OSC P5 10 Digital 3 11 Digital 4 รู ปที< 4 แสดงการออกแบบวงบอร์ดทดลอง CPLD XC9572 รู ปที< 3 แสดงการออกแบบวงจรบอร์ ดทดลอง CPLD XC9572 6.7 สร้าง/ทดลองใช้ ทําการสร้างชุดทดลอง และใบทดลองตามที<ได้ออกแบบมาแล้วเมื<อสร้างเสร็ จผูวิจยนําชุดทดลองที< ผ่านการ ้ ั ั ่ ปรับปรุ งไปทดลองใช้กบนักศึกษาที<ผานการเรี ยนวิชาดิจิตอลเทคนิค (3105-1004) จํานวน 20 คน เพื<อศึกษาข้อบกพร่ องของชุดทดลองและ ใบทดลอง รวมถึงด้านเวลาที<ใช้ในการทดลอง และนําไปให้ผเู ้ ชี<ยวชาญประเมินความคิดเห็น เพื<อนําข้อมูลทั6งหมดมาปรับปรุ งชุดทดลอง ซึ<งมีผลดังรายละเอียดดังนี6
  • 7. 6.7.1 หาคุณภาพของแบบทดสอบ 1. ค่าความยากง่ายของแบบทดสอบ มีค่าอยูระหว่าง 0.5-0.8 อยูในเกณฑ์ 0.20-0.80 ่ ่ 2. ค่าอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ มีค่าอยูระหว่าง 0.2-0.6 อยูในเกณฑ์ 0.20 ่ ่ 3. ค่าความเชื<อมันของแบบทดสอบในการวิจยครั6งนี6มีค่าเท่ากับ 0.92 < ั 6.7.2 การประเมิ นความเหมาะสมของชุ ดทดลองวงจรดิ จิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL จากผูเ้ ชี< ยวชาญที< มี ประสบการณ์ในด้านการสอนหรื อมีประสบการณ์ทางด้านการวัดผล และประเมินผล จํานวนทั6งสิ6 น 4 ท่าน ปรากฏว่าระดับความเหมาะสม ตามความคิดเห็นของผูเ้ ชี<ยวชาญมีค่าเฉลี<ย X = 4.01 อยูในระดับดี (ล้วน และคณะ, 2541) ดังนั6นความเหมาะสมของชุดทดลองวงจร ่ ดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL จึงมีความเหมาะสมสามารถนําไปใช้ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างได้ บอร์ ดทดลองที<สมบูรณ์ ดังแสดง ตามรู ปที< 4 รู ปที< 4 แสดงบอร์ ดทดลอง CPLD XC9572 ที<สมบูรณ์ 6.8 นําชุดทดลองไปใช้จริ ง เมื<อทําการแก้ไขปรับปรุ งชุดทดลองเรี ยบร้อยแล้ว นําชุดทดลองที<มีความสมบูรณ์ มีเนื6อหาที<ถูกต้องที< เหมาะสม ไปใช้กบกลุ่มตัวอย่าง ซึ<งเป็ นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั6นสูงชั6นปี ที< 1 สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ที<ลงทะเบียน ั เรี ยนในวิชาดิจิตอลเทคนิค รหัสวิชา 3105-1004 ในภาคเรี ยนที< 2 ปี การศึกษา 2554 จํานวน 50 คน และทําการวิเคราะห์เพื<อทดสอบ ประสิ ทธิภาพชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL และการหาผลสัมฤทธิVทางการเรี ยนในลําดับต่อไป 7. ทดสอบชุ ดทดลองวงจรดิจิตอล นําชุดทดลองที<มีความสมบูรณ์ มีเนื6อหาที<ถูกต้องเหมาะสมไปใช้กบกลุ่มตัวอย่าง ซึ<งมีลาดับดังนี6 ั ํ 7.1 ก่อนการเริ< มใช้ชุดทดลองให้นกศึกษาทําแบบทดสอบซึ<งเป็ นแบบทดสอบก่อนเรี ยน ั 7.2 ปฐมนิเทศนักศึกษากลุ่มตัวอย่างก่อนเริ< มใช้ชุดทดลอง โดยผูสอนได้ช6 ีแจงวัตถุประสงค์และวิธีการใช้ชุดทดลองให้กบนักศึกษา ้ ั กลุ่มตัวอย่างทราบ ํ 7.3 ดําเนินการทดลองโดยให้นกศึกษาทดลองตามขั6นตอน และวิธีการตามแผนการสอนที<ได้กาหนดไว้ เมื<อทดลองจบแต่ละหัวเรื< อง ั ก็ให้ทาแบบทดสอบระหว่างการทดลองและเมื<อเรี ยนจบทุกหัวเรื< อง จึงทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิV ในการเรี ยนจะเรี ยนสัปดาห์ละ 1 วันๆ ํ ละ 4 คาบ (160 นาที) จํานวน 6 สัปดาห์ 7.4 เก็บข้อมูล เพื<อนําไปสรุ ปผลการวิจย ั 7.4.1 รวบรวมคะแนนที<ได้จากแบบทดสอบก่อนเรี ยน
  • 8. 7.4.2 รวมรวมคะแนนที<ได้จากแบบทดสอบระหว่างการทดลองแต่ละบทของชุดทดลองวงจรดิจิตอล 7.4.3 รวมรวมคะแนนที<ได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิVทางการเรี ยน เมื<อได้ครบแล้วผูวจยได้นาไปวิเคราะห์ตามขั6นตอน ้ิั ํ 1. การหาประสิ ทธิภาพชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL 2. การวิเคราะห์หาผลสัมฤทธิVทางการเรี ยนของกลุ่มตัวอย่าง 8. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล 8.1 ทดสอบประสิทธิภาพชุดทดลองวงจรดิจตอล ิ การวิเคราะห์คะแนนแบบทดสอบระหว่างการทดลอง เพื<อศึกษาผลสัมฤทธิV ทางการเรี ยน หลังจากใช้ชุดทดลองจบในบทนั6นๆ โดย การนําคะแนนจากการทําแบบทดสอบมาหาค่าเฉลี<ย แล้วคิดเป็ นค่าร้อยละ ซึ<งผลการวิเคราะห์ดงตารางที< 2 ั ตารางที< 2 แสดงผลคะแนนของแบบทดสอบระหว่างการทดลอง ใบทดลองบทที< คะแนนสอบจากแบบทดสอบระหว่างการทดลอง X1 ร้อยละ 1 4.96 82.67 2 6.54 81.75 3 4.82 80.33 4 4.84 80.67 5 4.88 81.33 6 6.38 79.75 รวม 32.42 81.05 จากตารางที< 2 แสดงให้เ ห็ น ว่า กลุ่ม ตัว อย่า งทําแบบทดสอบระหว่า งการทดลองได้ถูก ต้อ ง โดยมี ค่ า คะแนนที< มี ค่ า สู ง สุ ด คื อ แบบทดสอบระหว่างการทดลองบทที< 1 มีค่าเฉลี<ยร้อยละเท่ากับ 82.67 ซึ< งเป็ นเนื6 อหาพื6นฐานเดิมที<นกศึกษามีความรู ้มาบ้างแล้ว รองลงมา ั คือแบบทดสอบระหว่างการทดลองบทที< 2 มีค่าเฉลี<ยร้อยละเท่ากับ 81.75 รองลงมา คือแบบทดสอบระหว่างการทดลองบทที< 5 มีค่าเฉลี<ย ร้อยละเท่ากับ 81.33 รองลงมา คือแบบทดสอบระหว่างการทดลองบทที< 4 มีค่าเฉลี<ยร้อยละเท่ากับ 80.67 รองลงมา คือแบบทดสอบ ระหว่างการทดลองบทที< 3 มีค่าเฉลี<ยร้อยละเท่ากับ 80.33 ซึ<งมีค่ามากกว่าเกณฑ์ที<ได้ต6 งไว้คือ 80 และตํ<าสุดได้แก่แบบทดสอบระหว่างการ ั ทดลองบทที< 6 มีค่าเฉลี<ยร้อยละเท่ากับ 79.75 ซึ<งมีค่าใกล้เคียงกับเกณฑ์ ตารางที< 3 แสดงผลการทดสอบประสิ ทธิ ภาพของชุดทดลอง รายการ N X ร้อยละ คะแนนจากการทําแบบทดสอบระหว่างการทดลอง (E1) 50 32.42 81.05 คะแนนจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิV (E2) 50 32.20 80.50 จากตารางที< 3 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างทําข้อสอบในแบบทดสอบระหว่างการทดลองได้ถูกต้อง เฉลี<ยร้อยละ 81.05 สู งกว่า เกณฑ์ 80 ตัวแรกที<กาหนดไว้ และทําข้อสอบในแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิVได้ถูกต้องเฉลี<ย 80.50 สูงกว่าเกณฑ์ 80 ตัวหลังที<กาหนดไว้ ซึ< ง ํ ํ แสดงว่า ชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<ผวจยสร้างขึ6นมีประสิ ทธิภาพเท่ากับ 81.05/80.50 สู งกว่าเกณฑ์ 80/80 ที< ู้ ิ ั กําหนดไว้ มีประสิ ทธิภาพสอดคล้องกับสมมติฐานที<ต6 งไว้ ั
  • 9. 8.2 วิเคราะห์ หาผลสัมฤทธิYทางการเรียน ก่อนการเรี ยนการสอนด้วยชุดทดลอง ผูวิจยได้ให้นักศึ กษากลุ่มตัวอย่างทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน (Pretest) และ หลังจากกลุ่ม ้ ั ตัวอย่างได้ศึกษาเนื6 อหาทั6งหมดแล้ว ได้ให้ทาแบบทดสอบหลังเรี ยน (Posttest) นําผลของคะแนนทดสอบก่อนเรี ยนและคะแนนทดสอบ ํ หลังเรี ยนไปวิเคราะห์ขอมูล หาผลสัมฤทธิVทางการเรี ยน โดยการเปรี ยบเทียบค่าเฉลี<ยด้วยสถิติที (t-test) ผลการวิเคราะห์ขอมูลแสดงดังตาราง ้ ้ ที< 4 ตารางที< 4 แสดงผลสัมฤทธิV ทางการเรี ยน การทดสอบ N X ∑D ∑D 2 t คะแนนแบบทดสอบก่อนเรี ยน 50 10.52 1,084 24,040 46.22** คะแนนแบบทดสอบหลังเรี ยน 50 32.20 ** มีนยสําคัญทางสถิติที<ระดับ 0.01(ตาราง ั จากตารางที< 4 พบว่านักศึกษากลุ่มตัวอย่าง จํานวน 50 คน ทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน และแบบทดสอบหลังเรี ยน เพื<อวิเคราะห์หา ผลสัมฤทธิVทางการเรี ยน ผลการวิเคราะห์สังเกตได้วา คะแนนแบบทดสอบก่อนเรี ยนมีค่าเฉลี<ยเท่ากับ 10.52 น้อยกว่าคะแนนแบบทดสอบ ่ หลังเรี ยนที<มีค่าเฉลี<ยเท่ากับ 32.20 และ เมื<อวิเคราะห์ใช้สถิติที (t-test) พบว่า ค่าเฉลี<ยของคะแนนแบบทดสอบหลังเรี ยนสูงกว่าแบบทดสอบ ั ่ ก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที<ระดับ 0.01 (ล้วน และคณะ, 2541) ดังนั6นจึงสรุ ปได้วา หลังจากที<นกศึกษาได้เรี ยนด้วยชุดทดลองวงจร ั ดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL นี6แล้ว นักศึกษามีความรู ้วชาดิจิตอลเทคนิคเพิ<มขึ6น ิ 9. สรุ ปผลการวิจัย ผลการวิจัย พบว่า ชุ ด ทดลองวงจรดิ จิ ต อลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที< ผูวิจัย สร้ า งขึ6 น ได้ผ ลดัง นี6 ผลการวิเ คราะห์ ห า ้ ประสิ ทธิภาพของชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL เมื<อพิจารณาผลการวิจยของกลุ่มตัวอย่าง ปรากฏว่าประสิ ทธิ ภาพ ั ของชุดทดลองวงจรที<สร้างโดยการวิเคราะห์จากคะแนนเฉลี<ยรวมของแบบทดสอบระหว่างการทดลอง และ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิV ทางการเรี ยนมีประสิ ทธิภาพ มีค่าเท่ากับ 81.05/80.50 ซึ<งสูงกว่าเกณฑ์ที<กาหนด 80/80 และเมื<อนําคะแนนจากการทดสอบก่อนเรี ยน (Pretest) ํ และ หลังเรี ยน (Posttest) มาวิเคราะห์เปรี ยบเทียบคะแนนเฉลี<ยด้วยสถิติที (t-test) พบว่าชุดทดลองที<สร้างขึ6น ทําให้ผูเ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิV ทางการเรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที<ระดับ 0.01 ั ผลจากการประเมินความเหมาะสมของชุดทดลองวงจรดิจิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL โดยผูเ้ ชี<ยวชาญด้านการสอนหรื อ ่ ด้านสาขางานอิเล็กทรอนิกส์ จํานวน 4 ท่าน ปรากฏว่าระดับความเหมาะสมตามความคิดเห็นของผูเ้ ชี<ยวชาญส่วนใหญ่อยูในระดับดี สามารถ นําไปใช้ในการเรี ยนการสอนได้ ่ ํ ดังนั6นสรุ ปได้วา ชุดทดลองวงจรดิ จิตอลโดยใช้ CPLD เบอร์ XC9572XL ที<สร้างขึ6นมีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าเกณฑ์ที<กาหนดไว้ใน สมมติฐาน และชุดทดลองวงจรดิจิตอลที<สร้างขึ6นมานี6 ทําให้นกศึกษามีความรู ้ความสามารถสูงขึ6น ตามเกณฑ์ที<คาดหวังไว้ ั 10. กิตติกรรมประกาศ งานวิจยนี6ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยธนบุรี ประจําปี งบประมาณ 2554 ั
  • 10. 11. เอกสารอ้ างอิง ขรรค์ชย ตุลละสกุล, 2543 “ CPLDs Training COLDs-1” ภาควิชาครุ ศาสตร์ไฟฟ้ า คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม ั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เจริ ญ วงษ์ชุ่มเย็น และ ณรงค์ ทองฉิ ม, 2547 .บอร์ดทดลอง CPLD Explorer XC9572.วารสาร Hobby Electronic ฉบับที< 143. ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. เทคนิคการวิจยทางการศึกษา. พิมพ์ครั6งที< 5. กรุ งเทพมหานคร สํานักพิมพ์สุวริยสาสน์, 2541. ั ี สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ,กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั6นสูง พุทธศักราช 2546 สาขา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์. กรุ งเทพมหานคร : ศูนย์วจยและพัฒนาอาชีวศึกษา 1, 2546. ิั ศิริวรรณ คําภักดี. การพัฒนาและทดสอบประสิ ทธิภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมีเดีย เรื< องโปรแกรมภาษาซี. วิทยานิพนธ์ ครุ ศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิตสาขาวิชาไฟฟ้ า ภาควิชาครุ ศาสตร์ไฟฟ้ าบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ปี การศึกษา 2549 Xilinx Inc., 2006 , XC9572 In System Programmable CPLD.