SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 4 วิวัฒนาการและความหลากหลายทางชีวภาพ
(Evolution and Biodiversity)
รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30246)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
› พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
› พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
› พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
› พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
› พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าโลกได้ถือกาเนิดขึ้นมาเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว โดยเกิดจากกลุ่ม
แก๊สและฝุ่นผงในอวกาศที่มีการควบแน่นจนเป็นก้อน ผิวโลกในช่วงนั้นจะมีลักษณะเป็นของเหลวที่ร้อนจัด
ต่อมาเย็นตัวลงจนเกิดการแข็งตัว บรรยากาศของโลกในสมัยแรกยังไม่มีแก๊สออกซิเจน ส่วนใหญ่ประกอบ
ไปด้วยแก๊สเฉื่อย นอกจากนี้ผิวโลกยังไม่มีน้าในสภาพของเหลวเลย จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบของโลกยุค
ดึกดาบรรพ์นี้มีความแตกต่างจากโลกยุคปัจจุบันมาก อย่างไรก็ตามเมื่อระยะเวลาผ่านไปประมาณ 1,000
ล้านปีหลังจากกาเนิดโลก สิ่งมีชีวิตก็ถือกาเนิดขึ้นและเกิดวิวัฒนาการเรื่อยมา จนในปัจจุบันเราจะเห็นได้
ว่าความหลากหลายในธรรมชาติเกิดมากมายเพียงใด
โลกของเราเกิดขึ้นมาได้อย่างไร ?
วิวัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงของพันธุกรรมที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต มีผลทาให้ลักษณะของ
สิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป จากรุ่นบรรพบุรุษ และสามารถถ่ายทอดลักษณะที่เปลี่ยนแปลงนั้นไปยังรุ่น
ลูกหลานได้ โดยได้รับการคัดเลือกให้มีชีวิตอยู่รอดได้ในสภาพแวดล้อมที่ต่างกันเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต (Evolution)
สิ่งมีชีวิตชนิดแรก กาเนิดขึ้นมาบนโลกเมื่อ
ประมาณ 3,900 ล้านปีมาแล้ว
ปัจจุบันพบว่า มีสิ่งมีชีวิตมากมายหลายล้าน
ชนิดอยู่รอบตัวเราแต่ละชนิดมีรูปร่างลักษณะ
แตกต่างกันไป
นักชีววิทยาศึกษาหาคาตอบต่างๆ เหล่านี้
พบว่า สิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการ
ปัจจุบัน
โปรคาริโอท
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
กาเนิดโลก
วิวัฒนาการศึกษาในระดับประชากร
วิวัฒนาการ (Evolution)
การเปลี่ยนแปลงลักษณะพันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต ลักษณะพันธุกรรมที่
เปลี่ยนแปลงนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง รูปร่าง ลักษณะ หรือ หน้าที่การทางาน เมื่อมีการสะสมใน
ปริมาณที่มากขึ้น นาไปสู่การกาเนิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่หรือสปีชีส์ (Species) วงค์ (Family) ตลอดจน
อันดับ (Order) และ ไฟลั่ม (Phylum) ในที่สุด
1. การคัดเลือกทางธรรมชาติ
2. การวิวัฒนาการอย่างรวดเร็วทั้งนี้เป็น ผลมาจากสภาพแวดล้อม
การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตจาเป็นต้องมีการปรับตัว ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่ตนอาศัยอยู่
การปรับตัวเพื่อหลักเกณฑ์ในเรื่องการหาอาหาร การป้องกันตนเองหรือการสืบพันธุ์
ลักษณะการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
 การปรับตัวทางด้านรูปร่างอวัยวะภายนอก
 การปรับตัวทางสรีรวิทยา
 การปรับพฤติกรรม
เวลาประมาณตั้งแต่เริ่มยุค
ต่างๆ มีหน่วยล้านปี
อีรา
(era)
คาบหรือยุค
(period or epoch)
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดในยุค
0.01 ในยุคปัจจุบัน
2
10
25
35
55
70
ซีโนโซอิค
(Cenozoic)
ยุคสัตว์ดูดนม
ไพลสโตซีน (Pleistocene)
พลิโอซีน(Pliocene)
ไมโอซีน(Miocene )
โอลิโกซีน(Oligocene )
อิโอซีน(Eocene )
พาเลโอซีน(Paleocene )
มนุษย์คนแรก ยุคน้าแข็ง ปลายยุคสัตว์
ดูดนม
ยุคเจริญสุดของสัตว์ดูนม เอพ
สัตว์ดูดนมยุคใหม่
สัตว์ดูดนมกระจายทั่วไป
135
180
230
มีโซโซอิค
(Mesozoic)
ยุคของสัตว์เลื้อยคลาน
ครีตาเชียส(Cretaceous)
จูราสสิค(Jurassic)
ไตรแอสสิก(Triassic)
ยุคสุดท้ายของไดโนเสาร์ พืชมีดอก
กระจายอยู่ทั่วไป
สัตว์ดูดนมตัวแรกและนก
ไดโนเสาร์ตัวแรก
280
345
405
425
500
600
3000
พาเลโอโซอิค (Paleozoic)
พรีแคมเบรียน
(Precambrian)
เปอร์เมียน(Permian)
คาร์โบนิเฟอรัส
(Carboniferous)
ดีโวเนียน(Devonian)
ซิลูเรียน(Silurian)
ออร์โดวีเชียน (Ordovecian)
แคมเบรียน(Cambrian)
ยุคที่ไม่มีหลักฐานทาง
ธรณีวิทยามากนัก
สัตว์เลื้อยคลานยุคโบราณกระจัด
กระจาย
สัตว์เลื้อยคลานพวกแรก ยุคป่าถ่านหิน
สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าพวกแรก
แมลงพวกแรก
พืชบกกลุ่มแรก
ปลาตัวแรกที่รู้จักอยู่ในยุคนี้
ปรากฏว่ามีสัตว์ไร้กระดูกสันหลังใน
ทะเลมาก
ฟอสซิลชนิดแรกที่พบ
ความเชื่อเกี่ยวกับการเกิดของสิ่งมีชีวิต
จากความเชื่อในอดีตที่เชื่อว่าสิ่งต่างๆบนโลกเกิดจากความประสงค์ของพระเจ้า โดยที่เชื่อว่าโลก มีอายุ
ประมาณ 6,000 ปี เท่านั้นความเชื่อนี้สืบทอดติดต่อกันมานาน ต่อมา คริสต์ศตวรรษที่ 17 อริสโตเติล
(Aristotle) นักปราชญ์ชาวกรีก มีความคิดดั้งเดิมว่า ชีวิตอุบัติขึ้นมาจากสิ่งไม่มีชีวิต เป็นผู้ตั้ง ทฤษฏี
“The Spontaneous Generation”
Biogenesis is the production of new living organisms or organelles. The law of biogenesis,
attributed to Louis Pasteur, is the observation that living things come only from other living things,
by reproduction (e.g. a spider lays eggs, which develop into spiders). That is, life does not arise
from non-living material, which was the position held by spontaneous generation. This is
summarized in the phrase Omne vivum ex vivo, Latin for "all life [is] from life." A related statement
is Omnis cellulae cellula, "all cells [are] from cells;" this observation is one of the central statements
of cell theory.
สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นมาได้อย่างไร
ยังไม่มีนักวิทยาศาสตร์ที่สามารถพิสูจน์ได้อย่างชัดเจน มีเพียงสมมติฐานเกี่ยวกับกาเนิดของสิ่งมีชีวิตเท่านั้น โดยเชื่อกัน
ว่าสิ่งมีชีวิตสามารถเกิดขึ้นได้เองจากสิ่งไม่มีชีวิตซึ่งเป็นอิทธิพลของความเชื่อทางศาสนา ต่อมา Louis Pasteur ได้ทา
การวิจัยและพิสูจน์ได้ว่าสิ่งมีชีวิตกาเนิดมาจากสิ่งมีชีวิตเท่านั้นทาให้เกิดข้อสงสัยว่าสิ่งมีชีวิตแรกเริ่มของโลกถือกาเนิด
มาได้อย่างไร ในปี พ.ศ. 2467 นักชีวเคมีชาวรัสเซีย เอ ไอ โอพาริน (A.I. Oparin) ได้เสนอแนวคิดว่า สิ่งมีชีวิตไม่
สามารถเกิดขึ้นได้เองในช่วงเวลาสั้นๆ เพียงขั้นตอนเดียว แต่ต้องใช้เวลานานมากโดยกระบวนการวิวัฒนาการทางเคมี
อย่างช้าๆ เป็นการสังเคราะห์สารอินทรีย์จากโมเลกุลง่ายๆ เป็นโมเลกุลที่ซับซ้อนขึ้น แนวคิดกาเนิดของชีวิตบน
พื้นผิวโลกของโอพารินมีขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
ก. บรรยากาศของโลกในยุคแรกๆ มี
การสร้าง NH3 H2O H2 CH4 จากแก๊ส
ที่เกิดจากปฏิกิริยาของภูเขาไฟระเบิด
ข. เกิดโมเลกุลของกรดอะมิ
โน น้าตาล กรดไขมัน กลีเซอรอล
ค. เกิดโมเลกุลของพอลิแซ็กคาไรด์
ลิพิด โปรตีนและกรดนิวคลีอิก
ง. เริ่มปรากฏเซลล์เริ่มแรกของ
สิ่งมีชีวิต
กาเนิดสิ่งมีชีวิต : การทดลองของสแตนลีย์ มิลเลอร์ (Stanley Miller)
สรุปได้ว่า สารเคมีที่เป็นพื้นฐานของ
สิ่งมีชีวิตสามารถบังเกิดขึ้นเองได้ภายใต้
บรรยากาศโลกยุคดึกดาบรรพ์
นอกจากนี้ยังมีนักวิทยาศาสตร์อีกหลายท่านที่การทดลองคล้ายกับมิลเลอร์ โดยใช้สารตั้งต้นและ
พลังงานอย่างอื่น เช่น สารกัมมันตรังสี รังสีอัลตราไวโอเลต พบว่าได้ผลเช่นเดียวกันและเกิดเบสพิวรีนและ
ไพริมิดีนอีกด้วยเมื่อสารอินทรีย์โมเลกุลใหญ่เกิดขึ้นได้ตามแนวคิดของโอพาริน แล้วสารอินทรีย์เหล่านี้จะ
ประกอบเป็นเซลล์เริ่มแรกได้อย่างไร
ต่อมาซิดนีย์ ฟอกซ์ (Sidney Fox) นักชีวเคมีชาวอเมริกันและคณะได้แสดงให้เห็นว่า เซลล์
เริ่มแรกเกิดจากกรดอะมิโนได้รับความร้อนและมีการรวมกลุ่มกัน ซึ่งมีสมบัติหลายประการที่คล้ายกับเซลล์
ของสิ่งมีชีวิต เช่น มีการเจริญเติบโต สามารถเพิ่มจานวนโดยการแตกหน่อและมีกระบวนการเมแทบอลิซึม
เกิดขึ้น เป็นต้น
กาเนิดสิ่งมีชีวิต :
การเกิดเซลล์เริ่มแรกจากแนวคิดของฟอกซ์และคณะ
การกาเนิดของเซลล์โพรคาริโอต
จากหลักฐานของซากดึกดาบรรพ์เริ่มพบร่องรอยของสิ่งมีชีวิตเมื่อประมาณ 3,500 ล้านปีที่ผ่านมาและมี
วิวัฒนาการเป็นสิ่งมีชีวิตจานวนมากในปัจจุบันนักเรียนคิดว่าเซลล์ระยะเริ่มต้นของสิ่งมีชีวิตน่าจะคล้ายเซลล์อะไรและ
มีวิวัฒนาการมาได้อย่างไร
นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการมาจากเซลล์เริ่มแรกน่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์โพร
คาริโอต เช่น แบคทีเรีย เนื่องจากบรรยากาศของโลกในยุคนั้นมีออกซิเจนเพียงเล็กน้อยดังนั้นสิ่งมีชีวิตที่พบน่าจะ
ดารงชีวิตแบบไม่ใช้ออกซิเจนและไม่สามารถสร้างอาหารเองได้และมีวิวัฒนาการต่อมาเป็นสิ่งมีชีวิตที่ดารงชีวิตโดยการ
สร้างอาหารเองได้ด้วยกระบวนการสังเคราะห์ทางเคมีเช่นเดียวกับอาร์เคียแบคทีเรียในปัจจุบัน ต่อมาเริ่มมีวิวัฒนาการ
ของแบคทีเรียที่สังเคราะห์ด้วยแสงจากโมเลกุลของน้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้ปริมาณของแก๊สออกซิเจนใน
บรรยากาศเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก และเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดวิวัฒนาการเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์ยูคาริโอตในปัจจุบัน สิ่ง
ที่น่าสงสัยคือ เซลล์ยูคาริโอตถือกาเนิดมาได้อย่างไร
กาเนิดสิ่งมีชีวิต :
Prokaryotic cell
Eukaryotic cell
endosymbiosis
กาเนิดของเซลล์ยูคาริโอต
นักเรียนทราบมาแล้วว่าลักษณะที่เด่นชัดของเซลล์ยู
คาริโอตคือ มีสารพันธุกรรมอยู่ในนิวเคลียส ซึ่งแตกต่างจาก
เซลล์โพรคาริโอตที่สารพันธุกรรมแขวนลอยในไซโทพลาซึม
นอกจากนี้ในเซลล์ยูคาริโอตยังพบโครงสร้างอื่นๆที่สาคัญ เช่น
ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต์เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
จากภาพแสดงกาเนิดของเซลล์ยูคาริโอต พบว่าการเจริญของเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปในเซลล์ล้อมรอบบริเวณที่มีสาร
พันธุกรรมอยู่แล้วจึงพัฒนาเป็นนิวเคลียสทาให้ได้เซลล์ยูคาริโอตและมีเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม ขณะที่ไมโทคอนเดรีย
และคลอโรพลาสต์เกิดจากเซลล์โพรคาริโอตขนาดเล็กเข้าไปอาศัยอยู่ภายในเซลล์โพรคาริโอตขนาดใหญ่นั่นเอง แนวคิดนี้
มีหลักฐานสนับสนุนหลายอย่าง เช่น ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์สามารถแบ่งตัวเพิ่มจานวนได้เองมีเยื่อชั้นในที่
บรรจุเอนไซม์ในกระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน มี DNA และไรโบโซมที่คล้ายคลึงกับแบคทีเรีย
ความหลากหลายทางชีวภาพ:
การจาแนกสิ่งมีชีวิตนั้น นักอนุกรมวิธานอาจจัดให้อยู่ใน 3 domain หรือ 5 kingdom ก็ได้
domain Archaea Bacteria Eukarya
Kingdom monera Protista Fungi Plantae Animalia
ได้แก่ แบคทีเรีย
โบราณ
แบคทีเรีย
และ
ไซยาโน
แบคทีเรีย
โพรโทซัว เห็ด
รา
ยีสต์
พืช สัตว์
Cell Prokaryotic Eukaryotic
Tissue ไม่มี มี
Embryo ไม่มี มี
Cell wall มีแต่ไม่เป็น
peptidogly
can
ถ้ามีจะเป็น
peptidogly
can
มีในสาหร่าย
เกิดจากสาร
แตกต่างกัน
มีเป็นสาร
chitin
มีเป็นสาร
cellulose
ไม่มี
หลักฐานการเกิดวิวัฒนาการ
1. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิต
ซากสิ่งมีชีวิต ซึ่งมีอายุนับหลายพันหรือหมื่นปีขึ้นไป เช่น ซากโครงกระดูกไดโนเสาร์ ซากแมลงในแท่ง
อาพัน ฯลฯ การเกิดซากดึกดาบรรพ์ เกิดจากซากของสิ่งมีชีวิต ที่ยังคงสภาพเดิมอยู่ หรือ เกิดจากการ
แทนที่ซากสิ่งมีชีวิตโดยสารอื่นแล้วทับถมอยู่ในชั้นหิน หรือ เป็นร่องรอยตกค้างบนหิน สิ่งมีชีวิตบางชนิด
จะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านรูปร่างน้อยมาก แม้ว่ากาลเวลาจะผ่านไปนานเช่น เฟิร์นแมงดาทะเล หอย
ปากเป็ด ฯลฯ
การคาดคะเนอายุของซากดึกดาบรรพ์
วิเคราะห์หาปริมาณธาตุกัมมันตภาพรังสี C-14 ที่เหลืออยู่ในซากดึกดาบรรพ์ และจะสลายตัวไปช้า ๆ
เหลือครึ่งหนึ่งจากเดิมทุก ๆ 5,568 ปี ซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตที่โบราณที่สุดคือสาหร่ายสีเขียวแกมน้า
เงิน (อายุประมาณ 5 พันล้านปี) พบก่อนยุคแคมเบรียบ ยุคแคมเบรียน (6 ร้อยล้านปี) พบซากสาหร่ายสี
เขียว พืชสีเขียวบนบก และ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตที่นับว่าสมบูรณ์ที่สุด
คือ ม้าโบราณ
วิวัฒนาการของม้า
วิวัฒนา
การ
ของม้า
2. หลักฐานจากกายวิภาคเปรียบเทียบ
โครงกระดูกขาหน้าของสัตว์มีกระดูกสันหลัง มีโครงสร้าง และลักษณะการเรียงตัวคล้ายกันเรียกว่า
homologous structure ซึ่งแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของสายวิวัฒนาการของสัตว์เหล่านี้ว่าน่าจะสืบเชื้อ
สายมาจากบรรพบุรุษร่วมกัน ปีกแมลง และปีกค้างคาวซึ่งทาหน้าที่ในการบินเหมือนกันแต่มีโครงสร้าง
ต่างกัน เราเรียกว่าAnalogous structure
3. หลักฐานจากคัพภะวิทยาเปรียบเทียบ
การพัฒนาเอ็มบริโอของสัตว์มีกระดูกสันหลังขณะเป็นตัวอ่อนจะมีช่องเหงือก (gill slits) และ
หางเหมือนกัน เมื่อเจริญเป็นตัวเต็มวัยสัตว์บางชนิดยังปรากฏช่องเหงือกอยู่ แต่บางชนิดปรับเปลี่ยนไป
หางยังพบในสิ่งมีชีวิตหลายชนิดยกเว้นในกลุ่มลิงไม่มีหาง
การพัฒนาเอ็มบริโอของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
4. หลักฐานด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล
นักอนุกรมวิธานและนักชีวเคมี สามารถตรวจสอบความเหมือนกันของลาดับเบสบนสาย DNA นามา
เปรียบเทียบระหว่าง สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ถ้าพบว่า ลาดับเบสบนสายของ DNA มีความเหมือนกันมาก แสดง
ว่า สิ่งมีชีวิตเหล่านั้น มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันในเชิงวิวัฒนาการ หรือ มีบรรพบุรุษร่วมกัน
ความแตกต่างจานวนเบสบนสาย DNA ของ cytochrome C ของสัตว์แต่ละชนิดที่ต่างจากคน
ความแตกต่างจานวน amino acid บนสาย polypeptide ของ hemoglobin ของสัตว์
แต่ละชนิดที่ต่างจากคน ดังนี้
• ลิงรีซัส ต่างจากคน 8 โมเลกุล
• หนู ต่างจากคน 27 โมเลกุล
• ไก่ ต่างจากคน 45 โมเลกุล
• กบ ต่างจากคน 67 โมเลกุล
• ปลาปากกลม ต่างจากคน 125 โมเลกุล
5. หลักฐานทางชีวภูมิศาสตร์
สิ่งมีชีวิต ที่แพร่กระจายในบริเวณภูมิศาสตร์ ต่างๆบนพื้นโลกมีความแตกต่างกัน และมีจานวน
มากหลากหลายสปีชีส์ ลักษณะการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิต ตามภูมิศาสตร์ต่างๆหรือชีวภูมิศาสตร์บ่งบอก
ถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตได้ การแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยบนหมู่เกาะต่างๆที่มีสภาพแวดล้อม
คล้ายกัน คาดว่าสิ่งมีชีวิตเหล่านี้น่าจะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน กลับพบว่าสิ่งมีชีวิตที่พบมีลักษณะแตกต่าง
กัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นด้วย
ตัวกินมดที่กระจายอยู่ในที่ต่างๆ ตามภูมิศาสตร์มีความแตกต่างกัน
การกระจายของนกฟินช์ชนิดต่างๆบนหมู่เกาะกาลาปากอส
หมู่เกาะกาลาปากอสเป็นหมู่เกาะที่เกิดจากภูเขาไฟในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้อยู่ห่างจากทวีปอเมริกา
ใต้ไปทางทิศตะวันตกพบว่านกฟินช์บนหมู่เกาะกาลาปากอส มีลักษณะคล้ายคลึงกับนกฟินช์ที่อาศัยบนทวีป
อเมริกาใต้อาจเป็นไปได้ว่า บรรพบุรุษของนกฟินช์ได้มีการอพยพมาจากทวีปอเมริกาใต้ และได้แพร่
ดารงชีวิตอยู่บนเกาะต่างๆ
นกฟินส์หลายสปีชีส์บนเกาะกาลาปากอส
เนื้อเยื่อและของเหลวในร่างกายของสิ่งมีชีวิตแสดงถึงวิวัฒนาการได้ เนื่องจากมักจะมีความ
คล้ายคลึงกันเช่นน้าย่อยอะไมเลส (amylase) มีตั้งแต่ฟองน้าจนถึงคน ฮอร์โมนในสัตว์ต่างชนิดก็ยัง
เหมือนกัน เช่น คนที่เป็นเบาหวานอาจใช้อินซูลินของวัวฉีดแทนได้ หรือเลือดของคนกับลิงคล้ายกัน
มากกว่า เลือดลิงกับสุนัขหรือเลือด ของสัตว์ชนิดที่ใกล้เคียงกัน นาไปผสมกันจะตกตะกอนมากกว่าเลือด
ของสัตว์ชนิดที่ห่างกัน
6. หลักฐานทางสรีรวิทยา
7. หลักฐานจากการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์
การปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ เป็นการทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิต โดยอาศัย
ความรู้เรื่องการคัดเลือก พันธุ์และผสมพันธุ์โดยมนุษย์ตัวอย่างเช่น ข้าวโพดที่ปลูกกันในปัจจุบันมีหลาย
พันธุ์ เช่น พันธุ์สุวรรณ1 พันธุ์ปากช่อง1602พันธุ์ฮาวายหวานพิเศษ ข้าวโพดพันธุ์สุวรรณ 1 เป็นที่นิยม
ปลูกกันมากได้มาจาก การคัดเลือก พันธุ์และผสมพันธุ์ ของข้าวโพดที่มีลักษณะเด่นจากเขตร้อนในแถบ
ต่างๆ ของโลกจานวน 36พันธุ์ด้วยกัน ลักษณะพิเศษของข้าวโพดพันธุ์นี้คือเมล็ดแข็ง ใสสีส้มต้านทาน
โรคราน้าค้างได้ดี และให้ผลผลิตสูง ประเทศไทยได้มีการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโดยใช้สารกัมมันตรังสีตั้งแต่ปี
2498 ข้าวพันธุ์กข6 กข 10 และ กข 15 เป็นพันธุ์ที่เกิดขึ้นโดยใช้รังสีทั้งสิ้น ข้าวพันธุ์ กข 6 เป็นพันธุ์ข้าว
เหนียวได้มาจากการเปลี่ยนแปลงพันธุ์ข้าวเจ้าขาวดอกมะลิ105 มีลักษณะพิเศษคือให้ผลผลิตสูงต้านทาน
โรคไหม้ และโรคใบจุดสีน้าตาลได้ดีหลักฐานเหล่านี้ แสดงว่าสิ่งมีชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงได้ ดังนั้นในอดีต
อันยาวนาน สิ่งมีชีวิตในธรรมชาติก็น่าจะมีการเปลี่ยนแปลง ได้เช่นกันซึ่งอาจเกิดในอัตราที่ช้ากว่ามาก
และเกิดในทิศทางที่กาหนดโดยธรรมชาติ
สรุป : หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
1. ลักษณะโครงสร้างภายในและภายนอก แบ่งเป็น homologous structure กับ analogous
stucture เช่น ครีบของปลากับครีบของปลาวาฬ ,ปีกของนกกับแขนของมนุษย์
2. ลักษณะแบบแผนการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ โดยเฉพาะสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา นก
กบ และคน ในระยะตัวอ่อนจะมีลักษณะช่องเหงือกที่คล้ายคลึงกัน
3. ลักษณะของซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิต (Fossil) เทอราโนดอล กับ อาร์คีออปเทอรริกซ์ มี
ขากรรไกรยาวมีฟันปลายปีกมีนิ้วคล้ายคลึงกันจึงจัดนกและสัตว์เลื้อยคลานไว้เป็นพวกใกล้เคียงกัน
4. ลักษณะทางด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล เป็นหลักฐานที่ได้จากข้อเท็จจริงที่ว่าสิ่งมีชีวิตมี DNA
เป็นสารพันธุกรรม ยกเว้น ไวรัสบางชนิดและสิ่งมีชีวิตมีกลไกการสังเคราะห์ DNA RNA และโปรตีน
แบบเดียวกัน : รหัสพันธุกรรมเดียวกัน
5. ลักษณะทางชีวภูมิศาสตร์ จากการสังเกตสิ่งมีชีวิตที่แพร่กระจายในบริเวณภูมิศาสตร์ต่างๆบน
พื้นที่โลกจะเห็นได้ว่ามีความแตกต่างกันและมีจานวนมากหลากหลายสปีชีส์ : นกฟินช์กาลาปากอส
ลินเนียส (Carolus Linnaeus,1707-1778)
นักอนุกรมวิธานชาวสวีเดนมีความเชื่อว่า
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะถาวรไม่เปลี่ยนแปลงไปจากแบบเดิม
ผลงานสาคัญของลินเนียส คือ การศึกษาและจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต
เป็นหมวดหมู่และการจัดระบบการตั้งชื่อของสิ่งมีชีวิต โดยใช้หลัก
Binomial nomenclature
บูฟอง (Buffon, 1707-1788)
นักวิทยาศาสตร์ ชาว ฝรั่งเศสมีความเห็นว่า
ลักษณะของสิ่งมีชีวิต มีการเปลี่ยน
แปลงเนื่องมาจากอิทธิพลของสภาพแวดล้อม
“The inheritances of acquired characteristics”
โดยเชื่อว่า โลก มีอายุมากกว่า 6,000 ปี
ประวัติและแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
ต่อมาคริสต์ศตวรรษที่ 18 ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้ามากขึ้น มีนักวิทยาศาสตร์แสดง
ความคิดเห็นแตกต่างกันมีแนวความคิดอีกมากมายก่อให้เกิดเป็น ทฤษฎีวิวัฒนาการ
ลามาร์ค (Lamarck, 1744-1829)
นักวิทยาศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส ที่นาเสนอทฤษฎีวิวัฒนาการเป็นคนแรกแต่
ทฤษฎีถูกปฏิเสธจากนักวิวัฒนาการ เนื่องจากไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยวิธี
ทางวิทยาศาสตร์
ลามาร์ค ศึกษาเปรียบเทียบสิ่งมีชีวิตที่พบแพร่หลายในยุคนั้นกับซาก
ดึกดาบรรพ์ แล้วเสนอกฎ 2 ข้อ คือ
1. กฎการใช้และไม่ใช้ (Law of use and disuse)
2. กฎการถ่ายทอดลักษณะที่เกิดขึ้นมาใหม่ (Law of inheritance of
acquired characteristic)
ร่างกายและส่วนต่างๆมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขนาดตลอดเวลา / มีอวัยวะเกิดขึ้นใหม่เนื่องจากผลของการใช้
งาน / ส่วนใหนที่ถูกใช้จะเจริญหรือเพิ่มขนาด / ส่วนที่ไม่ถูกใช้จะลดขนาดหรือสูญหายไป / ลักษณะที่
เปลี่ยนแปลงนี้สามารถถ่ายทอดไปได้
Lamarckism
“The theory of acquired characteristics”
บรรพบุรุษยีราฟคอสั้นกว่ายีราฟปัจจุบัน กินใบอ่อนบนยอดไม้เป็นอาหาร เมื่อใบอ่อนบริเวณ
ด้านล่างถูกกินหมดต้องยืดคอเพื่อกินยอดไม้ที่อยู่สูงขึ้นไปเป็นเวลานานทาให้คอยาวขึ้นเมื่อยีราฟตัว
นี้มีลูก ลูกที่เกิดจะคอยาวเหมือนแม่และเมื่อทาเช่นนี้ไปหลายชั่วรุ่นเป็นสาเหตุให้ยีราฟรุ่นต่อๆ มา
มีคอยาวขึ้นเรื่อยจนในที่สุดมีคอยาวอย่างที่เห็นในปัจจุบัน
Lamarckism
August Weisman นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันทาการทดลองตัดหางหนูประมาณ 20 ชั่วรุ่นปรากฏว่า
หนูที่เกิดใหม่ยังคงมีหางตามปกติคัดค้านหลักเกณฑ์ของทฤษฏีนี้ นอกจากนี้การศึกษาต่อมาพบว่าการ
ถ่ายทอดลักษณะจะผ่านทางเซลสืบพันธุ์
ปัญหาของทฤษฎี ลามาร์ค ไม่สามารถทดลองพิสูจน์ให้เห็นจริงได้
ทฤษฎีวิวัฒนาการ ของ ดาร์วิน (Darwinism)
ชาร์ล ดาวิน : Charles R. Darwin 1809-1882 นักธรรมชาติวิทยา ชาวอังกฤษ บิดา
ของการศึกษาวิวัฒนาการ ผู้ตั้งทฤษฎีวิวัฒนาการ เรียก Darwinism
หลักเกณฑ์สาคัญทฤษฎีวิวัฒนาการของ ดาร์วิน คือ
กลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Natural Selection)
แนวความคิดที่นาไปสู่การนาเสนอทฤษฎีวิวัฒนาการ ของ ดาร์วิน
1) การเดินทางรอบโลกไปกับเรือ HMS Beagle : 1831-1836
2) ความรู้จาก ไลเอลล์ (Charles Lyell, 1797-1875)
3) ความรู้ที่ได้จาก มัลทัส (Thomas Multhus) : 1766-1834
4) ความรู้ที่ได้จาก วอลเลส (Alfred R. Wallace) : 1823-1913
ดาร์วินเกิดข้อสงสัยว่า สิ่งมีชีวิตก็น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงได้เช่นกัน
1) การเดินทางรอบโลกไปกับเรือ HMS Beagle : 1831-1836
หมู่เกาะกาลาปากอส
กาเนิดจากภูเขาไฟ ตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร ห่างจากประเทศ อิเควดอร์ ประมาณ 600 ไมล์ มีกระแส
น้าอุ่นและน้าเย็นไหลผ่าน พืชบนเกาะเป็นชนิดทนแล้ง สัตว์ที่พบ มีลักษณะแตกต่างไปจากที่อื่น
ดาร์วินได้ทาการบันทึกและรวบรวมซากดึกดาบรรพ์ รวมทั้งตัวอย่างของสิ่งมีชีวิตที่พบ อยู่ใน
สภาพแวดล้อมแตกต่างกัน
นกฟินซ์ชนิดต่างๆ บนหมู่เกาะกาลาปากอส
นกม๊อกกิ้งที่มีความหลากหลาย (Variation of Mocking birds)
ตัวอย่างสัตว์ที่สาคัญบางชนิดที่ดาร์วินพบจากการศึกษา
(Darwin’s Evidence for Evolution)
ดาร์วินได้สังเกตลักษณะของพืชและสัตว์หลายชนิด เช่น นกฟินช์ที่พบแพร่กระจายตามหมู่เกาะต่างๆ บน
หมู่เกาะ กาลาปากอส ดารงชีวิตด้วยการกินอาหารที่แตกต่างกัน ตามสภาพแวดล้อมของเกาะ จะมีจะงอย
ปากแตกต่างกันและแตกต่างจากจะงอยปากของนกฟินช์ในประเทศอีเควดอร์
ลักษณะจะงอยปากที่แตกต่างกันของนกฟินช์ที่พบบนหมู่เกาะกาลาปากอส
2) ความรู้จาก ไลเอลล์ (Charles Lyell, 1797-1875)
นักธรณีวิทยา ชาวอังกฤษ เขียนหนังสือ ธรณีวิทยา “The Principle of Geology”
ไลเอลล์ เป็นผู้ที่ สนับสนุนทฤษฎี The Principle of
Uniformitarianism “Present is the Key to the Past”
โดยเชื่อว่าสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเป็นอย่างไรมีสาเหตุสาคัญมาจากในอดีต
3) ความรู้ที่ได้จาก มัลทัส (Thomas Multhus) : 1766-1834
นักประชากรศาสตร์ เขียนหนังสือ เรื่อง “The Principle of
Population” มีใจความตอนหนึ่งที่กล่าวว่า “อัตราการเพิ่มของประชากร
เป็นแบบทวีคูณ ในขณะที่อัตราการเพิ่มของอาหาร เป็นแบบผลบวกเลข
คณิต” อัตราส่วนในการเพิ่ม จึงไม่สัมพันธ์กัน
ดาร์วิน นาหลักเกณฑ์นี้ อธิบาย ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
ในหนังสือ The Principles of Geology กล่าวว่า โลกเกิดมานานมีอายุหลาย
พันปี และมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป
4) ความรู้ที่ได้จาก วอลเลส (Alfred R. Wallace) : 1823-1913
วอลเลส มีแนวคิดเช่นเดียวกับดาร์วิน โดยเขียนบทความเกี่ยวกับ การ
คัดเลือกโดยธรรมชาติ ส่งให้ดาร์วิน ในชื่อเรื่อง “On the Tendency of
Varieties to Depart Indifinitely From the Origin Type”
การศึกษาของวอลเลส ทาในพื้นที่หมู่เกาะมาเลย์อาชิเพลาโก (Malay
archipelago)
Malay Archipelago
บริเวณที่ วอลเลส ทาการศึกษา
Bird of paradise
By studying beetles
Wallace noted "how insects evolve very, very quickly,"
จากความรู้ต่างๆ รวมทั้งบทความของวอลเลส ดาร์วิน เขียนหนังสือ เกี่ยวกับกาเนิดของสิ่งมีชีวิต
และ ตีพิมพ์ในปีค.ศ. 1859 โดยใช้ชื่อเรื่องว่า The Origin of Species by Means of
Natural Selection
หลักเกณฑ์ต่างๆเหล่านี้ต่อมากลายเป็นทฤษฎีวิวัฒนาการ เรียก ทฤษฎีการคัดเลือกโดย
ธรรมชาติ (The Theory of Natural Selection)
หลักเกณฑ์ทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วิน
1. สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด มีความสามารถในการสืบพันธุ์สูง ถ้าทุกตัวมีโอกาสอยู่รอดได้เท่ากันหมด
ส่งผลให้ประชากรมีจานวนเพิ่มมากขึ้น
2. สมาชิกในกลุ่มประชากร มีลักษณะแตกต่างแปรผัน มากบ้างน้อยบ้าง
3. เมื่อสมาชิกอยู่รวมกัน มีการแข่งขัน แก่งแย่งทรัพยากร ในการดารงชีวิต ได้แก่ อาหาร ที่อยู่
อาศัย และสิ่งอื่นๆ ตัวใหนที่แข็งแรงกว่า มีความสามารถมากกว่าอยู่รอดได้ ตัวที่อ่อนแอถูกกาจัด
เกิด การคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Natural Selection)
4. ตัวที่ถูกคัดเลือกไว้ สามารถสืบพันธุ์และ ถ่ายทอดลักษณะต่อไปยังลูกหลาน เมื่อกาลเวลาผ่านไป
มีการสะสมลักษณะที่เปลี่ยนแปลงเพิ่มมากขึ้น ในที่สุดทาให้กลายเป็น สิ่งมีชีวิตชนิดใหม่
หลักเกณฑ์ทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วิน
1. ความสามารถในการสืบพันธุ์สูง
2. มีลักษณะแตกต่างแปรผัน
3. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Natural Selection)
4. ตัวที่ถูกคัดเลือกไว้จะสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะต่อไปยัง
ลูกหลาน
หลักเกณฑ์ทฤษฏีวิวัฒนาการของดาร์วินได้รับการยอมรับและ
กระตุ้นให้นักวิทยาศาสตร์สนใจศึกษาวิวัฒนาการเพิ่มมากขึ้น
ปัญหาของทฤษฎีดาร์วิน
* รับแนวความคิดของลามาร์คในเรื่องอิทธิพลของสภาพแวดล้อม
* ไม่สามารถอธิบายขั้นตอนการแปรผันลักษณะที่เกิดขึ้น
* ไม่สามารถอธิบายได้ว่า การแปรผันลักษณะที่เกิดขึ้นสามารถ
คงอยู่ในสภาพแวดล้อมได้อย่างไร
ดาร์วินเข้าใจกลไกการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต นั่นคือ สิ่งมีชีวิตที่พบแพร่กระจายบนโลกเกิด
จากการสะสมลักษณะที่แตกต่างไปจากบรรพบุรุษ ซึ่งเป็นลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมขณะนั้น
และได้รับการคัดเลือกให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมนั้น ซึ่งเรียกว่า การปรับตัว
การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตเพื่อให้เข้ากับสภาพ แวดล้อมสามารถเกิดเป็นสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ใหม่ขึ้นได้
ดาร์วิน พิมพ์ผลงานของตนลงในหนังสือ Origin of Species by Means of Natural Selection
เอินส์ เมียร์ (Ernst Mayr) ได้วิเคราะห์ทฤษฎี การคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วินที่ปรากฏอยู่ในหนังสือ
ซึ่งมีข้อสังเกต ดังนี้
1 สิ่งมีชีวิตมีความสามารถในการสืบพันธุ์ และ ให้กาเนิดลูกหลานได้จานวนมาก
2 จานวนสมาชิกของประชากรแต่ละสปีชีส์ ในแต่ละรุ่นมักจะมีจานวนคงที่
3 ปัจจัยที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตมีปริมาณจากัด
4 สิ่งมีชีวิตแต่ละตัวในประชากรมีลักษณะที่แปรผัน แตกต่างกัน
5 ความแปรผันที่เกิดขึ้นนี้สามารถถ่ายทอดไปยัง รุ่นต่อไปได้
จากข้อสังเกตทาให้ได้ข้อสรุป ดังนี้
1 สิ่งมีชีวิตมีการต่อสู้ดิ้นรนเพื่อการอยู่รอดและให้ได้สิ่งที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต ซึ่งมีจานวนจากัดจึงมี
สมาชิกเพียงส่วนหนึ่งที่อยู่รอด
2 การอยู่รอดของสมาชิกในสิ่งแวดล้อมเป็นผล มาจากลักษณะทางพันธุกรรมที่แตกต่างกันของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมมีโอกาสอยู่รอดจะให้กาเนิดลูกหลานได้มากกว่าสิ่งมีชีวิตที่มี
ลักษณะไม่เหมาะสม
3 สิ่งมีชีวิตมีศักยภาพในการอยู่รอดและให้กาเนิดลูกหลานไม่เท่ากัน ทาให้ประชากรมีการเปลี่ยนแปลงและมี
ลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมสะสมเพิ่มขึ้นในแต่ละรุ่น
สรุปแนวคิดของดาร์วิน ในเรื่องการคัดเลือกโดยธรรมชาติได้ดังนี้
1. ทาให้สิ่งมีชีวิตแต่ละตัวมีความสามารถในการอยู่รอด และให้กาเนิดลูกหลานแตกต่างกัน
2. เกิดขึ้นจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมที่ประชากรอาศัยอยู่ กับลักษณะความแปรผันทางพันธุกรรม
ของสมาชิกในประชากร
3. ทาให้ประชากรมีการปรับตัวให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมนั้นการคัดเลือกเป็นแรงผลักดัน
ให้เกิดวิวัฒนาการ เช่นจากการคัดเลือกของมนุษย์ ในการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์
ในระหว่างปี 1822-1884 เมนเดล (Gregor J. Mendel) บาทหลวงและนักพฤกษศาสตร์ชาว
ออสเตรีย ทาการทดลองผสมต้นถั่วค้นพบการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม ผลการทดลองสนับสนุนให้
เห็นว่า การแปรผันของลักษณะในสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นได้อย่างไร
ดาร์วิน ได้ชื่อว่า บิดาแห่งวิวัฒนาการ
เมนเดล ได้ชื่อว่า บิดาแห่งพันธุศาสตร์
ในศตวรรษที่ 19 เมื่อเมนเดล (Gregor Mendel) ค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะในสิ่งมีชีวิต
นับเป็นก้าวสาคัญในการเข้าใจกลไกเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตได้ดีขึ้น อันนาไปสู่ความเข้าใจใน
เรื่องความผันแปรลักษณะต่างๆ และกลไกการถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิต
ทฤษฎีวิวัฒนาการในปัจจุบัน พื้นฐานสาคัญของกระบวนการยังคงเป็นการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ซึ่ง
จะเกิดขึ้นได้สิ่งมีชีวิตจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้
1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติได้เกิดจากการดิ้นรนเพื่อการอยู่รอดโดยตรง และอยู่ที่ความสามารถใน
การสืบพันธุ์และแพร่พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด ซึ่งมีความแตกต่างกันมากบ้างน้อยบ้าง
(differential reproduction)
2. การแปรผันทางวิวัฒนาการเกิดจากการแปรผันของลักษณะทางพันธุกรรม โดยการกลายซึ่ง
ถ่ายทอดผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อและแม่
3. หน่วยสาหรับกระบวนการวิวัฒนาการต้องเป็นระดับประชากร วิวัฒนาการจึงเป็นการ
เปลี่ยนแปลงทางพันธุ์ศาสตร์เชิงประชากร ซึ่งประชากรหมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
ที่อาศัยอยู่ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งและสามารถผสมพันธุ์กันได้ ประชากรจึงเป็นแหล่งสะสมจีน
รูปแบบต่างๆ ซึ่งเรียกว่า “กองกลางของจีนหรือจีนพูล (gene pool)” ถ้าจีนเปลี่ยนแปลงทั้งใน
เชิงปริมาณและคุณภาพจะเป็นสาเหตุให้เกิดวิวัฒนาการ
ทฤษฎีวิวัฒนาการปัจจุบัน Modern synthesis หรือ Synthetic Theory
นับตั้งแต่ในปี1935 ได้มีการนาความรู้ใหม่ๆ ในสาขาวิชาต่างๆ ได้แก่ พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์ประชากร การศึกษาทางชีวโมเลกุลและวิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆ ถูกนามา
ผสมผสานอธิบายใช้ร่วมกับ กลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ของ
ทฤษฎีดาร์วิน หลักใหญ่อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของลักษณะ (traits)
ทฤษฎีวิวัฒนาการปัจจุบัน เรียกว่า Neo-Darwinism หรือ Synthetic Theory
จะเห็นได้ว่าหลักเกณฑ์ทฤษฎีวิวัฒนาการมีการเปลี่ยนแปลงไปตามเหตุผลและกาลเวลา
ทฤษฎีวิวัฒนาการสังเคราะห์ (synthetic theory of evolution) เน้นความสาคัญของประชากรซึ่งเป็น
หน่วยของวิวัฒนาการ โดยสิ่งมีชีวิตแต่ละตัวในประชากรเดียวกันมีความแปรผันแตกต่างกัน ลักษณะทาง
พันธุกรรมที่เหมาะสมต่อสภาพแวดล้อม ก็จะประสบความสาเร็จในการสืบพันธุ์ และถ่ายทอดลักษณะไป
ยังรุ่นต่อไป ทาให้สัดส่วนของลักษณะทางพันธุกรรมดังกล่าวในประชากรเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการคัดเลือก
โดยธรรมชาติเป็นกลไกหลักที่สาคัญที่สุดที่ก่อให้เกิดวิวัฒนาการขึ้น
พันธุศาสตร์ประชากร (Population Genetics)
 ประชากรหมายถึงกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่หนึ่งๆ
 สมาชิกในประชากรสามารถสืบพันธุ์ระหว่างกันได้และ ให้ลูกที่ไม่เป็นหมัน
 ยีนพูล (gene pool) คือยีนทั้งหมดที่มีอยู่ในประชากรในช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วย แอลลีลทุก
แอลลีลจากทุกยีนของสมาชิกทุกตัว
 พันธุศาสตร์ประชากรเป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนหรือการเปลี่ยนแปลงความถี่ของ
แอลลีล
การหาความถี่แอลลีลในประชากร
ปริมาณของแอลลีลแต่ละชนิดเมื่อเทียบกับจานวนแอลลีลทั้งหมดในประชากร
เช่น 1. สมาชิกมีจีโนไทป์ 3 แบบ ตามจานวน สมาชิก ดังนี้
AA = 400 คน Aa = 400 คน และ aa =200 คน
จานวนแอลลีลทั้งหมดในประชากร = 1000 x 2= 2000 แอลลีล
จานวนแอลลีล A = 400 x 2 (กลุ่มสมาชิก AA) + 400 (กลุ่มสมาชิก Aa)
จานวนแอลลีล a = 200 x 2 (กลุ่มสมาชิก aa) + 400 (กลุ่มสมาชิก Aa)
ความถี่แอลลีล A = จานวนของแอลลีล A /จานวนของแอลลีลทั้งหมด = 1200 / 2000 = 0.6
ความถี่แอลลีล a = จานวนของแอลลีล a /จานวนของแอลลีลทั้งหมด = 800 / 2000 = 0.4
ผลรวมความถี่แอลลีลทั้งหมด = 0.6 + 0.4 = 1
2. ประชากรไม้ดอกชนิดหนึ่งที่ลักษณะสีดอก ถูกควบคุมโดยยีน 2 แอลลีล คือ
R ควบคุมลักษณะดอกสีแดง เป็นลักษณะเด่น r ควบคุมลักษณะดอกสีขาว เป็นลักษณะด้อย
ในประชากรไม้ดอก 1,000 ต้น มี สีขาว 40 ต้น สีแดง 960 ต้น โดยกาหนดให้ ดอกสีแดงที่มีจีโนไทป์ RR
640 ต้น ดอกสีแดงที่มีจีโนไทป์ Rr 320 ต้น
สีแดง สีแดง สีขาว
  
จีโนไทป์ RR Rr rr
จานวนต้น 640 320 40
ความถี่ของจีโนไทป์ RR 640/1,000 = 0.64 Rr 320/1,000 = 0.32 rr 40/1,000 = 0.04
จานวนแอลลีลของยีนสีดอก = 1,000 x 2 = 2,000
ความถี่ของแอลลีล R = 1,600/2,000 = 0.8
ความถี่ของแอลลีล r = 400/2,000 = 0.2
ทฤษฎีของฮาร์ดี - ไวน์เบิร์ก
จี เอช ฮาร์ดี และ ดับเบิลยู ไวน์เบิร์ก ได้ศึกษายีนพูลของประชากร และได้เสนอทฤษฎีว่า “ความถี่ของแอล
ลีลและความถี่ของจีโนไทป์ ยีนพูลของประชากรจะมีค่าคงที่ในทุก ๆ รุ่น ถ้าไม่มีปัจจัยบางอย่างมา
เกี่ยวข้องปัจจัยบางอย่าง เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ได้แก่ มิวเทชัน, การ
คัดเลือกโดยธรรมชาติ, การอพยพ, Random Genetic Drift และ การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน”
ตัวอย่างของการศึกษาทฤษฎีของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก
ประชากรรุ่นพ่อแม่มีความถี่ของแอลลีล R = 0.8 และ r = 0.2 ถ้าสมาชิกทุกต้นในประชากรมีโอกาสผสพันธุ์
ได้เท่า ๆ กันแล้ว เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียที่มีแอลลีล R ความถี่ = 0.8 และ r ความถี่ =
0.2 การรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์จากประชากรในรุ่นพ่อแม่  RR = 0.64  Rr = 0.16
rR = 0.16 rr = 0.04
ประชากรไม้ดอกในรุ่นลูกยังคงมีความถี่ของจีโนไทป์ และ ความถี่ของแอลลีล เหมือนประชากรในรุ่นพ่อ
แม่ นั่นคือ ยีนพูลของประชากรอยู่ในภาวะสมดุลของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก
อธิบายสมการของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก
กาหนดให้ p คือ ความถี่ของแอลลีล R = 0.8 q คือ ความถี่ของแอลลีล r = 0.2
p + q = 1 นั่นคือ ผลรวมความถี่ ของแอลลีลของยีนหนึ่งๆในประชากร มีค่าเท่ากับ 1
p = 1- q หรือ q = 1 – p
เมื่อเซลล์สืบพันธุ์รวมตัวกัน ความถี่ของจีโนไทป์ ในรุ่นต่อไปจะเป็นไปตามกฎของการคูณ คือ
ความถี่ของจีโนไทป์ RR คือ p2 = (0.8)2 = 0.64
ความถี่ของจีโนไทป์ rr คือ q2 = (0.2)2 = 0.04
ความถี่ของจีโนไทป์ Rr คือ 2pq = 2(0.8)(0.2) = 0.32
เมื่อรวมความถี่ของทุกจีโนไทป์ จะมีค่าเท่ากับ 1 นั่นคือ p2 + 2pq + q2 = 1
สรุปว่า เมื่อประชากรอยู่ในสมดุลของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก ความถี่ของแอลลีล และความถี่จีโนไทป์ จะคงที่ ไม่
มี การเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะถ่ายทอดพันธุกรรมไปกี่รุ่นก็ตาม นั่นคือ ไม่เกิดวิวัฒนาการนั่นเอง
ประชากรจะอยู่ในสมดุลของ ฮาร์ดี –ไวน์เบิร์ก จะต้องมีเงื่อนไขดังนี้
 ประชากรมีขนาดใหญ่
 ไม่มีการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีนระหว่างกลุ่มประชากร
 ไม่เกิดมิวเทชัน ที่จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของแอลลีลในประชากร
 สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสมพันธุ์ได้เท่ากัน
 ไม่เกิดการคัดเลือกโดยธรรมชาติ โดยสิ่งมีชีวิตทุกตัวมีโอกาสอยู่รอด และประสบความสาเร็จในการ
สืบพันธุ์ได้เท่าๆ กัน
การประยุกต์ใช ้ทฤษฎีของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก
นามาใช้ในการคาดคะเนความถี่ของแอลลีล ที่เกี่ยวข้องกับโรคทางพันธุกรรมในยีนพูลของประชากร
เช่น โรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ ถ้าทราบจานวนคนที่เป็นโรคนี้ (ซึ่งถูกควบคุมด้วยยีนด้อย) จะ
สามารถประมาณจานวนประชากรที่เป็นพาหะของยีนที่ทาให้เกิดโรคนี้ได้
ตัวอย่าง
ประชากรทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือจังหวัดหนึ่งมีคนเป็นโรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์จานวน 9 คน
จากประชากรทั้งหมด 10,000 คน
กาหนดให้ จีโนไทป์ aa แสดงลักษณะของโรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์
ความถี่ของ aa คือ q2 = 9 / 10,000 = 0.0009
q = 0.03
แสดงว่า ในประชากรแห่งนี้มีความถี่ของแอลลีลที่ ทาให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์
เท่ากับ 0.03 หรือคิดเป็น 3% นั่นเอง ประชากรกลุ่มนี้มีพาหะโรคโลหิตจางประมาณเท่าไหร่ ?
ประมาณ 582 คน
สรุป : พันธุศาสตร์ประชากร Population genetics
หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่หนึ่งๆโดยสมาชิกในประชากรของสิ่งมีชีวิตนั้น
สามารถสืบพันธุ์ระหว่างกันได้และให้ ลูกที่ไม่เป็นหมัน ในประชากรหนึ่งๆจะประกอบด้วยสมาชิกที่มียีน
ควบคุมลักษณะต่างๆจานวนมาก ยีนทั้งหมดที่มีอยู่ในประชากรในช่วงเวลาหนึ่งเรียกว่ายีนพูล
(genepool) ซึ่งประกอบด้วยแอลลีล(allele)ทุกแอลลีลจากทุกยีนของสมาชิกทุกตัวในประชากรนั้น
ดังนั้นพันธุศาสตร์ประชากร เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีน (gene
frequency) หรือการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล( allele frequency) ที่เป็นองค์ประกอบทาง
พันธุกรรมของประชากร และปัจจัยที่ทาให้ความถี่ของแอลลีลเปลี่ยนแปลง สิ่งที่น่าสนใจคือเราจะศึกษา
ความถี่ของแอลลีลในประชากรได้อย่างไร
1.การหาความถี่ของแอลลีลในประชากร
สิ่งมีชีวิตที่เป็นดิพลอยในแต่ละเซลล์มีจานวนโครโมโซมเพียง 2 ชุด และแต่ละยีนจะมี 2 แอลลีล ดังนั้นถ้าเรารู้
จานวนจีโนไทป์แต่ละชนิดของประชากร เราจะสามารถหาความถี่ของจีโนไทป์ ( genotype frequency) และความถี่ของ
แอลลีลในประชากรได้จากตัวอย่างดังนี้ในกลุ่มประชากรไม้ดอกชนิดหนึ่งที่ลักษณะสีดอกถูกควบคุมโดย ยีน 2 แอลลีล คือ R
ควบคุมลักษณะดอกสีแดงเป็นลักษณะเด่น และ r ควบคุมลักษณะดอกสีขาวซึ่งเป็นลักษณะด้อย ในประชากรไม้ดอก 1,000
ต้น มีดอกสีขาว 40 ต้น และดอกสีแดง 960 ต้น โดยกาหนดให้เป็นดอกสีแดงที่มีจีโนไทป์ RR 640 ต้น และดอกสีแดงมีจีโน
ไทป์ Rr 320 ต้น ดังนั้นในประชากรไม้ดอกนี้จะมีความถี่ของแอลลีล R = 0.8 และความถี่ของแอลลีล r = 0.2 ดังแสดงใน
ภาพ
2. ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก
จี เอช ฮาร์ดี ( G.H. Hardy ) และดับเบิลยู ไวน์เบิร์ก ( W. Weinberg ) ได้ศึกษายีนพูลของประชากร และได้แสนอ
ทฤษฎีของฮาร์ดีไวน์เบิร์ก(Hardy–WeinbergTheorem)ขึ้นโดยกล่าวว่าความถี่ของแอลลีลและความถี่ของจีโนไทป์ในยีน
พูลของประชากรจะ มีค่าคงที่ในทุกๆรุ่น ถ้าไม่มีปัจจัยบางอย่างมาเกี่ยวข้อง เช่น มิวเทชัน การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การ
อพยพ แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) และการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน ( gene flow) เป็นต้น ซึ่งปัจจัย
ดังกล่าวก็จะได้ศึกษาในหัวข้อต่อไปเราสามารถทฤษฎีของ ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ได้จากตัวอย่างประชากรไม้ดอก พบว่า ยีนพูล
ของประชากรรุ่นพ่อแม่นั้นมีความถี่ของแอลลีล R = 0.8 และ r = 0.2 ถ้าสมาชิกทุกต้นในประชากรมีโอกาสผสมพันธุ์ได้
เท่าๆกันแล้วเซลล์สืบพันธุ์เพศ ผู้ และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียที่มีแอลลีล R มีความถี่ = 0.8 และ r มีความถี่ = 0.2 เมื่อมีการ
รวมกันของเซลล์สืบพันธุ์ ประชากรไม้ดอกในรุ่นลูกจะมีจีโนไทป์ดังแสดงในภาพ
ดังนั้นความถี่ของจีโนไทป์ของ
ประชากรในรุ่นลูกมีดังนี้
RR = 0.64
2Rr = 0.32
rr = 0.04
และจากความถี่ของจีโนไทป์ในรุ่นลูกดังกล่าว แสดงว่าความถี่ของแอลลีลในรุ่นลูกมีความถี่ของแอลลีล R
= 0.8 และ r = 0.2นั่นคือ ประชากรไม้ดอกในรุ่นลูกยังคงมีความถี่ของจีโนไทป์ และความถี่ของแอลลีล
เหมือนประชากรในรุ่นพ่อแม่ หรืออาจกล่าวได้ว่ายีนพูลของประชากรอยู่ในภาวะสมดุลของ ฮาร์ดี-ไวน์
เบิร์ก ( Hardy – Weinberg Equilibrium หรือ HWE ) จากตัวอย่างประชากรไม้ดอกสีแดง และสีขาวที่
กล่าวมาแล้วนั้น สีของดอกไม้เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีน 2 แอลลีล คือ R และ r จะ
อธิบายสมการของ ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ได้ดังนี้
กาหนดให้ p คือความถี่ของแอลลีล R = 0.8
q คือความถี่ของแอลลีล r = 0.2
และ p + q = 1 นั่นคือ ผลรวมความถี่ของแอลลีลของยีนหนึ่งๆในประชากรมีค่าเท่ากับ 1
ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า p = 1 – q หรือ q = 1 – p
เมื่อเซลล์สืบพันธุ์รวมตัวกัน ความถี่ของจีโนไทป์ในรุ่นต่อไปจะเป็นไปตามกฎของการคูณ คือ
ความถี่ของจีโนไทป์ RR คือ p2 = ( 0.8 )2 = 0.64
ความถี่ของจีโนไทป์ rr คือ q2 = ( 0.2 )2 = 0.04
และความถี่ของจีโนไทป์ Rr คือ 2pq = 2(0.8)(0.2) = 0.32
เมื่อรวมความถี่ของทุกจีโนไทป์จะมีค่าเท่ากับ 1นั่นคือ p2 + 2pq + q2 = 1
จากสมการของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก สามารถนามาใช้หาความถี่ของแอลลีล และความถี่ของจีโนไทป์ของยีนพูลใน
ประชากรได้ ดังนั้น เมื่อประชากรอยู่ในสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ความถี่ของแอลลีล และความถี่ของจีโนไทป์ใน
ยีนพูลของประชากรจะคงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะถ่ายทอดพันธุกรรมไปกี่รุ่นก็ตาม หรืออีกนัยหนึ่งคือ ไม่
เกิดวิวัฒนาการนั่นเอง
ประชากรจะอยู่ในสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กได้ จะต้องมีเงื่อนไข ดังนี้
1. ประชากรมีขนาดใหญ่
2. ไม่มีการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีนระหว่างกลุ่มประชากร
3. ไม่เกิดมิวเทชัน ซึ่งจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของแอลลีลในประชากร
4. สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสมพันธุ์ได้เท่ากัน
5. ไม่เกิดการคัดเลือกโดยธรรมชาติ โดยสิ่งมีชีวิตทุกตัวมีโอกาสอยู่รอด และประสบความสาเร็จในการสืบพันธุ์ได้
เท่าๆกัน
3. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก
เราสามารถนาทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก มาใช้ประโยชน์ในการคาดคะเนความถี่ของแอลลีลที่
เกี่ยวข้องกับโรคทางพันธุกรรม ในยีนพูลของประชากร เช่นโรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ ถ้าทราบ
จานวนคนที่เป็นโรคนี้ซึ่งถูกควบคุมด้วยยีนด้อย จะสามารถประมาณจานวนประชากรที่เป็นพาหะของยีน
ที่ทาให้เกิดโรคนี้ได้
ตัวอย่างเช่น ในประชากรทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดหนึ่งมีคนเป็นโรคโลหิตจางชนิดซิก
เคิลเซลล์ จานวน 9 คน จากจานวนประชากรทั้งหมด 10,000 คน ดังนั้นจะสามารถคาดคะเนความถี่ของ
แอลลีลที่ทาให้เกิดโรคในประชากรของจังหวัด นี้ได้ โดยกาหนดให้จีโนไทป์ aa แสดงลักษณะของโรค
โลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์
ดังนั้นความถี่ของ aa คือ q2 = 9/10000 = 0.0009 ความถี่ของจีโนไทป์
q = 0.3
แสดงว่าในประชากรแห่งนี้ มีความถี่ของแอลลีลที่ทาให้เกิดโรค
โลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ เท่ากับ 0.03 หรือประมาณร้อยละ 3 นั่นเอง
ตัวอย่างข้อสอบจริง PAT 2 (ชีววิทยา)
ทบทวนพันธุศาสตร์ประชากร (Population Genetics)
ในประชากรกลุ่มหนึ่งพบว่ามีประชากรหมู่เลือด Rh- อยู่ 16% เมื่อประชากรนี้่อยู่ในภาวะสมดุล
ของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก จงคานวณหาความถี่ของแอลลีนในประชากร
ประชากรของหนู ณ ทุ่งหญ้าแห่งหนึ่ง อยู่ในสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก พบว่า 36 % ของประชากร
หนูมีสีเทาซึ่งเป็นลักษณะด้อย (aa) นอกนั้นเป็นหนูสีดาซึ่งเป็นลักษณะเด่น
(1) จานวนประชากรของหนูที่มีจีโนไทป์แบบเฮเทอโรไซกัสเป็นเท่าใด
(2) ความถี่ของแอลลีน a ในยีนพูลของประชากรเป็นเท่าใด
(3) ถ้าประชากรหนูมีจานวน 500 ตัว จะมีหนูที่มีลักษณะขนสีดาที่มีจีโนไทป์แบบฮอมอไซกัสกี่ตัว
Microevolution
(Non Hardy –
Weinberg
Equilibrium)
ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
ส่งผลให้เกิด Microevolution
ประชากรเกิดการเปลี่ยนแปลงกะทันหัน
ผลกระทบจากผู้ก่อตัว
ปรากฏการณ์คอขวด
ข้อแตกต่างระหว่างการคัดเลือกโดยธรรมชาติและมิวเทชัน
มิวเทชัน เป็นการสร้างลักษณะทางพันธุกรรมขึ้นมาใหม่ในประชากร ซึ่งอาจเป็นลักษณะที่ดีหรือไม่ดีใน
ประชากรนั้น
การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ไม่ได้สร้างลักษณะ ทางพันธุกรรมขึ้นมาใหม่ แต่คัดเลือกลักษณะทาง
พันธุกรรมที่มีอยู่ในประชากรที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่
การเกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่
1. การแยกกันตามสภาพภูมิศาสตร์หรือนิเวศวิทยา (geological หรือ
ecological isolation)
2. การแยกกันในเชิงการสืบพันธุ์ (reproduction isolation)
3. การแยกกันในเชิงพันธุศาสตร์ การผสมพันธุ์ของสมาชิกที่
เกิดปรากฎการณ์เปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซม อาจจะเพิ่มขึ้นหรือ
ลดลงจากจานวนปกติ ส่วนใหญ่จะเป็นการเพิ่มจานวนโครโมโซม
มากกว่า 2 ชุด ขึ้นไปโดยอาจเป็น 3 ชุด หรือ 4 ชุด หรือมากกว่านี้
เรียกว่า “พอลิพลอยด์ (polyploid)”
 ความหมายของสปีชีส์
1. ด้านสัณฐานวิทยา สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันทางสัณฐานและโครงสร้างทางกายวิภาค (ใช้เป็นแนวคิด
ด้านอนุกรมวิธาน)
2. ด้านชีววิทยา สิ่งมีชีวิตที่สามารถผสมพันธุ์กันได้ในธรรมชาติให้กาเนิดลูกที่ไม่เป็นหมัน
ล่อ (Mule and hinny)
คนรู้จักผสมพันธุ์มาตั้งแต่โบราณ ทหารโรมันรู้จักใช ้
ล่อเป็นสัตว์ชักลากและบรรทุกของหนัก
ลูกผสมมักจะแข็งแรงและใช ้งานดีกว่าพ่อแม่
* ม ้าตัวเมียผสมกับลาตัวผู้ ลูกออกมาเป็นล่อ (mule)
* ม ้าตัวผู้ผสมกับลาตัวเมีย ลูกออกมาเป็นล่อ (hinny)
ผลลัพธ์ที่สาคัญประการหนึ่งของวิวัฒนาการคือการเกิดสิ่งมีชีวิตใหม่ (speciation) ที่อาจเกิดขึ้นได้
กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
 การเกิดสิ่งมีชีวิตใหม่เนื่องจากการอยู่ต่างพื้นที่ (allopatric speciation) กรณีนี้ประชากรรุ่นบรรพ
บุรุษเดิมอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ต่อมาเกิดการแบ่งแยกซึ่งอาจเกิดจากแผ่นดินแยกจากกัน หรือมี ภูเขา
เกิดขึ้นภายหลัง หรือมีทะเลเข้ามาแบ่งแยกพื้นที่เดิม ทาให้ประชากรกลุ่มเดิมต้องแยกออกจากกัน
และมีการปรับเปลี่ยนไปตามการคัดเลือกของธรรมชาติ กระทั่งในที่สุดเกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ที่ต่าง
ไปจากเดิม ดังเช่นการเกิดไดโนเสาร์กินเนื้อสามสกุลในสามทวีป
 การเกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ในพื้นที่เดียวกันกับบรรพบุรุษอาศัยอยู่ (sympatric speciation) ในกรณี
นี้สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นยังคงอยู่ปะปนกับบรรพบุรุษ แต่ไม่มีการผสมระหว่างกัน หรือมีปฏิสัมพันธ์ต่อ
กัน การเปลี่ยนแปลงยีนเพียงไม่กี่ยีนอาจทาให้สิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไปและไม่สามารถผสมพันธุ์กับ
สมาชิกตัวอื่นที่มียีนต่างกัน ตัวอย่างเช่นตัวต่อ (wasp) ซึ่งเป็นแมลงช่วยผสมเกสรของพืชพวก
มะเดื่อ (Ficus sp.) การเปลี่ยนแปลงยีนในตัวต่อทาให้เกิดการเลือกชนิดของมะเดื่อชนิดอื่นแทน
ชนิดเดิม ตัวต่อไม่สามารถผสมกับต่อชนิดเดิมได้ แต่จะผสมพันธุ์กับต่อที่มียีนเปลี่ยนแปลงไป
เหมือนกันแทน เมื่อเป็นเช่นนี้นานๆ จะทาให้ได้ต่อ 2 ชนิดในพื้นที่เดิม
การเกิดสิ่งมีชีวิตใหม่ (speciation)
ชีพพิสัย (niche) คือ วิถีชีวิตของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง ตั้งแต่เกิดจนตาย
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
Thitaree Samphao
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
พัน พัน
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
Wuttipong Tubkrathok
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
Thanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
kanyamadcharoen
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Nattha Phutthaarun
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 

Viewers also liked

กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
Wan Ngamwongwan
 
Cell
CellCell
Microbiology4.5
Microbiology4.5Microbiology4.5
Microbiology4.5
kkrunuch
 
Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
Pl'nice Destiny
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราพัน พัน
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
Microbiology
Microbiology Microbiology
Microbiology
Atheer Ahmed
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
Min Minho
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชtarcharee1980
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 monera
nazmnazm070838
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
Pinutchaya Nakchumroon
 

Viewers also liked (17)

กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
Cell
CellCell
Cell
 
Microbiology4.5
Microbiology4.5Microbiology4.5
Microbiology4.5
 
Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
Cell
CellCell
Cell
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Microbiology
Microbiology Microbiology
Microbiology
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 monera
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 

Similar to บท4วิวัฒนาการ

Cellularres tu
Cellularres tuCellularres tu
Cellularres tu
Wichai Likitponrak
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Wichai Likitponrak
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
Wichai Likitponrak
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
Wichai Likitponrak
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
Wichai Likitponrak
 
เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60
Wichai Likitponrak
 
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
Soraj Hongladarom
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1Wichai Likitponrak
 
Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
Wichai Likitponrak
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
Wichai Likitponrak
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
waritsaratengrungsun
 
Post Female reproduction Room 825 Group 2
Post Female reproduction Room 825 Group 2Post Female reproduction Room 825 Group 2
Post Female reproduction Room 825 Group 2
WongsathonWongsusawa
 
การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4
การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4
การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4
Pakorn Korn
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
NawatHongthongsakul
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
Wichai Likitponrak
 
Human embryo 341 group 5
Human embryo   341 group 5Human embryo   341 group 5
Human embryo 341 group 5
NutthaprapaKhwanwong
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
Wichai Likitponrak
 

Similar to บท4วิวัฒนาการ (20)

Cellularres tu
Cellularres tuCellularres tu
Cellularres tu
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60
 
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
 
Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
Unit1 organism
Unit1 organismUnit1 organism
Unit1 organism
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
 
Post Female reproduction Room 825 Group 2
Post Female reproduction Room 825 Group 2Post Female reproduction Room 825 Group 2
Post Female reproduction Room 825 Group 2
 
การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4
การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4
การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
Human embryo 341 group 5
Human embryo   341 group 5Human embryo   341 group 5
Human embryo 341 group 5
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

บท4วิวัฒนาการ

  • 1. บทที่ 4 วิวัฒนาการและความหลากหลายทางชีวภาพ (Evolution and Biodiversity) รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30246) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 2.  นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา : › พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล › พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช › พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต › พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช › พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 3. นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าโลกได้ถือกาเนิดขึ้นมาเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว โดยเกิดจากกลุ่ม แก๊สและฝุ่นผงในอวกาศที่มีการควบแน่นจนเป็นก้อน ผิวโลกในช่วงนั้นจะมีลักษณะเป็นของเหลวที่ร้อนจัด ต่อมาเย็นตัวลงจนเกิดการแข็งตัว บรรยากาศของโลกในสมัยแรกยังไม่มีแก๊สออกซิเจน ส่วนใหญ่ประกอบ ไปด้วยแก๊สเฉื่อย นอกจากนี้ผิวโลกยังไม่มีน้าในสภาพของเหลวเลย จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบของโลกยุค ดึกดาบรรพ์นี้มีความแตกต่างจากโลกยุคปัจจุบันมาก อย่างไรก็ตามเมื่อระยะเวลาผ่านไปประมาณ 1,000 ล้านปีหลังจากกาเนิดโลก สิ่งมีชีวิตก็ถือกาเนิดขึ้นและเกิดวิวัฒนาการเรื่อยมา จนในปัจจุบันเราจะเห็นได้ ว่าความหลากหลายในธรรมชาติเกิดมากมายเพียงใด โลกของเราเกิดขึ้นมาได้อย่างไร ?
  • 4. วิวัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงของพันธุกรรมที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต มีผลทาให้ลักษณะของ สิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป จากรุ่นบรรพบุรุษ และสามารถถ่ายทอดลักษณะที่เปลี่ยนแปลงนั้นไปยังรุ่น ลูกหลานได้ โดยได้รับการคัดเลือกให้มีชีวิตอยู่รอดได้ในสภาพแวดล้อมที่ต่างกันเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน
  • 5. วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต (Evolution) สิ่งมีชีวิตชนิดแรก กาเนิดขึ้นมาบนโลกเมื่อ ประมาณ 3,900 ล้านปีมาแล้ว ปัจจุบันพบว่า มีสิ่งมีชีวิตมากมายหลายล้าน ชนิดอยู่รอบตัวเราแต่ละชนิดมีรูปร่างลักษณะ แตกต่างกันไป นักชีววิทยาศึกษาหาคาตอบต่างๆ เหล่านี้ พบว่า สิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการ ปัจจุบัน โปรคาริโอท สัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง กาเนิดโลก วิวัฒนาการศึกษาในระดับประชากร
  • 6. วิวัฒนาการ (Evolution) การเปลี่ยนแปลงลักษณะพันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต ลักษณะพันธุกรรมที่ เปลี่ยนแปลงนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง รูปร่าง ลักษณะ หรือ หน้าที่การทางาน เมื่อมีการสะสมใน ปริมาณที่มากขึ้น นาไปสู่การกาเนิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่หรือสปีชีส์ (Species) วงค์ (Family) ตลอดจน อันดับ (Order) และ ไฟลั่ม (Phylum) ในที่สุด
  • 7. 1. การคัดเลือกทางธรรมชาติ 2. การวิวัฒนาการอย่างรวดเร็วทั้งนี้เป็น ผลมาจากสภาพแวดล้อม การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตจาเป็นต้องมีการปรับตัว ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่ตนอาศัยอยู่ การปรับตัวเพื่อหลักเกณฑ์ในเรื่องการหาอาหาร การป้องกันตนเองหรือการสืบพันธุ์ ลักษณะการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต  การปรับตัวทางด้านรูปร่างอวัยวะภายนอก  การปรับตัวทางสรีรวิทยา  การปรับพฤติกรรม
  • 8.
  • 9. เวลาประมาณตั้งแต่เริ่มยุค ต่างๆ มีหน่วยล้านปี อีรา (era) คาบหรือยุค (period or epoch) เหตุการณ์สาคัญที่เกิดในยุค 0.01 ในยุคปัจจุบัน 2 10 25 35 55 70 ซีโนโซอิค (Cenozoic) ยุคสัตว์ดูดนม ไพลสโตซีน (Pleistocene) พลิโอซีน(Pliocene) ไมโอซีน(Miocene ) โอลิโกซีน(Oligocene ) อิโอซีน(Eocene ) พาเลโอซีน(Paleocene ) มนุษย์คนแรก ยุคน้าแข็ง ปลายยุคสัตว์ ดูดนม ยุคเจริญสุดของสัตว์ดูนม เอพ สัตว์ดูดนมยุคใหม่ สัตว์ดูดนมกระจายทั่วไป 135 180 230 มีโซโซอิค (Mesozoic) ยุคของสัตว์เลื้อยคลาน ครีตาเชียส(Cretaceous) จูราสสิค(Jurassic) ไตรแอสสิก(Triassic) ยุคสุดท้ายของไดโนเสาร์ พืชมีดอก กระจายอยู่ทั่วไป สัตว์ดูดนมตัวแรกและนก ไดโนเสาร์ตัวแรก 280 345 405 425 500 600 3000 พาเลโอโซอิค (Paleozoic) พรีแคมเบรียน (Precambrian) เปอร์เมียน(Permian) คาร์โบนิเฟอรัส (Carboniferous) ดีโวเนียน(Devonian) ซิลูเรียน(Silurian) ออร์โดวีเชียน (Ordovecian) แคมเบรียน(Cambrian) ยุคที่ไม่มีหลักฐานทาง ธรณีวิทยามากนัก สัตว์เลื้อยคลานยุคโบราณกระจัด กระจาย สัตว์เลื้อยคลานพวกแรก ยุคป่าถ่านหิน สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าพวกแรก แมลงพวกแรก พืชบกกลุ่มแรก ปลาตัวแรกที่รู้จักอยู่ในยุคนี้ ปรากฏว่ามีสัตว์ไร้กระดูกสันหลังใน ทะเลมาก ฟอสซิลชนิดแรกที่พบ
  • 10.
  • 11. ความเชื่อเกี่ยวกับการเกิดของสิ่งมีชีวิต จากความเชื่อในอดีตที่เชื่อว่าสิ่งต่างๆบนโลกเกิดจากความประสงค์ของพระเจ้า โดยที่เชื่อว่าโลก มีอายุ ประมาณ 6,000 ปี เท่านั้นความเชื่อนี้สืบทอดติดต่อกันมานาน ต่อมา คริสต์ศตวรรษที่ 17 อริสโตเติล (Aristotle) นักปราชญ์ชาวกรีก มีความคิดดั้งเดิมว่า ชีวิตอุบัติขึ้นมาจากสิ่งไม่มีชีวิต เป็นผู้ตั้ง ทฤษฏี “The Spontaneous Generation”
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15. Biogenesis is the production of new living organisms or organelles. The law of biogenesis, attributed to Louis Pasteur, is the observation that living things come only from other living things, by reproduction (e.g. a spider lays eggs, which develop into spiders). That is, life does not arise from non-living material, which was the position held by spontaneous generation. This is summarized in the phrase Omne vivum ex vivo, Latin for "all life [is] from life." A related statement is Omnis cellulae cellula, "all cells [are] from cells;" this observation is one of the central statements of cell theory.
  • 16. สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นมาได้อย่างไร ยังไม่มีนักวิทยาศาสตร์ที่สามารถพิสูจน์ได้อย่างชัดเจน มีเพียงสมมติฐานเกี่ยวกับกาเนิดของสิ่งมีชีวิตเท่านั้น โดยเชื่อกัน ว่าสิ่งมีชีวิตสามารถเกิดขึ้นได้เองจากสิ่งไม่มีชีวิตซึ่งเป็นอิทธิพลของความเชื่อทางศาสนา ต่อมา Louis Pasteur ได้ทา การวิจัยและพิสูจน์ได้ว่าสิ่งมีชีวิตกาเนิดมาจากสิ่งมีชีวิตเท่านั้นทาให้เกิดข้อสงสัยว่าสิ่งมีชีวิตแรกเริ่มของโลกถือกาเนิด มาได้อย่างไร ในปี พ.ศ. 2467 นักชีวเคมีชาวรัสเซีย เอ ไอ โอพาริน (A.I. Oparin) ได้เสนอแนวคิดว่า สิ่งมีชีวิตไม่ สามารถเกิดขึ้นได้เองในช่วงเวลาสั้นๆ เพียงขั้นตอนเดียว แต่ต้องใช้เวลานานมากโดยกระบวนการวิวัฒนาการทางเคมี อย่างช้าๆ เป็นการสังเคราะห์สารอินทรีย์จากโมเลกุลง่ายๆ เป็นโมเลกุลที่ซับซ้อนขึ้น แนวคิดกาเนิดของชีวิตบน พื้นผิวโลกของโอพารินมีขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ ก. บรรยากาศของโลกในยุคแรกๆ มี การสร้าง NH3 H2O H2 CH4 จากแก๊ส ที่เกิดจากปฏิกิริยาของภูเขาไฟระเบิด ข. เกิดโมเลกุลของกรดอะมิ โน น้าตาล กรดไขมัน กลีเซอรอล ค. เกิดโมเลกุลของพอลิแซ็กคาไรด์ ลิพิด โปรตีนและกรดนิวคลีอิก ง. เริ่มปรากฏเซลล์เริ่มแรกของ สิ่งมีชีวิต
  • 17. กาเนิดสิ่งมีชีวิต : การทดลองของสแตนลีย์ มิลเลอร์ (Stanley Miller) สรุปได้ว่า สารเคมีที่เป็นพื้นฐานของ สิ่งมีชีวิตสามารถบังเกิดขึ้นเองได้ภายใต้ บรรยากาศโลกยุคดึกดาบรรพ์
  • 18.
  • 19. นอกจากนี้ยังมีนักวิทยาศาสตร์อีกหลายท่านที่การทดลองคล้ายกับมิลเลอร์ โดยใช้สารตั้งต้นและ พลังงานอย่างอื่น เช่น สารกัมมันตรังสี รังสีอัลตราไวโอเลต พบว่าได้ผลเช่นเดียวกันและเกิดเบสพิวรีนและ ไพริมิดีนอีกด้วยเมื่อสารอินทรีย์โมเลกุลใหญ่เกิดขึ้นได้ตามแนวคิดของโอพาริน แล้วสารอินทรีย์เหล่านี้จะ ประกอบเป็นเซลล์เริ่มแรกได้อย่างไร ต่อมาซิดนีย์ ฟอกซ์ (Sidney Fox) นักชีวเคมีชาวอเมริกันและคณะได้แสดงให้เห็นว่า เซลล์ เริ่มแรกเกิดจากกรดอะมิโนได้รับความร้อนและมีการรวมกลุ่มกัน ซึ่งมีสมบัติหลายประการที่คล้ายกับเซลล์ ของสิ่งมีชีวิต เช่น มีการเจริญเติบโต สามารถเพิ่มจานวนโดยการแตกหน่อและมีกระบวนการเมแทบอลิซึม เกิดขึ้น เป็นต้น กาเนิดสิ่งมีชีวิต : การเกิดเซลล์เริ่มแรกจากแนวคิดของฟอกซ์และคณะ
  • 20. การกาเนิดของเซลล์โพรคาริโอต จากหลักฐานของซากดึกดาบรรพ์เริ่มพบร่องรอยของสิ่งมีชีวิตเมื่อประมาณ 3,500 ล้านปีที่ผ่านมาและมี วิวัฒนาการเป็นสิ่งมีชีวิตจานวนมากในปัจจุบันนักเรียนคิดว่าเซลล์ระยะเริ่มต้นของสิ่งมีชีวิตน่าจะคล้ายเซลล์อะไรและ มีวิวัฒนาการมาได้อย่างไร นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการมาจากเซลล์เริ่มแรกน่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์โพร คาริโอต เช่น แบคทีเรีย เนื่องจากบรรยากาศของโลกในยุคนั้นมีออกซิเจนเพียงเล็กน้อยดังนั้นสิ่งมีชีวิตที่พบน่าจะ ดารงชีวิตแบบไม่ใช้ออกซิเจนและไม่สามารถสร้างอาหารเองได้และมีวิวัฒนาการต่อมาเป็นสิ่งมีชีวิตที่ดารงชีวิตโดยการ สร้างอาหารเองได้ด้วยกระบวนการสังเคราะห์ทางเคมีเช่นเดียวกับอาร์เคียแบคทีเรียในปัจจุบัน ต่อมาเริ่มมีวิวัฒนาการ ของแบคทีเรียที่สังเคราะห์ด้วยแสงจากโมเลกุลของน้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้ปริมาณของแก๊สออกซิเจนใน บรรยากาศเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก และเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดวิวัฒนาการเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์ยูคาริโอตในปัจจุบัน สิ่ง ที่น่าสงสัยคือ เซลล์ยูคาริโอตถือกาเนิดมาได้อย่างไร
  • 21.
  • 22.
  • 23. กาเนิดสิ่งมีชีวิต : Prokaryotic cell Eukaryotic cell endosymbiosis กาเนิดของเซลล์ยูคาริโอต นักเรียนทราบมาแล้วว่าลักษณะที่เด่นชัดของเซลล์ยู คาริโอตคือ มีสารพันธุกรรมอยู่ในนิวเคลียส ซึ่งแตกต่างจาก เซลล์โพรคาริโอตที่สารพันธุกรรมแขวนลอยในไซโทพลาซึม นอกจากนี้ในเซลล์ยูคาริโอตยังพบโครงสร้างอื่นๆที่สาคัญ เช่น ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต์เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
  • 24. จากภาพแสดงกาเนิดของเซลล์ยูคาริโอต พบว่าการเจริญของเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปในเซลล์ล้อมรอบบริเวณที่มีสาร พันธุกรรมอยู่แล้วจึงพัฒนาเป็นนิวเคลียสทาให้ได้เซลล์ยูคาริโอตและมีเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม ขณะที่ไมโทคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์เกิดจากเซลล์โพรคาริโอตขนาดเล็กเข้าไปอาศัยอยู่ภายในเซลล์โพรคาริโอตขนาดใหญ่นั่นเอง แนวคิดนี้ มีหลักฐานสนับสนุนหลายอย่าง เช่น ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์สามารถแบ่งตัวเพิ่มจานวนได้เองมีเยื่อชั้นในที่ บรรจุเอนไซม์ในกระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน มี DNA และไรโบโซมที่คล้ายคลึงกับแบคทีเรีย
  • 25. ความหลากหลายทางชีวภาพ: การจาแนกสิ่งมีชีวิตนั้น นักอนุกรมวิธานอาจจัดให้อยู่ใน 3 domain หรือ 5 kingdom ก็ได้ domain Archaea Bacteria Eukarya Kingdom monera Protista Fungi Plantae Animalia ได้แก่ แบคทีเรีย โบราณ แบคทีเรีย และ ไซยาโน แบคทีเรีย โพรโทซัว เห็ด รา ยีสต์ พืช สัตว์ Cell Prokaryotic Eukaryotic Tissue ไม่มี มี Embryo ไม่มี มี Cell wall มีแต่ไม่เป็น peptidogly can ถ้ามีจะเป็น peptidogly can มีในสาหร่าย เกิดจากสาร แตกต่างกัน มีเป็นสาร chitin มีเป็นสาร cellulose ไม่มี
  • 26.
  • 27.
  • 28. หลักฐานการเกิดวิวัฒนาการ 1. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิต ซากสิ่งมีชีวิต ซึ่งมีอายุนับหลายพันหรือหมื่นปีขึ้นไป เช่น ซากโครงกระดูกไดโนเสาร์ ซากแมลงในแท่ง อาพัน ฯลฯ การเกิดซากดึกดาบรรพ์ เกิดจากซากของสิ่งมีชีวิต ที่ยังคงสภาพเดิมอยู่ หรือ เกิดจากการ แทนที่ซากสิ่งมีชีวิตโดยสารอื่นแล้วทับถมอยู่ในชั้นหิน หรือ เป็นร่องรอยตกค้างบนหิน สิ่งมีชีวิตบางชนิด จะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านรูปร่างน้อยมาก แม้ว่ากาลเวลาจะผ่านไปนานเช่น เฟิร์นแมงดาทะเล หอย ปากเป็ด ฯลฯ การคาดคะเนอายุของซากดึกดาบรรพ์ วิเคราะห์หาปริมาณธาตุกัมมันตภาพรังสี C-14 ที่เหลืออยู่ในซากดึกดาบรรพ์ และจะสลายตัวไปช้า ๆ เหลือครึ่งหนึ่งจากเดิมทุก ๆ 5,568 ปี ซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตที่โบราณที่สุดคือสาหร่ายสีเขียวแกมน้า เงิน (อายุประมาณ 5 พันล้านปี) พบก่อนยุคแคมเบรียบ ยุคแคมเบรียน (6 ร้อยล้านปี) พบซากสาหร่ายสี เขียว พืชสีเขียวบนบก และ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตที่นับว่าสมบูรณ์ที่สุด คือ ม้าโบราณ
  • 29.
  • 32. 2. หลักฐานจากกายวิภาคเปรียบเทียบ โครงกระดูกขาหน้าของสัตว์มีกระดูกสันหลัง มีโครงสร้าง และลักษณะการเรียงตัวคล้ายกันเรียกว่า homologous structure ซึ่งแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของสายวิวัฒนาการของสัตว์เหล่านี้ว่าน่าจะสืบเชื้อ สายมาจากบรรพบุรุษร่วมกัน ปีกแมลง และปีกค้างคาวซึ่งทาหน้าที่ในการบินเหมือนกันแต่มีโครงสร้าง ต่างกัน เราเรียกว่าAnalogous structure
  • 33. 3. หลักฐานจากคัพภะวิทยาเปรียบเทียบ การพัฒนาเอ็มบริโอของสัตว์มีกระดูกสันหลังขณะเป็นตัวอ่อนจะมีช่องเหงือก (gill slits) และ หางเหมือนกัน เมื่อเจริญเป็นตัวเต็มวัยสัตว์บางชนิดยังปรากฏช่องเหงือกอยู่ แต่บางชนิดปรับเปลี่ยนไป หางยังพบในสิ่งมีชีวิตหลายชนิดยกเว้นในกลุ่มลิงไม่มีหาง การพัฒนาเอ็มบริโอของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 34. 4. หลักฐานด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล นักอนุกรมวิธานและนักชีวเคมี สามารถตรวจสอบความเหมือนกันของลาดับเบสบนสาย DNA นามา เปรียบเทียบระหว่าง สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ถ้าพบว่า ลาดับเบสบนสายของ DNA มีความเหมือนกันมาก แสดง ว่า สิ่งมีชีวิตเหล่านั้น มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันในเชิงวิวัฒนาการ หรือ มีบรรพบุรุษร่วมกัน ความแตกต่างจานวนเบสบนสาย DNA ของ cytochrome C ของสัตว์แต่ละชนิดที่ต่างจากคน
  • 35. ความแตกต่างจานวน amino acid บนสาย polypeptide ของ hemoglobin ของสัตว์ แต่ละชนิดที่ต่างจากคน ดังนี้ • ลิงรีซัส ต่างจากคน 8 โมเลกุล • หนู ต่างจากคน 27 โมเลกุล • ไก่ ต่างจากคน 45 โมเลกุล • กบ ต่างจากคน 67 โมเลกุล • ปลาปากกลม ต่างจากคน 125 โมเลกุล
  • 36. 5. หลักฐานทางชีวภูมิศาสตร์ สิ่งมีชีวิต ที่แพร่กระจายในบริเวณภูมิศาสตร์ ต่างๆบนพื้นโลกมีความแตกต่างกัน และมีจานวน มากหลากหลายสปีชีส์ ลักษณะการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิต ตามภูมิศาสตร์ต่างๆหรือชีวภูมิศาสตร์บ่งบอก ถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตได้ การแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยบนหมู่เกาะต่างๆที่มีสภาพแวดล้อม คล้ายกัน คาดว่าสิ่งมีชีวิตเหล่านี้น่าจะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน กลับพบว่าสิ่งมีชีวิตที่พบมีลักษณะแตกต่าง กัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นด้วย ตัวกินมดที่กระจายอยู่ในที่ต่างๆ ตามภูมิศาสตร์มีความแตกต่างกัน
  • 37. การกระจายของนกฟินช์ชนิดต่างๆบนหมู่เกาะกาลาปากอส หมู่เกาะกาลาปากอสเป็นหมู่เกาะที่เกิดจากภูเขาไฟในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้อยู่ห่างจากทวีปอเมริกา ใต้ไปทางทิศตะวันตกพบว่านกฟินช์บนหมู่เกาะกาลาปากอส มีลักษณะคล้ายคลึงกับนกฟินช์ที่อาศัยบนทวีป อเมริกาใต้อาจเป็นไปได้ว่า บรรพบุรุษของนกฟินช์ได้มีการอพยพมาจากทวีปอเมริกาใต้ และได้แพร่ ดารงชีวิตอยู่บนเกาะต่างๆ นกฟินส์หลายสปีชีส์บนเกาะกาลาปากอส
  • 38. เนื้อเยื่อและของเหลวในร่างกายของสิ่งมีชีวิตแสดงถึงวิวัฒนาการได้ เนื่องจากมักจะมีความ คล้ายคลึงกันเช่นน้าย่อยอะไมเลส (amylase) มีตั้งแต่ฟองน้าจนถึงคน ฮอร์โมนในสัตว์ต่างชนิดก็ยัง เหมือนกัน เช่น คนที่เป็นเบาหวานอาจใช้อินซูลินของวัวฉีดแทนได้ หรือเลือดของคนกับลิงคล้ายกัน มากกว่า เลือดลิงกับสุนัขหรือเลือด ของสัตว์ชนิดที่ใกล้เคียงกัน นาไปผสมกันจะตกตะกอนมากกว่าเลือด ของสัตว์ชนิดที่ห่างกัน 6. หลักฐานทางสรีรวิทยา
  • 39. 7. หลักฐานจากการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ การปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ เป็นการทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิต โดยอาศัย ความรู้เรื่องการคัดเลือก พันธุ์และผสมพันธุ์โดยมนุษย์ตัวอย่างเช่น ข้าวโพดที่ปลูกกันในปัจจุบันมีหลาย พันธุ์ เช่น พันธุ์สุวรรณ1 พันธุ์ปากช่อง1602พันธุ์ฮาวายหวานพิเศษ ข้าวโพดพันธุ์สุวรรณ 1 เป็นที่นิยม ปลูกกันมากได้มาจาก การคัดเลือก พันธุ์และผสมพันธุ์ ของข้าวโพดที่มีลักษณะเด่นจากเขตร้อนในแถบ ต่างๆ ของโลกจานวน 36พันธุ์ด้วยกัน ลักษณะพิเศษของข้าวโพดพันธุ์นี้คือเมล็ดแข็ง ใสสีส้มต้านทาน โรคราน้าค้างได้ดี และให้ผลผลิตสูง ประเทศไทยได้มีการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโดยใช้สารกัมมันตรังสีตั้งแต่ปี 2498 ข้าวพันธุ์กข6 กข 10 และ กข 15 เป็นพันธุ์ที่เกิดขึ้นโดยใช้รังสีทั้งสิ้น ข้าวพันธุ์ กข 6 เป็นพันธุ์ข้าว เหนียวได้มาจากการเปลี่ยนแปลงพันธุ์ข้าวเจ้าขาวดอกมะลิ105 มีลักษณะพิเศษคือให้ผลผลิตสูงต้านทาน โรคไหม้ และโรคใบจุดสีน้าตาลได้ดีหลักฐานเหล่านี้ แสดงว่าสิ่งมีชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงได้ ดังนั้นในอดีต อันยาวนาน สิ่งมีชีวิตในธรรมชาติก็น่าจะมีการเปลี่ยนแปลง ได้เช่นกันซึ่งอาจเกิดในอัตราที่ช้ากว่ามาก และเกิดในทิศทางที่กาหนดโดยธรรมชาติ
  • 40. สรุป : หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต 1. ลักษณะโครงสร้างภายในและภายนอก แบ่งเป็น homologous structure กับ analogous stucture เช่น ครีบของปลากับครีบของปลาวาฬ ,ปีกของนกกับแขนของมนุษย์ 2. ลักษณะแบบแผนการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ โดยเฉพาะสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา นก กบ และคน ในระยะตัวอ่อนจะมีลักษณะช่องเหงือกที่คล้ายคลึงกัน 3. ลักษณะของซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิต (Fossil) เทอราโนดอล กับ อาร์คีออปเทอรริกซ์ มี ขากรรไกรยาวมีฟันปลายปีกมีนิ้วคล้ายคลึงกันจึงจัดนกและสัตว์เลื้อยคลานไว้เป็นพวกใกล้เคียงกัน 4. ลักษณะทางด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล เป็นหลักฐานที่ได้จากข้อเท็จจริงที่ว่าสิ่งมีชีวิตมี DNA เป็นสารพันธุกรรม ยกเว้น ไวรัสบางชนิดและสิ่งมีชีวิตมีกลไกการสังเคราะห์ DNA RNA และโปรตีน แบบเดียวกัน : รหัสพันธุกรรมเดียวกัน 5. ลักษณะทางชีวภูมิศาสตร์ จากการสังเกตสิ่งมีชีวิตที่แพร่กระจายในบริเวณภูมิศาสตร์ต่างๆบน พื้นที่โลกจะเห็นได้ว่ามีความแตกต่างกันและมีจานวนมากหลากหลายสปีชีส์ : นกฟินช์กาลาปากอส
  • 41.
  • 42. ลินเนียส (Carolus Linnaeus,1707-1778) นักอนุกรมวิธานชาวสวีเดนมีความเชื่อว่า สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะถาวรไม่เปลี่ยนแปลงไปจากแบบเดิม ผลงานสาคัญของลินเนียส คือ การศึกษาและจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต เป็นหมวดหมู่และการจัดระบบการตั้งชื่อของสิ่งมีชีวิต โดยใช้หลัก Binomial nomenclature บูฟอง (Buffon, 1707-1788) นักวิทยาศาสตร์ ชาว ฝรั่งเศสมีความเห็นว่า ลักษณะของสิ่งมีชีวิต มีการเปลี่ยน แปลงเนื่องมาจากอิทธิพลของสภาพแวดล้อม “The inheritances of acquired characteristics” โดยเชื่อว่า โลก มีอายุมากกว่า 6,000 ปี ประวัติและแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
  • 43. ต่อมาคริสต์ศตวรรษที่ 18 ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้ามากขึ้น มีนักวิทยาศาสตร์แสดง ความคิดเห็นแตกต่างกันมีแนวความคิดอีกมากมายก่อให้เกิดเป็น ทฤษฎีวิวัฒนาการ
  • 44. ลามาร์ค (Lamarck, 1744-1829) นักวิทยาศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส ที่นาเสนอทฤษฎีวิวัฒนาการเป็นคนแรกแต่ ทฤษฎีถูกปฏิเสธจากนักวิวัฒนาการ เนื่องจากไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยวิธี ทางวิทยาศาสตร์ ลามาร์ค ศึกษาเปรียบเทียบสิ่งมีชีวิตที่พบแพร่หลายในยุคนั้นกับซาก ดึกดาบรรพ์ แล้วเสนอกฎ 2 ข้อ คือ 1. กฎการใช้และไม่ใช้ (Law of use and disuse) 2. กฎการถ่ายทอดลักษณะที่เกิดขึ้นมาใหม่ (Law of inheritance of acquired characteristic) ร่างกายและส่วนต่างๆมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขนาดตลอดเวลา / มีอวัยวะเกิดขึ้นใหม่เนื่องจากผลของการใช้ งาน / ส่วนใหนที่ถูกใช้จะเจริญหรือเพิ่มขนาด / ส่วนที่ไม่ถูกใช้จะลดขนาดหรือสูญหายไป / ลักษณะที่ เปลี่ยนแปลงนี้สามารถถ่ายทอดไปได้
  • 45. Lamarckism “The theory of acquired characteristics” บรรพบุรุษยีราฟคอสั้นกว่ายีราฟปัจจุบัน กินใบอ่อนบนยอดไม้เป็นอาหาร เมื่อใบอ่อนบริเวณ ด้านล่างถูกกินหมดต้องยืดคอเพื่อกินยอดไม้ที่อยู่สูงขึ้นไปเป็นเวลานานทาให้คอยาวขึ้นเมื่อยีราฟตัว นี้มีลูก ลูกที่เกิดจะคอยาวเหมือนแม่และเมื่อทาเช่นนี้ไปหลายชั่วรุ่นเป็นสาเหตุให้ยีราฟรุ่นต่อๆ มา มีคอยาวขึ้นเรื่อยจนในที่สุดมีคอยาวอย่างที่เห็นในปัจจุบัน
  • 47.
  • 48. August Weisman นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันทาการทดลองตัดหางหนูประมาณ 20 ชั่วรุ่นปรากฏว่า หนูที่เกิดใหม่ยังคงมีหางตามปกติคัดค้านหลักเกณฑ์ของทฤษฏีนี้ นอกจากนี้การศึกษาต่อมาพบว่าการ ถ่ายทอดลักษณะจะผ่านทางเซลสืบพันธุ์ ปัญหาของทฤษฎี ลามาร์ค ไม่สามารถทดลองพิสูจน์ให้เห็นจริงได้
  • 49. ทฤษฎีวิวัฒนาการ ของ ดาร์วิน (Darwinism) ชาร์ล ดาวิน : Charles R. Darwin 1809-1882 นักธรรมชาติวิทยา ชาวอังกฤษ บิดา ของการศึกษาวิวัฒนาการ ผู้ตั้งทฤษฎีวิวัฒนาการ เรียก Darwinism หลักเกณฑ์สาคัญทฤษฎีวิวัฒนาการของ ดาร์วิน คือ กลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Natural Selection) แนวความคิดที่นาไปสู่การนาเสนอทฤษฎีวิวัฒนาการ ของ ดาร์วิน 1) การเดินทางรอบโลกไปกับเรือ HMS Beagle : 1831-1836 2) ความรู้จาก ไลเอลล์ (Charles Lyell, 1797-1875) 3) ความรู้ที่ได้จาก มัลทัส (Thomas Multhus) : 1766-1834 4) ความรู้ที่ได้จาก วอลเลส (Alfred R. Wallace) : 1823-1913 ดาร์วินเกิดข้อสงสัยว่า สิ่งมีชีวิตก็น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงได้เช่นกัน
  • 50. 1) การเดินทางรอบโลกไปกับเรือ HMS Beagle : 1831-1836 หมู่เกาะกาลาปากอส กาเนิดจากภูเขาไฟ ตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร ห่างจากประเทศ อิเควดอร์ ประมาณ 600 ไมล์ มีกระแส น้าอุ่นและน้าเย็นไหลผ่าน พืชบนเกาะเป็นชนิดทนแล้ง สัตว์ที่พบ มีลักษณะแตกต่างไปจากที่อื่น ดาร์วินได้ทาการบันทึกและรวบรวมซากดึกดาบรรพ์ รวมทั้งตัวอย่างของสิ่งมีชีวิตที่พบ อยู่ใน สภาพแวดล้อมแตกต่างกัน
  • 51.
  • 52. นกฟินซ์ชนิดต่างๆ บนหมู่เกาะกาลาปากอส นกม๊อกกิ้งที่มีความหลากหลาย (Variation of Mocking birds) ตัวอย่างสัตว์ที่สาคัญบางชนิดที่ดาร์วินพบจากการศึกษา (Darwin’s Evidence for Evolution)
  • 53. ดาร์วินได้สังเกตลักษณะของพืชและสัตว์หลายชนิด เช่น นกฟินช์ที่พบแพร่กระจายตามหมู่เกาะต่างๆ บน หมู่เกาะ กาลาปากอส ดารงชีวิตด้วยการกินอาหารที่แตกต่างกัน ตามสภาพแวดล้อมของเกาะ จะมีจะงอย ปากแตกต่างกันและแตกต่างจากจะงอยปากของนกฟินช์ในประเทศอีเควดอร์ ลักษณะจะงอยปากที่แตกต่างกันของนกฟินช์ที่พบบนหมู่เกาะกาลาปากอส
  • 54.
  • 55. 2) ความรู้จาก ไลเอลล์ (Charles Lyell, 1797-1875) นักธรณีวิทยา ชาวอังกฤษ เขียนหนังสือ ธรณีวิทยา “The Principle of Geology” ไลเอลล์ เป็นผู้ที่ สนับสนุนทฤษฎี The Principle of Uniformitarianism “Present is the Key to the Past” โดยเชื่อว่าสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเป็นอย่างไรมีสาเหตุสาคัญมาจากในอดีต 3) ความรู้ที่ได้จาก มัลทัส (Thomas Multhus) : 1766-1834 นักประชากรศาสตร์ เขียนหนังสือ เรื่อง “The Principle of Population” มีใจความตอนหนึ่งที่กล่าวว่า “อัตราการเพิ่มของประชากร เป็นแบบทวีคูณ ในขณะที่อัตราการเพิ่มของอาหาร เป็นแบบผลบวกเลข คณิต” อัตราส่วนในการเพิ่ม จึงไม่สัมพันธ์กัน ดาร์วิน นาหลักเกณฑ์นี้ อธิบาย ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ในหนังสือ The Principles of Geology กล่าวว่า โลกเกิดมานานมีอายุหลาย พันปี และมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป
  • 56.
  • 57.
  • 58. 4) ความรู้ที่ได้จาก วอลเลส (Alfred R. Wallace) : 1823-1913 วอลเลส มีแนวคิดเช่นเดียวกับดาร์วิน โดยเขียนบทความเกี่ยวกับ การ คัดเลือกโดยธรรมชาติ ส่งให้ดาร์วิน ในชื่อเรื่อง “On the Tendency of Varieties to Depart Indifinitely From the Origin Type” การศึกษาของวอลเลส ทาในพื้นที่หมู่เกาะมาเลย์อาชิเพลาโก (Malay archipelago) Malay Archipelago บริเวณที่ วอลเลส ทาการศึกษา
  • 59. Bird of paradise By studying beetles Wallace noted "how insects evolve very, very quickly,"
  • 60. จากความรู้ต่างๆ รวมทั้งบทความของวอลเลส ดาร์วิน เขียนหนังสือ เกี่ยวกับกาเนิดของสิ่งมีชีวิต และ ตีพิมพ์ในปีค.ศ. 1859 โดยใช้ชื่อเรื่องว่า The Origin of Species by Means of Natural Selection หลักเกณฑ์ต่างๆเหล่านี้ต่อมากลายเป็นทฤษฎีวิวัฒนาการ เรียก ทฤษฎีการคัดเลือกโดย ธรรมชาติ (The Theory of Natural Selection) หลักเกณฑ์ทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วิน 1. สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด มีความสามารถในการสืบพันธุ์สูง ถ้าทุกตัวมีโอกาสอยู่รอดได้เท่ากันหมด ส่งผลให้ประชากรมีจานวนเพิ่มมากขึ้น 2. สมาชิกในกลุ่มประชากร มีลักษณะแตกต่างแปรผัน มากบ้างน้อยบ้าง 3. เมื่อสมาชิกอยู่รวมกัน มีการแข่งขัน แก่งแย่งทรัพยากร ในการดารงชีวิต ได้แก่ อาหาร ที่อยู่ อาศัย และสิ่งอื่นๆ ตัวใหนที่แข็งแรงกว่า มีความสามารถมากกว่าอยู่รอดได้ ตัวที่อ่อนแอถูกกาจัด เกิด การคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Natural Selection) 4. ตัวที่ถูกคัดเลือกไว้ สามารถสืบพันธุ์และ ถ่ายทอดลักษณะต่อไปยังลูกหลาน เมื่อกาลเวลาผ่านไป มีการสะสมลักษณะที่เปลี่ยนแปลงเพิ่มมากขึ้น ในที่สุดทาให้กลายเป็น สิ่งมีชีวิตชนิดใหม่
  • 61. หลักเกณฑ์ทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วิน 1. ความสามารถในการสืบพันธุ์สูง 2. มีลักษณะแตกต่างแปรผัน 3. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Natural Selection) 4. ตัวที่ถูกคัดเลือกไว้จะสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะต่อไปยัง ลูกหลาน หลักเกณฑ์ทฤษฏีวิวัฒนาการของดาร์วินได้รับการยอมรับและ กระตุ้นให้นักวิทยาศาสตร์สนใจศึกษาวิวัฒนาการเพิ่มมากขึ้น ปัญหาของทฤษฎีดาร์วิน * รับแนวความคิดของลามาร์คในเรื่องอิทธิพลของสภาพแวดล้อม * ไม่สามารถอธิบายขั้นตอนการแปรผันลักษณะที่เกิดขึ้น * ไม่สามารถอธิบายได้ว่า การแปรผันลักษณะที่เกิดขึ้นสามารถ คงอยู่ในสภาพแวดล้อมได้อย่างไร
  • 62. ดาร์วินเข้าใจกลไกการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต นั่นคือ สิ่งมีชีวิตที่พบแพร่กระจายบนโลกเกิด จากการสะสมลักษณะที่แตกต่างไปจากบรรพบุรุษ ซึ่งเป็นลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมขณะนั้น และได้รับการคัดเลือกให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมนั้น ซึ่งเรียกว่า การปรับตัว การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตเพื่อให้เข้ากับสภาพ แวดล้อมสามารถเกิดเป็นสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ใหม่ขึ้นได้ ดาร์วิน พิมพ์ผลงานของตนลงในหนังสือ Origin of Species by Means of Natural Selection เอินส์ เมียร์ (Ernst Mayr) ได้วิเคราะห์ทฤษฎี การคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วินที่ปรากฏอยู่ในหนังสือ ซึ่งมีข้อสังเกต ดังนี้ 1 สิ่งมีชีวิตมีความสามารถในการสืบพันธุ์ และ ให้กาเนิดลูกหลานได้จานวนมาก 2 จานวนสมาชิกของประชากรแต่ละสปีชีส์ ในแต่ละรุ่นมักจะมีจานวนคงที่ 3 ปัจจัยที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตมีปริมาณจากัด 4 สิ่งมีชีวิตแต่ละตัวในประชากรมีลักษณะที่แปรผัน แตกต่างกัน 5 ความแปรผันที่เกิดขึ้นนี้สามารถถ่ายทอดไปยัง รุ่นต่อไปได้
  • 63. จากข้อสังเกตทาให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ 1 สิ่งมีชีวิตมีการต่อสู้ดิ้นรนเพื่อการอยู่รอดและให้ได้สิ่งที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต ซึ่งมีจานวนจากัดจึงมี สมาชิกเพียงส่วนหนึ่งที่อยู่รอด 2 การอยู่รอดของสมาชิกในสิ่งแวดล้อมเป็นผล มาจากลักษณะทางพันธุกรรมที่แตกต่างกันของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมมีโอกาสอยู่รอดจะให้กาเนิดลูกหลานได้มากกว่าสิ่งมีชีวิตที่มี ลักษณะไม่เหมาะสม 3 สิ่งมีชีวิตมีศักยภาพในการอยู่รอดและให้กาเนิดลูกหลานไม่เท่ากัน ทาให้ประชากรมีการเปลี่ยนแปลงและมี ลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมสะสมเพิ่มขึ้นในแต่ละรุ่น สรุปแนวคิดของดาร์วิน ในเรื่องการคัดเลือกโดยธรรมชาติได้ดังนี้ 1. ทาให้สิ่งมีชีวิตแต่ละตัวมีความสามารถในการอยู่รอด และให้กาเนิดลูกหลานแตกต่างกัน 2. เกิดขึ้นจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมที่ประชากรอาศัยอยู่ กับลักษณะความแปรผันทางพันธุกรรม ของสมาชิกในประชากร 3. ทาให้ประชากรมีการปรับตัวให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมนั้นการคัดเลือกเป็นแรงผลักดัน ให้เกิดวิวัฒนาการ เช่นจากการคัดเลือกของมนุษย์ ในการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์
  • 64.
  • 65.
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69. ในระหว่างปี 1822-1884 เมนเดล (Gregor J. Mendel) บาทหลวงและนักพฤกษศาสตร์ชาว ออสเตรีย ทาการทดลองผสมต้นถั่วค้นพบการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม ผลการทดลองสนับสนุนให้ เห็นว่า การแปรผันของลักษณะในสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นได้อย่างไร ดาร์วิน ได้ชื่อว่า บิดาแห่งวิวัฒนาการ เมนเดล ได้ชื่อว่า บิดาแห่งพันธุศาสตร์
  • 70. ในศตวรรษที่ 19 เมื่อเมนเดล (Gregor Mendel) ค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะในสิ่งมีชีวิต นับเป็นก้าวสาคัญในการเข้าใจกลไกเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตได้ดีขึ้น อันนาไปสู่ความเข้าใจใน เรื่องความผันแปรลักษณะต่างๆ และกลไกการถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิต ทฤษฎีวิวัฒนาการในปัจจุบัน พื้นฐานสาคัญของกระบวนการยังคงเป็นการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ซึ่ง จะเกิดขึ้นได้สิ่งมีชีวิตจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ 1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติได้เกิดจากการดิ้นรนเพื่อการอยู่รอดโดยตรง และอยู่ที่ความสามารถใน การสืบพันธุ์และแพร่พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด ซึ่งมีความแตกต่างกันมากบ้างน้อยบ้าง (differential reproduction) 2. การแปรผันทางวิวัฒนาการเกิดจากการแปรผันของลักษณะทางพันธุกรรม โดยการกลายซึ่ง ถ่ายทอดผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อและแม่ 3. หน่วยสาหรับกระบวนการวิวัฒนาการต้องเป็นระดับประชากร วิวัฒนาการจึงเป็นการ เปลี่ยนแปลงทางพันธุ์ศาสตร์เชิงประชากร ซึ่งประชากรหมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ที่อาศัยอยู่ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งและสามารถผสมพันธุ์กันได้ ประชากรจึงเป็นแหล่งสะสมจีน รูปแบบต่างๆ ซึ่งเรียกว่า “กองกลางของจีนหรือจีนพูล (gene pool)” ถ้าจีนเปลี่ยนแปลงทั้งใน เชิงปริมาณและคุณภาพจะเป็นสาเหตุให้เกิดวิวัฒนาการ
  • 71. ทฤษฎีวิวัฒนาการปัจจุบัน Modern synthesis หรือ Synthetic Theory นับตั้งแต่ในปี1935 ได้มีการนาความรู้ใหม่ๆ ในสาขาวิชาต่างๆ ได้แก่ พันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์ประชากร การศึกษาทางชีวโมเลกุลและวิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆ ถูกนามา ผสมผสานอธิบายใช้ร่วมกับ กลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ของ ทฤษฎีดาร์วิน หลักใหญ่อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของลักษณะ (traits) ทฤษฎีวิวัฒนาการปัจจุบัน เรียกว่า Neo-Darwinism หรือ Synthetic Theory จะเห็นได้ว่าหลักเกณฑ์ทฤษฎีวิวัฒนาการมีการเปลี่ยนแปลงไปตามเหตุผลและกาลเวลา
  • 72. ทฤษฎีวิวัฒนาการสังเคราะห์ (synthetic theory of evolution) เน้นความสาคัญของประชากรซึ่งเป็น หน่วยของวิวัฒนาการ โดยสิ่งมีชีวิตแต่ละตัวในประชากรเดียวกันมีความแปรผันแตกต่างกัน ลักษณะทาง พันธุกรรมที่เหมาะสมต่อสภาพแวดล้อม ก็จะประสบความสาเร็จในการสืบพันธุ์ และถ่ายทอดลักษณะไป ยังรุ่นต่อไป ทาให้สัดส่วนของลักษณะทางพันธุกรรมดังกล่าวในประชากรเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการคัดเลือก โดยธรรมชาติเป็นกลไกหลักที่สาคัญที่สุดที่ก่อให้เกิดวิวัฒนาการขึ้น
  • 73.
  • 74. พันธุศาสตร์ประชากร (Population Genetics)  ประชากรหมายถึงกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่หนึ่งๆ  สมาชิกในประชากรสามารถสืบพันธุ์ระหว่างกันได้และ ให้ลูกที่ไม่เป็นหมัน  ยีนพูล (gene pool) คือยีนทั้งหมดที่มีอยู่ในประชากรในช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วย แอลลีลทุก แอลลีลจากทุกยีนของสมาชิกทุกตัว  พันธุศาสตร์ประชากรเป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนหรือการเปลี่ยนแปลงความถี่ของ แอลลีล การหาความถี่แอลลีลในประชากร ปริมาณของแอลลีลแต่ละชนิดเมื่อเทียบกับจานวนแอลลีลทั้งหมดในประชากร เช่น 1. สมาชิกมีจีโนไทป์ 3 แบบ ตามจานวน สมาชิก ดังนี้ AA = 400 คน Aa = 400 คน และ aa =200 คน จานวนแอลลีลทั้งหมดในประชากร = 1000 x 2= 2000 แอลลีล จานวนแอลลีล A = 400 x 2 (กลุ่มสมาชิก AA) + 400 (กลุ่มสมาชิก Aa) จานวนแอลลีล a = 200 x 2 (กลุ่มสมาชิก aa) + 400 (กลุ่มสมาชิก Aa) ความถี่แอลลีล A = จานวนของแอลลีล A /จานวนของแอลลีลทั้งหมด = 1200 / 2000 = 0.6 ความถี่แอลลีล a = จานวนของแอลลีล a /จานวนของแอลลีลทั้งหมด = 800 / 2000 = 0.4 ผลรวมความถี่แอลลีลทั้งหมด = 0.6 + 0.4 = 1
  • 75. 2. ประชากรไม้ดอกชนิดหนึ่งที่ลักษณะสีดอก ถูกควบคุมโดยยีน 2 แอลลีล คือ R ควบคุมลักษณะดอกสีแดง เป็นลักษณะเด่น r ควบคุมลักษณะดอกสีขาว เป็นลักษณะด้อย ในประชากรไม้ดอก 1,000 ต้น มี สีขาว 40 ต้น สีแดง 960 ต้น โดยกาหนดให้ ดอกสีแดงที่มีจีโนไทป์ RR 640 ต้น ดอกสีแดงที่มีจีโนไทป์ Rr 320 ต้น สีแดง สีแดง สีขาว    จีโนไทป์ RR Rr rr จานวนต้น 640 320 40 ความถี่ของจีโนไทป์ RR 640/1,000 = 0.64 Rr 320/1,000 = 0.32 rr 40/1,000 = 0.04 จานวนแอลลีลของยีนสีดอก = 1,000 x 2 = 2,000 ความถี่ของแอลลีล R = 1,600/2,000 = 0.8 ความถี่ของแอลลีล r = 400/2,000 = 0.2
  • 76.
  • 77. ทฤษฎีของฮาร์ดี - ไวน์เบิร์ก จี เอช ฮาร์ดี และ ดับเบิลยู ไวน์เบิร์ก ได้ศึกษายีนพูลของประชากร และได้เสนอทฤษฎีว่า “ความถี่ของแอล ลีลและความถี่ของจีโนไทป์ ยีนพูลของประชากรจะมีค่าคงที่ในทุก ๆ รุ่น ถ้าไม่มีปัจจัยบางอย่างมา เกี่ยวข้องปัจจัยบางอย่าง เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค (microevolution) ได้แก่ มิวเทชัน, การ คัดเลือกโดยธรรมชาติ, การอพยพ, Random Genetic Drift และ การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน” ตัวอย่างของการศึกษาทฤษฎีของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก ประชากรรุ่นพ่อแม่มีความถี่ของแอลลีล R = 0.8 และ r = 0.2 ถ้าสมาชิกทุกต้นในประชากรมีโอกาสผสพันธุ์ ได้เท่า ๆ กันแล้ว เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียที่มีแอลลีล R ความถี่ = 0.8 และ r ความถี่ = 0.2 การรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์จากประชากรในรุ่นพ่อแม่  RR = 0.64  Rr = 0.16 rR = 0.16 rr = 0.04 ประชากรไม้ดอกในรุ่นลูกยังคงมีความถี่ของจีโนไทป์ และ ความถี่ของแอลลีล เหมือนประชากรในรุ่นพ่อ แม่ นั่นคือ ยีนพูลของประชากรอยู่ในภาวะสมดุลของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก อธิบายสมการของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก กาหนดให้ p คือ ความถี่ของแอลลีล R = 0.8 q คือ ความถี่ของแอลลีล r = 0.2 p + q = 1 นั่นคือ ผลรวมความถี่ ของแอลลีลของยีนหนึ่งๆในประชากร มีค่าเท่ากับ 1 p = 1- q หรือ q = 1 – p
  • 78. เมื่อเซลล์สืบพันธุ์รวมตัวกัน ความถี่ของจีโนไทป์ ในรุ่นต่อไปจะเป็นไปตามกฎของการคูณ คือ ความถี่ของจีโนไทป์ RR คือ p2 = (0.8)2 = 0.64 ความถี่ของจีโนไทป์ rr คือ q2 = (0.2)2 = 0.04 ความถี่ของจีโนไทป์ Rr คือ 2pq = 2(0.8)(0.2) = 0.32 เมื่อรวมความถี่ของทุกจีโนไทป์ จะมีค่าเท่ากับ 1 นั่นคือ p2 + 2pq + q2 = 1 สรุปว่า เมื่อประชากรอยู่ในสมดุลของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก ความถี่ของแอลลีล และความถี่จีโนไทป์ จะคงที่ ไม่ มี การเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะถ่ายทอดพันธุกรรมไปกี่รุ่นก็ตาม นั่นคือ ไม่เกิดวิวัฒนาการนั่นเอง ประชากรจะอยู่ในสมดุลของ ฮาร์ดี –ไวน์เบิร์ก จะต้องมีเงื่อนไขดังนี้  ประชากรมีขนาดใหญ่  ไม่มีการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีนระหว่างกลุ่มประชากร  ไม่เกิดมิวเทชัน ที่จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของแอลลีลในประชากร  สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสมพันธุ์ได้เท่ากัน  ไม่เกิดการคัดเลือกโดยธรรมชาติ โดยสิ่งมีชีวิตทุกตัวมีโอกาสอยู่รอด และประสบความสาเร็จในการ สืบพันธุ์ได้เท่าๆ กัน
  • 79. การประยุกต์ใช ้ทฤษฎีของฮาร์ดี – ไวน์เบิร์ก นามาใช้ในการคาดคะเนความถี่ของแอลลีล ที่เกี่ยวข้องกับโรคทางพันธุกรรมในยีนพูลของประชากร เช่น โรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ ถ้าทราบจานวนคนที่เป็นโรคนี้ (ซึ่งถูกควบคุมด้วยยีนด้อย) จะ สามารถประมาณจานวนประชากรที่เป็นพาหะของยีนที่ทาให้เกิดโรคนี้ได้ ตัวอย่าง ประชากรทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือจังหวัดหนึ่งมีคนเป็นโรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์จานวน 9 คน จากประชากรทั้งหมด 10,000 คน กาหนดให้ จีโนไทป์ aa แสดงลักษณะของโรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ ความถี่ของ aa คือ q2 = 9 / 10,000 = 0.0009 q = 0.03 แสดงว่า ในประชากรแห่งนี้มีความถี่ของแอลลีลที่ ทาให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ เท่ากับ 0.03 หรือคิดเป็น 3% นั่นเอง ประชากรกลุ่มนี้มีพาหะโรคโลหิตจางประมาณเท่าไหร่ ? ประมาณ 582 คน
  • 80. สรุป : พันธุศาสตร์ประชากร Population genetics หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่หนึ่งๆโดยสมาชิกในประชากรของสิ่งมีชีวิตนั้น สามารถสืบพันธุ์ระหว่างกันได้และให้ ลูกที่ไม่เป็นหมัน ในประชากรหนึ่งๆจะประกอบด้วยสมาชิกที่มียีน ควบคุมลักษณะต่างๆจานวนมาก ยีนทั้งหมดที่มีอยู่ในประชากรในช่วงเวลาหนึ่งเรียกว่ายีนพูล (genepool) ซึ่งประกอบด้วยแอลลีล(allele)ทุกแอลลีลจากทุกยีนของสมาชิกทุกตัวในประชากรนั้น ดังนั้นพันธุศาสตร์ประชากร เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีน (gene frequency) หรือการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล( allele frequency) ที่เป็นองค์ประกอบทาง พันธุกรรมของประชากร และปัจจัยที่ทาให้ความถี่ของแอลลีลเปลี่ยนแปลง สิ่งที่น่าสนใจคือเราจะศึกษา ความถี่ของแอลลีลในประชากรได้อย่างไร
  • 81. 1.การหาความถี่ของแอลลีลในประชากร สิ่งมีชีวิตที่เป็นดิพลอยในแต่ละเซลล์มีจานวนโครโมโซมเพียง 2 ชุด และแต่ละยีนจะมี 2 แอลลีล ดังนั้นถ้าเรารู้ จานวนจีโนไทป์แต่ละชนิดของประชากร เราจะสามารถหาความถี่ของจีโนไทป์ ( genotype frequency) และความถี่ของ แอลลีลในประชากรได้จากตัวอย่างดังนี้ในกลุ่มประชากรไม้ดอกชนิดหนึ่งที่ลักษณะสีดอกถูกควบคุมโดย ยีน 2 แอลลีล คือ R ควบคุมลักษณะดอกสีแดงเป็นลักษณะเด่น และ r ควบคุมลักษณะดอกสีขาวซึ่งเป็นลักษณะด้อย ในประชากรไม้ดอก 1,000 ต้น มีดอกสีขาว 40 ต้น และดอกสีแดง 960 ต้น โดยกาหนดให้เป็นดอกสีแดงที่มีจีโนไทป์ RR 640 ต้น และดอกสีแดงมีจีโน ไทป์ Rr 320 ต้น ดังนั้นในประชากรไม้ดอกนี้จะมีความถี่ของแอลลีล R = 0.8 และความถี่ของแอลลีล r = 0.2 ดังแสดงใน ภาพ
  • 82. 2. ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก จี เอช ฮาร์ดี ( G.H. Hardy ) และดับเบิลยู ไวน์เบิร์ก ( W. Weinberg ) ได้ศึกษายีนพูลของประชากร และได้แสนอ ทฤษฎีของฮาร์ดีไวน์เบิร์ก(Hardy–WeinbergTheorem)ขึ้นโดยกล่าวว่าความถี่ของแอลลีลและความถี่ของจีโนไทป์ในยีน พูลของประชากรจะ มีค่าคงที่ในทุกๆรุ่น ถ้าไม่มีปัจจัยบางอย่างมาเกี่ยวข้อง เช่น มิวเทชัน การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การ อพยพ แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) และการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน ( gene flow) เป็นต้น ซึ่งปัจจัย ดังกล่าวก็จะได้ศึกษาในหัวข้อต่อไปเราสามารถทฤษฎีของ ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ได้จากตัวอย่างประชากรไม้ดอก พบว่า ยีนพูล ของประชากรรุ่นพ่อแม่นั้นมีความถี่ของแอลลีล R = 0.8 และ r = 0.2 ถ้าสมาชิกทุกต้นในประชากรมีโอกาสผสมพันธุ์ได้ เท่าๆกันแล้วเซลล์สืบพันธุ์เพศ ผู้ และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียที่มีแอลลีล R มีความถี่ = 0.8 และ r มีความถี่ = 0.2 เมื่อมีการ รวมกันของเซลล์สืบพันธุ์ ประชากรไม้ดอกในรุ่นลูกจะมีจีโนไทป์ดังแสดงในภาพ ดังนั้นความถี่ของจีโนไทป์ของ ประชากรในรุ่นลูกมีดังนี้ RR = 0.64 2Rr = 0.32 rr = 0.04
  • 83. และจากความถี่ของจีโนไทป์ในรุ่นลูกดังกล่าว แสดงว่าความถี่ของแอลลีลในรุ่นลูกมีความถี่ของแอลลีล R = 0.8 และ r = 0.2นั่นคือ ประชากรไม้ดอกในรุ่นลูกยังคงมีความถี่ของจีโนไทป์ และความถี่ของแอลลีล เหมือนประชากรในรุ่นพ่อแม่ หรืออาจกล่าวได้ว่ายีนพูลของประชากรอยู่ในภาวะสมดุลของ ฮาร์ดี-ไวน์ เบิร์ก ( Hardy – Weinberg Equilibrium หรือ HWE ) จากตัวอย่างประชากรไม้ดอกสีแดง และสีขาวที่ กล่าวมาแล้วนั้น สีของดอกไม้เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีน 2 แอลลีล คือ R และ r จะ อธิบายสมการของ ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ได้ดังนี้ กาหนดให้ p คือความถี่ของแอลลีล R = 0.8 q คือความถี่ของแอลลีล r = 0.2 และ p + q = 1 นั่นคือ ผลรวมความถี่ของแอลลีลของยีนหนึ่งๆในประชากรมีค่าเท่ากับ 1 ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า p = 1 – q หรือ q = 1 – p เมื่อเซลล์สืบพันธุ์รวมตัวกัน ความถี่ของจีโนไทป์ในรุ่นต่อไปจะเป็นไปตามกฎของการคูณ คือ ความถี่ของจีโนไทป์ RR คือ p2 = ( 0.8 )2 = 0.64 ความถี่ของจีโนไทป์ rr คือ q2 = ( 0.2 )2 = 0.04 และความถี่ของจีโนไทป์ Rr คือ 2pq = 2(0.8)(0.2) = 0.32 เมื่อรวมความถี่ของทุกจีโนไทป์จะมีค่าเท่ากับ 1นั่นคือ p2 + 2pq + q2 = 1
  • 84. จากสมการของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก สามารถนามาใช้หาความถี่ของแอลลีล และความถี่ของจีโนไทป์ของยีนพูลใน ประชากรได้ ดังนั้น เมื่อประชากรอยู่ในสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ความถี่ของแอลลีล และความถี่ของจีโนไทป์ใน ยีนพูลของประชากรจะคงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะถ่ายทอดพันธุกรรมไปกี่รุ่นก็ตาม หรืออีกนัยหนึ่งคือ ไม่ เกิดวิวัฒนาการนั่นเอง ประชากรจะอยู่ในสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กได้ จะต้องมีเงื่อนไข ดังนี้ 1. ประชากรมีขนาดใหญ่ 2. ไม่มีการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีนระหว่างกลุ่มประชากร 3. ไม่เกิดมิวเทชัน ซึ่งจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของแอลลีลในประชากร 4. สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสมพันธุ์ได้เท่ากัน 5. ไม่เกิดการคัดเลือกโดยธรรมชาติ โดยสิ่งมีชีวิตทุกตัวมีโอกาสอยู่รอด และประสบความสาเร็จในการสืบพันธุ์ได้ เท่าๆกัน
  • 85. 3. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก เราสามารถนาทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก มาใช้ประโยชน์ในการคาดคะเนความถี่ของแอลลีลที่ เกี่ยวข้องกับโรคทางพันธุกรรม ในยีนพูลของประชากร เช่นโรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ ถ้าทราบ จานวนคนที่เป็นโรคนี้ซึ่งถูกควบคุมด้วยยีนด้อย จะสามารถประมาณจานวนประชากรที่เป็นพาหะของยีน ที่ทาให้เกิดโรคนี้ได้ ตัวอย่างเช่น ในประชากรทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดหนึ่งมีคนเป็นโรคโลหิตจางชนิดซิก เคิลเซลล์ จานวน 9 คน จากจานวนประชากรทั้งหมด 10,000 คน ดังนั้นจะสามารถคาดคะเนความถี่ของ แอลลีลที่ทาให้เกิดโรคในประชากรของจังหวัด นี้ได้ โดยกาหนดให้จีโนไทป์ aa แสดงลักษณะของโรค โลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ ดังนั้นความถี่ของ aa คือ q2 = 9/10000 = 0.0009 ความถี่ของจีโนไทป์ q = 0.3 แสดงว่าในประชากรแห่งนี้ มีความถี่ของแอลลีลที่ทาให้เกิดโรค โลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์ เท่ากับ 0.03 หรือประมาณร้อยละ 3 นั่นเอง
  • 86.
  • 87.
  • 88.
  • 90. ทบทวนพันธุศาสตร์ประชากร (Population Genetics) ในประชากรกลุ่มหนึ่งพบว่ามีประชากรหมู่เลือด Rh- อยู่ 16% เมื่อประชากรนี้่อยู่ในภาวะสมดุล ของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก จงคานวณหาความถี่ของแอลลีนในประชากร ประชากรของหนู ณ ทุ่งหญ้าแห่งหนึ่ง อยู่ในสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก พบว่า 36 % ของประชากร หนูมีสีเทาซึ่งเป็นลักษณะด้อย (aa) นอกนั้นเป็นหนูสีดาซึ่งเป็นลักษณะเด่น (1) จานวนประชากรของหนูที่มีจีโนไทป์แบบเฮเทอโรไซกัสเป็นเท่าใด (2) ความถี่ของแอลลีน a ในยีนพูลของประชากรเป็นเท่าใด (3) ถ้าประชากรหนูมีจานวน 500 ตัว จะมีหนูที่มีลักษณะขนสีดาที่มีจีโนไทป์แบบฮอมอไซกัสกี่ตัว
  • 93.
  • 95.
  • 96.
  • 97.
  • 98.
  • 99.
  • 100.
  • 101.
  • 102. ข้อแตกต่างระหว่างการคัดเลือกโดยธรรมชาติและมิวเทชัน มิวเทชัน เป็นการสร้างลักษณะทางพันธุกรรมขึ้นมาใหม่ในประชากร ซึ่งอาจเป็นลักษณะที่ดีหรือไม่ดีใน ประชากรนั้น การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ไม่ได้สร้างลักษณะ ทางพันธุกรรมขึ้นมาใหม่ แต่คัดเลือกลักษณะทาง พันธุกรรมที่มีอยู่ในประชากรที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่
  • 103.
  • 104.
  • 105. การเกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ 1. การแยกกันตามสภาพภูมิศาสตร์หรือนิเวศวิทยา (geological หรือ ecological isolation) 2. การแยกกันในเชิงการสืบพันธุ์ (reproduction isolation) 3. การแยกกันในเชิงพันธุศาสตร์ การผสมพันธุ์ของสมาชิกที่ เกิดปรากฎการณ์เปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซม อาจจะเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงจากจานวนปกติ ส่วนใหญ่จะเป็นการเพิ่มจานวนโครโมโซม มากกว่า 2 ชุด ขึ้นไปโดยอาจเป็น 3 ชุด หรือ 4 ชุด หรือมากกว่านี้ เรียกว่า “พอลิพลอยด์ (polyploid)”
  • 106.  ความหมายของสปีชีส์ 1. ด้านสัณฐานวิทยา สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันทางสัณฐานและโครงสร้างทางกายวิภาค (ใช้เป็นแนวคิด ด้านอนุกรมวิธาน) 2. ด้านชีววิทยา สิ่งมีชีวิตที่สามารถผสมพันธุ์กันได้ในธรรมชาติให้กาเนิดลูกที่ไม่เป็นหมัน
  • 107.
  • 108.
  • 109.
  • 110.
  • 111. ล่อ (Mule and hinny) คนรู้จักผสมพันธุ์มาตั้งแต่โบราณ ทหารโรมันรู้จักใช ้ ล่อเป็นสัตว์ชักลากและบรรทุกของหนัก ลูกผสมมักจะแข็งแรงและใช ้งานดีกว่าพ่อแม่ * ม ้าตัวเมียผสมกับลาตัวผู้ ลูกออกมาเป็นล่อ (mule) * ม ้าตัวผู้ผสมกับลาตัวเมีย ลูกออกมาเป็นล่อ (hinny)
  • 112.
  • 113.
  • 114.
  • 115. ผลลัพธ์ที่สาคัญประการหนึ่งของวิวัฒนาการคือการเกิดสิ่งมีชีวิตใหม่ (speciation) ที่อาจเกิดขึ้นได้ กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้  การเกิดสิ่งมีชีวิตใหม่เนื่องจากการอยู่ต่างพื้นที่ (allopatric speciation) กรณีนี้ประชากรรุ่นบรรพ บุรุษเดิมอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ต่อมาเกิดการแบ่งแยกซึ่งอาจเกิดจากแผ่นดินแยกจากกัน หรือมี ภูเขา เกิดขึ้นภายหลัง หรือมีทะเลเข้ามาแบ่งแยกพื้นที่เดิม ทาให้ประชากรกลุ่มเดิมต้องแยกออกจากกัน และมีการปรับเปลี่ยนไปตามการคัดเลือกของธรรมชาติ กระทั่งในที่สุดเกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ที่ต่าง ไปจากเดิม ดังเช่นการเกิดไดโนเสาร์กินเนื้อสามสกุลในสามทวีป  การเกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ในพื้นที่เดียวกันกับบรรพบุรุษอาศัยอยู่ (sympatric speciation) ในกรณี นี้สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นยังคงอยู่ปะปนกับบรรพบุรุษ แต่ไม่มีการผสมระหว่างกัน หรือมีปฏิสัมพันธ์ต่อ กัน การเปลี่ยนแปลงยีนเพียงไม่กี่ยีนอาจทาให้สิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไปและไม่สามารถผสมพันธุ์กับ สมาชิกตัวอื่นที่มียีนต่างกัน ตัวอย่างเช่นตัวต่อ (wasp) ซึ่งเป็นแมลงช่วยผสมเกสรของพืชพวก มะเดื่อ (Ficus sp.) การเปลี่ยนแปลงยีนในตัวต่อทาให้เกิดการเลือกชนิดของมะเดื่อชนิดอื่นแทน ชนิดเดิม ตัวต่อไม่สามารถผสมกับต่อชนิดเดิมได้ แต่จะผสมพันธุ์กับต่อที่มียีนเปลี่ยนแปลงไป เหมือนกันแทน เมื่อเป็นเช่นนี้นานๆ จะทาให้ได้ต่อ 2 ชนิดในพื้นที่เดิม การเกิดสิ่งมีชีวิตใหม่ (speciation)
  • 116.
  • 117.
  • 118.
  • 119.
  • 120.
  • 121. ชีพพิสัย (niche) คือ วิถีชีวิตของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง ตั้งแต่เกิดจนตาย