SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 2 การสืบพันธุ์ของพืชดอก
รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
◦ พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
◦ พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
◦ พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
◦ พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
◦ พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
 การสืบพันธ์เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับสิ่งมีชีวิต (สมบัติสาคัญที่สุดที่จัด virus กับ
viroid เป็นอนุภาคสิ่งมีชีวิต) เพราะการสืบพันธุ์เป็นการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม (genetic inheritance) ของตนเองให้ลูกหลานสืบต่อไปเรื่อย ๆ (การดารง
เผ่าพันธุ์) พืชก็เช่นเดียวกันเมื่อเจริญเติบโต มีความสมบูรณ์พอก็จะสืบพันธุ์ใน
รูปแบบวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of generation) ซึ่งจะเป็นลักษณะเฉพาะ
แตกต่างจากวงชีวิตของสัตว์
 การสืบพันธุ์ (reproduction) หมายถึง การเพิ่มจานวนลูกหลานที่มีชนิด (specise)
เหมือนเดิม โดยสิ่งมีชีวิตรุ่นใหม่ที่เกิดขึ้นจะทดแทนสิ่งมีชีวิตรุ่นเก่าที่ตายไป ทาให้
สิ่งมีชีวิตนั้นเหลือรอดอยู่ในโลกได้โดยไม่สูญพันธุ์ และขยายพันธุ์ให้มี ลูกหลานเพิ่ม
จานวนมากขึ้น ทั้งการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) และการ
สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction)
 วัฏจักรชีวิตของพืชดอกในช่วงที่เห็นเป็นต้นพืชอยู่ทั่วๆ ไป มีโครงสร้างประกอบด้วย เซลล์แบบดิ
พลอยด์ (2n) ช่วงนี้จะเป็นช่วงดิพลอยด์หรือเรียกว่า สปอโรไฟต์ (Sporophyte) จากการสร้างเซลล์
สืบพันธุ์ของพืชดอกจะได้แกมีโทไฟต์เพศเมีย (Female Gametophyte) คือ ถุงเอ็มบริโอ ซึ่งภายใน
มี 8 นิวเคลียส และแกมีโทไฟต์เพศผู้ (Male Gametophyte) คือ ละอองเรณูซึ่งอยู่ในมี 3 นิวเคลียส
นิวเคลียสเหล่านี้มีโครโมโซมเป็นแฮพลอยด์ (n) มีขนาดเล็ก เมื่อไข่และสเปิร์มนิวเคลียสปฏิสนธิกัน
ได้ไซโกต (Zygote) ซึ่งมีจานวนโครโมโซมเป็นดิพลอยด์ ไซโกตก็จะเจริญเป็นเอ็มบริโอ
(Embryo) และต้นอ่อนต่อไป
 ตัวอย่างเช่น วัฏจักรชีวิตแบบสลับของเฟิร์น (Fern) ต้นเฟิร์นที่เราพบอยู่ทั่วไปเป็นช่วงระยะสปอโร
ไฟต์มีจานวนโครโมโซมเป็น 2n เมื่อเจริญเต็มที่แล้วเฟิร์นจะสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เมื่ออับสปอร์
เจริญเต็มที่อับสปอร์จะแตกและปล่อยสปอร์ (Spore) ที่มีจานวนโครโมโซมเป็น n สปอร์ จะถูกพัด
พาไปตกลงบนพื้นดิน ถ้าพื้นดินอยู่ในสภาพที่เหมาะสมก็จะเจริญต่อไป โดยการแบ่งเซลล์แบบไมโท
ซิสเจริญไปเป็นช่วงที่เป็นแกมีโทไฟต์ เมื่อแกมีโทไฟต์เจริญเต็มที่แล้วจะมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์
จากอวัยวะสืบพันธุ์ คือสร้างไข่ (Ovum) จากอาร์คีโกเนียม และสร้างสเปิร์ม (Sperm) จาก แอนเทอริ
เดียม
Mitosis
 1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction)
เป็นการสืบพันธุ์ของพืชโดยการผลิตพืชต้นใหม่ ขึ้นมาจากพืชต้นเดิมด้วยวิธีการต่างๆที่ไม่ใช่เกิด
จากการผสมพันธุ์ เชน การปักชา การติดตา การตอน การทาบกิ่ง เป็นต้น พืชที่เกิดเป็นต้นใหม่ได้โดย
ไม่ต้องใช้เมล็ด หรือการผสมเกสรแต่อย่างใด หรืออาจได้พืชต้นใหม่โดยใช้ส่วนของโครงสร้าง พิเศษ
ของต้นพืชจากส่วนต่างๆ จากลาต้นที่อยู่ใต้ดินที่เป็นเหง้า (rhizome) หรือเป็นหัวแบบทิวเบอร์หรือเป็น
แบบหัวเผือก (corm) หรือจากใบ ของพืชบางชนิด เช่น คว่าตายหงายเป็น กุหลาบหิน เป็นต้น พืชบาง
ชนิดมีการสืบพันธุ์โดยการงอกต้นใหม่จากส่วนของลาต้น งอกยาวออกมาและทอดไปตามพนดินได้
ส่วนของลาต้นที่งอกออกมานี้เรียกว่า สโตลอน (stolon) ในบางท้องถิ่นเรียกว่า ไหล พืชที่มีการ
สืบพันธุ์โดยใช้ สโตลอน เช่น สตรอเบอรี่ พืชตระกูลหญ้า บัวบก ว่านบางชนิด ผักตบชวา ผักแว่น
เป็นต้น
การประยุกต์ใช้ในขยายพันธุ์พืช :
ส่วนของพืชที่ใช้ในการขยายพันธุ์ โดยพืชนอกจากขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดซึ่งเป็นการสืบพันธุ์แบบ
มีเพศ (sexual reproduction) แล้วยังสามารถขยายพันธุ์ โดยการสืบพันธุ์โดยการสืบพันธุ์แบบไม่
อาศัยเพศ (asexual reproduction) ได้ด้วย ได้แก่
1. พืชที่ขยายพันธุ์ด้วยลาต้น มักเป็นพวกลาต้นใต้ดิน ซึ่งใช้ในการสะสมอาหาร เช่น ขิง ข่า แห้ว
เผือก หอม กระเทียม มันฝรั่ง ว่านสี่ทิศ
2. พืชที่ขยายพันธุ์ด้วยกิ่ง โดยกรปักชา ตอน ติดตา ทาบกิ่งหรือเสียบยอด เช่น ชบา พู่ระหง มะลิ
โสน กุหลาบ พุทธา มะม่วง ดาวเรือง ฤาษีผสม
3. พืชที่ขยายพันธุ์ด้วยราก มักเป็นรากชนิดที่สะสมอาหาร เช่น มันเทศ เป็นต้น
4. พืชที่ขยายพันธุ์ด้วยใบ เช่น ใบของต้นตายใบเป็น (ตนคว่าตายหงายเป็น) ใบของต้นทองสาม
ย่าน ใบของต้นโคมญี่ปุ่ น
ปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และเพิ่มปริมาณพันธุ์
ซึ่งสามารถสร้างพืช พันธุ์ต่างๆ ได้ตามต้องการโดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจที่ได้รับการคัดเลือกและปรับปรุง
แล้ว วิธีการหนึ่งที่ใช้ คือ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) วิธีการนี้สามารถขยายพันธุ์พืช
ได้อย่างรวดเร็วต้นพืชที่ได้ใหม่จะมีลักษณะตรงตามพันธุ์เดิม วิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเหมาะที่จะใช้
ขยายพันธุ์พืชเศรษฐกิจ หรือพืชที่ปกติจะขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศได้ยากหรือไม่ได้เลย
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (tissue culture) เป็นเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ โดยเป็นวิธีที่ได้ประโยชน์มาก คือ
1. สามารถขยายพันธุ์พืชได้ในปริมาณมากและรวดเร็วโดยใช้พืชเริ่มต้นเพียงเล็กน้อย
2. พืชใหม่ที่ได้มีลักษณะตรงตามพันธุ์เดิมไม่กลายพันธุ์
3. ใช้ได้ดีในพืชเศรษฐกิจหรือพืชปกติที่ขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศได้ยาก
เทคนิควิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีข้อจากัด คือ ต้องใช้บุคคลที่มีความรู้ความชานาญมากเป็นพิเศษ
ต้องใช้เครื่องมือ สารเคมี อุปกรณ์ต่างๆ และวิธีการที่ยุ่งยากละเอียดอ่อนจึงยังไม่แพร่หลายมากนักในหมู่
เกษตรกรชาวไทย แต่เป็นวิธีการของนักวิชาการมากกว่า
 2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการผสมระหว่างเซลล์
สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะผสมกันระหว่างต้นพ่อและแม่ซึ่ง
บางครั้งก็ได้ลักษณะที่ดีตาม ต้องการ แต่บางครั้งก็อาจได้ลักษณะที่ไม่ดี การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศจึง
เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิด การผสมระหว่างละอองเกสรเพศผู้กับเซลล์ในถุงเอ็มบริโอซึ่งอยู่ภายในรังไข่
ของเกสรเพศเมีย (การปฏิสนธิซ้อน : double fertilization) เมื่อผสมกันแล้วก็เจริญเติบโตเป็นเมล็ด
ซึ่งเมื่อนาไปเพาะจะสามารถงอกเป็นพืชต้นใหม่ได้ ความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
(1) เป็นกระบวนการสร้างสิ่งมีชีวิตขึ้นมาใหม่ เพื่อดารงเผ่าพันธุ์หรือสปีชีส์ (species) ของสิ่งมีชีวิต
(2) ในการสืบพันธุ์จะมีกระบวนการแบ่งเซลล์ ซึ่งจะมีการส่งผ่านสารพันธุ์กรรมจากเซลล์และจาก
สิ่งมีชีวิตรุ่นหนึ่ง ไปสู่สิ่งมีชีวิตรุ่นต่อไป
(3) การสืบพันธุ์โดยเฉพาะการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ทาให้เกิดความแปรผันลักษณะทางพันธุ์กรรมและ
ก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
(4) นักชีววิทยา ใช้สมบัติเกี่ยวกับการสืบพันธุ์มาเป็นหลักตัดสินว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่ ใน
พืชดอกอวัยวะที่สาคัญในการสืบพันธุ์ คือ ดอก (Flower)
ดอก (flower) หมายถึง อวัยวะของพืชที่เปลี่ยนแปลงมาจากใบ ทาหน้าที่ เกี่ยวกับการสืบพันธุ์
ดอกไม้แต่ละชนิดมีความแตกต่างกันทางลักษณะสัณฐานวิทยา แต่มีโครงสร้างของดอกมีลักษณะพื้นฐานที่
คล้ายกัน ส่วนประกอบของดอกที่สาคัญ 4 ส่วนโดยที่แต่ละส่วนจะเรียงตัวเป็นชั้นหรือวงจากชั้นที่อยู่นอก
สุดเข้าสู่ส่วนใน ได้แก่ ก้านดอก (peduncle) ฐานรองดอก (receptacle) กลีบเลี้ยง (sepal) กลีบดอก (petal)
เกสรเพศผู้ (stamen) และ เกสรเพศเมีย (pistil) ตามลาดับ โดยส่วนประกอบทั้ง 4 นี้ จะอยู่บนฐานรองดอก
(receptacle) ซึ่งอยู่ปลายสุดของก้านชูดอก (penduncle) อีกที่หนึ่ง
1. ก้านดอก (peduncle) เป็นส่วนที่ติดกับกิ่งและช่วยชูดอกให้เห็นเด่นชัด
2. ฐานรองดอก (receptacle) เป็นส่วนประกอบที่ทาหน้าที่รองรับส่วนอื่น ๆ ของดอก ฐานรองดอกเป็นที่
เจริญเติบโตแผ่ขยายเชื่อมต่อออกมาจากปลายก้านดอก มักจะมีกลีบเลี้ยงหุ้มไวอีกชั้นหนึ่ง ฐานรองดอกของ
พืชบางชนิด อาจจะหุ้มรังไข่ไว้ทั้งหมด เมื่อรังไข่เจริญขึ้น ฐานรองดอกก็เจริญด้วย และฐานรองดอกของพืช
บาง ชนิดกลายเป็นเนื้อของผลที่ใช้รับประทานได้ เช่น ชมพู่ ฝรั่ง แอปเปิล สาลี่ เป็นต้น
3. กลีบเลี้ยง (sepal) อาจเรียกได้หลายชื่อ เช่น กลีบรองกลีบดอกหรือกลีบดอกวงนอก วงของกลีบ
เลี้ยง (calyx) เป็นวงกลีบนอกสุดของดอก กลีบเลี้ยงส่วนมากมักมี 3-5 กลีบหรืออาจมากกว่า และหนา
กวากลีบดอก ส่วนใหญ่มีสีเขียว และทาหน้าที่หุ้มและป้องกันดอกตูม พืชบางชนิดมีกลีบเลี้ยงแยก
(polysepalous) บางชนิดมีกลีบเลี้ยงเชื่อม (synsepalous หรือ gamosepalous) หากโคนกลีบเลี้ยง
เชื่อมกันเป็นรูปหลอดหรือรูปถ้วย เรียกว่า หลอดกลีบเลี้ยง (calyx tube) ถ้าส่วนปลายของหลอดเป็น
กลีบแยกจะเรียกว่า แฉกกลีบเลี้ยง (calyx lobe)
4. กลีบดอก (petal) อาจจะเรียกว่ากลีบดอกวงใน วงของกลีบดอก (corolla) อยู่ถัดจากวงกลีบเลี้ยง
เข้าไป กลีบดอกส่วนมากมักจะมีจานวน 3-5 กลีบหรืออาจมากกว่า บางชนิดมีกลีบแยก
(polypetalous) บางชนิดมีกลีบดอกเชื่อมติดกัน (sympetalous หรือ gamopetalous) การเชื่อมกันของ
กลีบดอกมีหลายแบบแล้วแต่ชนิดของดอกไม้ หากโคนกลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปหลอดหรือรูปถ้วย
เรียกว่า หลอดกลีบดอก (corolla tube) ถ้าส่วนปลายของหลอดเป็นกลีบแยก เรียกกลีบนี้ว่า แฉกกลีบ
ดอก (corolla lobe)
5. เกสรเพศผู้ (stamen) ประกอบกันอยู่เป็นวงเกสรเพศผู้ที่เรียกว่า androecium อยู่ถัดจากวงกลีบดอกเข้า
ไปเป็น อวัยวะของพืชที่สร้างละอองเรณู มักจะมีจานวนเท่ากับกลีบดอกหรือมีจานวนมากมาย เกสรเพศผู้
ประกอบด้วยอับเรณู (anther) และก้านเกสรเพศผู้ (filament) อยู่ถัดจากวงกลีบดอกเข้าไป ลักษณะการ
เรียงตัวของ เกสรเพศผู้มีหลายแบบได้แก่ เกสรเพศผู้อยู่ตรงข้ามกลีบดอก เกสรเพศผู้ที่อยู่ระหว่างกลีบ
ดอกหรือเกสรเพศผู้มีจานวนเป็นสองเท่าของกลีบดอก เกสรเพศผู้ไม่โผล่พ้นกลีบดอก เกสรเพศผู้ที่โผล่
ขึ้นมาสูงกวากลีบดอก เกสรเพศผู้เหนือกลีบดอก หรือเกสรเพศผู้เชื่อมติดกับเกสรเพศเมีย เช่น เกสรเพศผู้
ของดอกกล้วยไม้ รัก เป็นต้น เกสรเพศผู้ของพืชบางชนิด เปลี่ยนแปลงไปคล้ายกลีบดอก (petaloid
stamen) เช่น เกสรเพศผู้ของดอกพุทธรักษา เป็นต้น เกสรเพศผู้ส่วนใหญ่อยู่เป็นอิสระ (free stamen) แต่
เกสรเพศผู้ของพืชบางชนิดอาจเชื่อมกัน
6. เกสรเพศเมีย ประกอบกันอยู่เป็นวงเกสรเพศเมียเรียก gynoecium เป็นวงในสุดของดอกและอยู่ที่
ตรงกลางดอก เกสรเพศเมียประกอบด้วยรังไข่ (ovary) เป็นส่วนที่อยู่ล่างสุดของเกสรเพศเมียบริเวณ
ฐานรองดอก มีลักษณะพองคล้ายกระเปาะ ก้านเกสรเพศเมีย (style) เป็นส่วนที่ถัดจากรังไข่ขึ้นมา
มีลักษณะเรียวเล็ก และยอดเกสรเพศเมีย (stigma) เป็นส่วนที่อยู่ปลายสุดของเกสรเพศเมีย ลักษณะ
กลมเรียวหรือรูปร่างต่างๆกันและมีน้าเหนียวๆ ช่วยยึดเกาะเกสรตัวผู้ให้เข้ามาผสมกับเกสรตัวเมียได้ดี
ขึ้น ภายในรังไข่จะบรรจุออวุลขนาดเล็กๆไว้ซึ่งมีจานวนแตกต่างกันไปแล้วแต่ ชนิดของพืช เกสรเพศ
เมียมีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงมาจากใบสร้างอับเมกะสปอร์(megasporophyll) โดยที่ขอบของใบ ด้าน
ฐานโอบเข้าหากันเกิดเป็นรังไข่ภายในเป็นช่อง (locule) และขอบของคาร์เพลที่โอบมาเชื่อมกันตาม
แนวยาวเกิดเป็นรอยเชื่อมด้านหน้า (ventral suture) ซึ่งจะเป็นแนวที่ออวุลติดอยู่ ส่วนด้านตรงกัน
ข้ามเป็นรอยเชื่อมด้านหลัง(dorsal suture) เปรียบเสมือนเป็นเส้นกลางใบของคาร์เพล
ภาพแสดงเกสรเพศเมีย
1. จาแนกตามสมมาตรของกลีบดอก สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1.1 ดอกสมมาตรตามรัศมี (actinomorphic flower หรือ regular flower) ดอกประเภทนี้มีกลีบดอก ที่มี
ลักษณะและขนาดใกล้เคียงกันมากและหากแบ่งหรือผ่าดอกนี้ตามแนวตั้งผ่านศูนย์กลางของดอกให้ได้สอง
ส่วนที่ เหมือนกันมากกว่าหนึ่งครั้ง ซึ่งจะเรียกสมมาตรของดอกนี้ว่า สมมาตรตามรัศมี (radial
symmetry) เช่น ดอกชมพู่ มะเขือ ชบา ยางพารา เงาะ มังคุด ทุเรียน เป็นต้น
1.2 ดอกสมมาตรด้านข้าง (zygomorphic flower หรือ irregular flower) ดอกประเภทนี้มีกลีบดอกที่ มี
ลักษณะและขนาดต่างกันมาก และหากแบ่งหรือผ่าดอกนี้ตามแนวตั้งผ่านศูนย์กลางของดอกให้ได้สอง
ส่วนที่เหมือนกัน ได้ครั้งเดียวซึ่งจะเรียกสมมาตรของดอกนี้ว่าสมมาตรด้านข้าง (bilateral symmetry)
เช่น ดอกกล้วยไม้ เทียน อัญชัน เป็นต้น ในกรณีดอกถั่ว กลีบดอกแต่ละกลีบมีรูปร่างแตกต่างกันได้แก่
กลีบกลาง (standard หรือ banner) เป็นกลีบอยู่นอกสุดและใหญ่ที่สุดหุ้มกลีบอื่นไว้ในขณะดอกตูม เมื่อ
ดอกบานกลีบนี้จะตั้งตรงเป็นแผ่นแบน กลีบคู่ล่าง (keel) เป็นกลีบ อยู่ด้านล่าง มี 2 กลีบ อยู่ตรงข้ามกลีบ
กลางรูปร่างคล้ายท้องเรือ และมีอกส่วนหนึ่งของกลีบที่อยู่ด้านข้าง เป็นกลีบที่อยู่ ด้านข้างของกลีบคู่ล่าง
ข้างละกลีบของดอก (wing) เช่น ดอกแค ถั่วลิสง หางยกยูงไทย กล้วยไม้ เป็นต้น
2. จาแนกโดยอาศัยเพศเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
2.1 ดอกสมบูรณ์เพศ (perfect flower หรือ bisexual flower) คือ ดอกที่มีเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียอยู่
ในดอกเดียวกัน เช่น ดอกชบา พู่ระหง ถั่ว พริก พุทธรักษา ข้าว หญ้า บานบุรี ผักกาด มะเขือ กะหล่า
ต้อยติ่ง สับปะรด หอม กระเทียม มะม่วง อัญชัน
2.2 ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (imperfect flower หรือ unisexual flower) คือ ดอกที่มีเพียงเพศเดียวเท่านั้น ถ้า
มีแต่เกสรตัวผู้และไม่มีเกสรตัวเมีย เรียกว่า ดอกตัวผู้ (staminate flower) และถ้ามีแต่เกสรตัวเมียไม่มี
เกสรตัวผู้ เรียกว่า ดอกตัวเมีย (pistilate flower) ดอกตาลึง เตย ลาเจียง สนทะเล สนปฏิพัทธ์ สาเก ขนุน
ข้าวโพด มะพร้าว บอน ตาลโตนด หน้าวัว อุตพิด ตาแย ฟักทอง แตงกวา บวบ หม่อน มะเดื่อ หลิว
อินทผลัม หน่อไม้ฝรั่ง มะละกอ
3. จาแนกโดยอาศัยส่วนประกอบของดอกเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
3.1 ดอกครบส่วนหรือดอกสมบูรณ์ (complete flower) คือ ดอกที่ประกอบด้วยวงทั้ง 4 ครบ คือ กลีบเลี้ยง
กลีบดอก เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย ได้แก่ ดอกชบา กุหลาบ แค มะเขือ พู่ระหง อัญชัน
3.2 ดอกไม่ครบส่วนหรือดอกไม่สมบูรณ์ (incomplete flower) คือ ดอกที่มีส่วนประกอบทั้ง 4 วง ไม่
ครบ โดยขาดส่วนใดส่วนหนึ่งไป เช่น ดอกบานเย็น (ขาดกลีบดอก) ดอกหน้าวัวและอุตพิด (ขาดกลีบ
เลี้ยงและกลีบดอก) ขาดเกสรตัวผู้หรือเกสรตัวเมีย เช่น ดอกตาลึง ฟักทอง บวบ แตง มะละกอ
อาจกล่าวได้ว่า ดอกครบส่วนคือดอกสมบูรณ์เพศเสมอ และดอกไม่สมบูรณ์เพศคือดอกไม่ครบส่วน
เสมอ ส่วนดอกไม่ครบส่วนจะเป็นดอกสมบูรณ์เพศหรือไม่สมบูรณ์เพศก็ได้เช่นเดียวกัน ดอกสมบูรณ์
เพศอาจเป็นดอกครบส่วนหรือไม่ครบส่วนก็ได้
4. จาแนกตามจานวนดอกที่ติดอยู่บนก้านดอก แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
4.1 ดอกเดี่ยว (solitaryflower) หมายถึง ดอกที่เกิดอยู่บนก้านดอกเพียงดอกเดียว ดอกอาจเกิด
บริเวณปลายกิ่งหรือลาต้นหรือด้านข้างของกิ่งหรือลาต้นตรงบริเวณซอกใบ เช่น ดอกฟักทอง จาปี
ชบา พู่ระหง บัว การะเวก บวบ กุหลาบ อัญชัน
4.2 ดอกช่อ (inflorescence flower) เป็นดอกที่เกิดเป็นกลุ่มอยู่บนก้านดอกใหญ่เดียวกัน
ประกอบด้วยดอกย่อย (floret) หลายๆ ดอก แต่ละดอกมีก้านดอกย่อย (pedicel) ที่โคนก้านดอกย่อย
มีใบประดับ (bract) รองรับด้วยก้านดอกย่อยอยู่บนช่อดอก (peduncle) แกนกลางที่อยู่ต่อจากก้าน
ช่อดอกที่อยู่ระหว่างดอกย่อยแต่ละดอก เรียกว่า ราคิส (rachis) เช่น ดอกมะลิ หน้าวัว หางนกยูง
กล้วยไม้ ทานตะวัน กระถินณรงค์ ทานตะวัน เข็ม เป็นต้น
ดอกบางชนิดจะมองคล้ายดอกเดียว เรียก composite inflorescences เช่น ทานตะวัน ดาวเรือง
ดาวกระจาย บานชื่น บานไม่รู้โรย โดยมีส่วนที่เหมือนจะเป็นกลีบ คือ ดอกที่มักจะเป็นเพศเมียและเป็นหมัน
(ray floret) และข้างในที่เหมือนเกสรมักเป็นดอกสมบูรณ์เพศที่ไว้ใช้สืบพันธุ์ (disk floret)
Raceme Umbel
Head Cyme
5. จาแนกตามตาแหน่งของรังไข่ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
5.1 ดอกไฮโพจินนัส (Hypogynous flower) คือ ดอกที่มีเกสรตัวเมียติดอยู่ที่ปลายฐานรองดอก
ที่ค่อนข้างยาวโดยอยู่เหนือส่วนอื่นๆ ของดอก เรียกสภาพดอกดังกล่าวว่า ไฮโพจินนี่ ( Hypogyny )
ซึ่งมีรังไขอยู่เหนือฐานรองดอก เรียกว่า ซูพีเรียร์โอวารี (Superior ovary) ตัวอย่างเช่นดอกมะเขือ
มะเขือเทศ จาปี องุ่น มะละกอ ถั่ว ข้าวโพด มะม่วงหิมพานต์ ยี่หุบ บัว ส้ม บานบุรี เป็นต้น
5.2 ดอกเพริจินนัส (Perigynous flower) คือ ดอกที่ฐานรองดอกโค้งล้อมรอบเกสรตัวเมียมี
ลักษณะคล้ายถ้วยแชมเปญ ที่มีเกสรตัวเมียอยู่ตรงกลางส่วนอื่น ๆ ของดอก คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก
และเกสรตัวผู้มาติดที่ขอบฐานรองดอก จึงล้อมรอบเกสรตัวเมียเรียกสภาพดอกดังกล่าวว่า เพริจินนี
(Perigyny) ซึ่งมีรังไข่อยู่ระหว่างฐานรองดอกและส่วนประกอบอื่นๆ ของดอก เรียกว่า Half
superior ovary / half superior ovary ตัวอย่างเช่น ดอกกุหลาบ เชอรี่
5.3 ดอกเอพิจินนัส (Epigynous flower) คือ ดอกที่ฐานรองดอกโอบรอบเกสรตัวเมียทั้งหมด ทา
ให้เกสรตัวเมีย อยู่ใต้ส่วนอื่นๆของดอก เรียกสภาพดอกดังกล่าวว่า เอพิจินนี ( Epigyny) คือสภาพ
ของดอกที่มีรังไข่อยู่ใต้ฐานรองดอก เรียกว่า อินฟิเรียร์โอวารี ( Inferior ovary) ตัวอย่างเช่น ดอก
เล็ก ๆ ของทานตะวัน แอปเปิ้ล ทับทิม กล้วย ฝรั่ง ชมพู่ ฟักทอง แตงกวา บวบ พลับพลึง เป็นต้น
ส่วนต่างๆ ของดอกมีโครโมโซม 2 ชุด (diploid = 2n) เสมอเมื่อถึงระยะสืบพันธุ์ เซลล์บาง
เซลล์จะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis) เพื่อลดโครโมโซมลงครึ่งหนึ่งเหลือชุดเดียว (haploid = n)
เซลล์ที่ได้จะมีการพัฒนาไปเป็นเซลล์เพศต่อไป
เพศผู้ (male : pollen grain)
Anther  microspore mother cell (2n)  4 microspore (n)  generative nucleus (n) และ
tube nucleus (n)  pollen grain or male gametophyte (n)  2 sperm nuclei (n)
เพศเมีย (female : embryo sac)
Ovary  megaspore mother cell (2n)  4 megaspore (n)  7 cell 8 nucleus (3 antipodal :
n , 2 polar nuclei : 2n , 2 synergid : n , egg : n )  embryo sac in ovule (double fertilization)
mitosismeiosis
mitosisdifferentiation
Only one : 3 mitosis
3 megaspore degeneration
meiosis
ในพืชดอกกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในเกสรตัวผู้ (anther) เรียกว่า ไมโครสปอโร
เจนนีซิส (microsporogenesis) ผลผลิตที่ได้คือสปอร์หรือเรียกว่า ละอองเรณู (pollen grain) หรือ
แกมีโทไฟต์เพศผู้ (male gametophyte) โดยในเกสรตัวผู้มีเซลล์ที่มีโครโมโซมเป็นดิพพลอย (2n)
ต้นกาเนิดเซลล์สืบพันธุ์คือ ไมโครสปอโรไซท์ (microsporocyte หรือ microspore mother cell) จะ
เกิดการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสได้ 4 แฮพลอย (n) ไมโครสปอร์ (microspore) แต่ละไมโครสปอร์จะ
แบ่งตัวแบบไมโตซิสอีกครั้งหนึ่งโดยไม่มีการแบ่งไซโทพลาสซึมได้ละอองเกสรตัวผู้ ซึ่ง
ประกอบด้วย แฮพลอยนิวเคลียส (n) ที่ทาหน้าที่ในการปฏิสนธิ หรือเจนอเรอทิฟนิวเคลียส
(generativenucleus) และ แฮพลอยนิวเคลียสที่ทาหน้าที่งอกท่อนาสเปิร์ม หรือทิวบ์นิวเคลียส
(tube nucleus) จากนั้นแฮพลอยนิวเคลียส (n) ที่ทาหน้าที่ปฏิสนธิจะแบ่งตัวแบบไมโตซิสต่อได้ 2
สเปิร์มนิวเคลียส (sperm nuclei)
ละอองเรณู (pollen grain) จะมีผนังหนา ผนังชั้นนอกอาจมีผิวเรียบหรือเป็นหนามเล็กๆ
แตกต่างกันออกไปตาม แต่ละชนิดของพืชเมื่อละอองเรณูแก่เต็มที่อับเรณูจะแตกออกทาให้ละออง
เรณูกระจายออกไปพร้อมที่จะผสมพันธุ์ต่อไปได้
เกิดขึ้นภายในรังไข่ กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในเกสรตัวเมีย (Pistil) เรียกว่า
เมกะสปอโรเจนนีซิส (megasporogenesis)ภายในรังไข่อาจมีหนึ่งออวุล (ovule) หรือ หลายออวุล
ภายในออวุลมีหลายเซลล์ แต่จะมีเซลล์หนึ่งที่มีขนาดใหญ่ เรียกว่า เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์
(megaspore mother cell) มีจานวนโครโมโซมเป็นดิพพลอย (2n) ต่อมาจะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
ได้ 4 เซลล์ที่มีโครโมโซมเป็นแฮพพลอย (n) สลายไป 3 เซลล์เหลือ 1 เซลล์ เรียกว่า เมกะสปอร์
(megaspore) จากนั้น นิวเคลียสของเมกะสปอร์จะแบ่งแบบไมโทซิส 3 ครั้งได้ 8 นิวคลิไอด์ และมี
ไซโทพลาซึม ล้อมรอบ เป็น 7 เซลล์ 3 เซลล์อยู่ตรงข้ามกับไมโครไพล์ (micropyle)เรียกว่า แอนติ
โพดอล (antipodals) ตรงกลาง 1 เซลล์มี 2 นิวเคลียส เรียก เซลล์โพลาร์นิวคลีไอด์ (polar nuclei
cell) ด้านไมโครไพล์ที่ปลายนี้ มี 3 เซลล์มีนิวเคลียส 3 นิวเคลียสเรียงตัวอยู่ โดยเซลล์ตรงกลางเป็น
เซลล์ไข่ส่วนเซลล์ด้านข้างทั้งสองเป็นซินเนอร์จิด (synergid) ซึ่งจะสลายตัวไป ระยะนี้ 1 เมกะ
สปอร์ได้พฒนามาเป็นแกมีโทไฟต์ ที่เรียกว่า ถุงเอมบริโอ (embryo sac) หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย
(female gametophyte)
สรุปกระบวนการสร้างไข่หรือเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
ภายในรังไข่มีออวุล (ovule) ซึ่งอาจมีออวุลเดียวหรือหลายออวุล ภายในออวุลมีเซลล์
ขนาดใหญ่เซลล์หนึ่ง เรียก เมกะสปอร์ มาเทอร์เซลล์ (Megaspore mother cell) จะแบ่งตัวแบบไม
โอซิส ทาให้ได้ 4 เมกะสปอร์ และมีโครโมโซมเป็น n ต่อมา 3 เมกะสปอร์ จะสลายไปเหลือเพียง 1
เมกะสปอร์ ซึ่งนิวเคลียสของเมกะสปอร์จะแบ่งตัวแบบไมโทซิส 3 ครั้งได้ 8 นิวเคลียส แต่เป็น 7
เซลล์ ซึ่งเรียงตัวเป็น 3 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่ 1 มี 3 นิวเคลียส จะมีเยื่อหุ้มแต่ละนิวเคลียสเป็น 3 เซลล์ อยู่ด้านเดียวกับบริเวณรูเล็กๆ ที่
เรียกว่า ไมโครไพล์ (micropyl) นิวเคลียสอันกลางเป็นไข่ (egg) และ 2 อันขนาบข้างไข่ เรียกว่า ซิน
เนอร์จิด (synergid)
กลุ่มที่ 2 มี 3 นิวเคลียส จะมีเยื่อหุ้มนิวเคลียสเป็น 3 เซลล์ และอยู่ด้านตรงข้ามกับไมโครไพล์ เรียก
แอนติโพดัล เซลล์ (Antipodal cells)
กลุ่มที่ 3 มี 2 นิวเคลียสที่เหลืออยู่ตรงกลาง เรียกแต่ละนิวเคลียสนี้ว่า โพลาร์นิวเคลียส (polar
nucleus) และนิวเคลียสทั้งสองมีเยื่อหุ้มรวมกันจึงเป็น 1 เซลล์ แต่มี 2 นิวเคลียส
เมกะสปอร์ระยะที่ประกอบด้วย 7 เซลล์ 8 นิวเคลียส เรียกว่า ถุงเอมบริโอหรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย
ซึ่งจะมีเซลลล์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิสนธิ คือ เซลล์ไข่ และเซลล์ที่มีโพลาร์นิวเคลียส 2 อัน
ภาพพืชดอกในระยะที่มี
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์
เพศผู้และเพศเมีย
เปรียบเทียบกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในพืชดอก
Test yourself
microsporogenesis megasporogenesis
การสืบพันธุ์ของพืชมี 2 ขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. การถ่ายละอองเรณู ( Pollination ) คือ การที่ละอองเรณูจากเกสรเพศผู้ตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย เมื่อละออง
เรณูแก่เต็มที่และ หลุดออกจากอับเรณูโดยอาศัยปัจจัยต่างๆ ในสิ่งแวดล้อม เช่น แมลง ลม น้า และสัตว์อื่นๆ นาพา
ไปตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย ที่ยอดเกสรตัวเมียมักจะมีขนหรือยางเหนียวเพื่อยึดเกาะละอองเรณูที่ตกลงมา
รูปแบบการถ่ายละอองเรณู
(1) การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน หรือ คนละดอกในต้นเดียวกัน (self pollination) จะทาให้รุ่น
ลูกมีสมบัติทางกรรมพันธุ์เหมือนเดิม ถ้าเป็นพันธุ์ดีก็จะถ่ายทอดลักษณะที่ดีไปเรื่อยๆ แต่ถ้าเป็นพันธุ์ ไม่ดีก็จะ
ถ่ายทอดพันธุ์ที่ไม่ดีเรื่อยๆ เช่นกัน เราสามารถป้องกันการถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน โดยการตัดส่วนที่เป็น
อับเรณูออกตั้งแต่ดอกยังไม่บานหรือใช้พลาสติกหุ้มเกสรตัวผู้เอาไว้ แต่ในธรรมชาติก็มีวิธีการป้องกันการเกิดถ่าย
ละอองเรณูแบบนี้ส่วนมาก
(2) การถ่ายละอองเรณูคนละดอกของต้นไม้คนละต้นในพืชชนิดเดียวกัน (cross pollination) เป็น
การถ่าย ละอองเรณูแบบข้ามดอกที่อยู่ต่างต้นกัน ก็จะทาให้พืชมีลักษณะต่างๆ หลากหลายและอาจได้พันธุ์พืช
ใหม่ๆ ขึ้นมาได้ โดยทั่วไปแล้วการถ่ายละอองเรณูของพืชดอกส่วนมากจะเป็นแบบข้ามต้นและแบบข้ามดอก
ภาพการถ่ายละอองเรณูแบบ self pollination
ภาพแสดงการถ่าย
ละอองเรณูแบบข้ามดอก
(cross pollination)
สรุปการถ่ายละอองเรณู
การถ่ายละอองเรณู (Pollination) คือการที่ละอองเรณูจากอับละอองเรณูมาตกที่ยอด
เกสรตัวเมีย (stigma) ของเกสรตัวเมีย แบ่งออกเป็น
1. การถ่ายละอองเรณูภายในดอกหรือต้นเดียวกัน (self pollination) เป็นการผสมตัวเองอาจจะ
เกิดจากการผสมภายในดอกเดียวกันหรือคนละดอกแต่เป็นต้นเดียวกันก็ได้ หรืออาจต่างต้น
กันแต่เป็นพันธุ์บริสุทธิ์ซึ่งมียีนเหมือนกัน เช่น ข้าว ซึ่งเป็นพันธุ์เดียวกันและปลูกอยู่ด้วยกัน
2. การถ่ายละอองเรณูข้ามต้น (cross pollination) เป็นการถ่ายละอองเรณูของพืชชนิดเดียวกัน
แต่ต่างต้นกันและมีคุณสมบัติทางพันธุกรรมต่างกันคือ มีคุณสมบัติทางพันธุกรรมต่างกันคือ
มียีนไม่เหมือนกัน
ปัจจัยต่างๆ ที่ทาให้เกิดการถ่ายละอองเรณูและการปฏิสนธิ
1. ลม ดอกไม้ที่มีลมเป็นสื่อพาละอองเรณูจานวนมาก แห้งและเบา สามารถปลิวไปกับลมได้ง่ายและไปได้ไกล ๆ ดอกมัก
มีขนาดเล็ก ไม่มีกลิ่นหอม ไม่มีน้าหวานสาหรับล่อแมลง เช่น ดอกข้าว และดอกพืชตระกูลหญ้าต่าง ละหุ่ง พวกสน
เกี๊ยะ ละอองเรณูยังมีปีก 2 ข้าง ช่วยให้ปลิวไปได้ง่าย และดีขึ้น สาหรับยอดเกสรตัวเมียของพืชพวกที่มีลมเป็นสื่อใน
การพาละอองเรณูไปมักจะมีการแตกเป็นฝอยคล้ายขนนก หรือมียางเหนียวๆ เพื่อจับละอองเรณู การใช้ลมเป็นตัวพา
ละอองเรณูไปเรียกว่า แอนีโมฟิลี (anemophily)
2. แมลง ดอกไม้ที่มีแมลงเป็นสื่อพาละอองเรณูไปมักเป็นดอกไม้ที่มีสีสวย กลิ่นหอมและมีต่อมน้าหวานเพื่อล่อแมลงให้
มาหาอาหาร ซึ่งจะทาให้ละอองเรณูติดไปตามปีก ขา ลาตัว ปากของแมลง ละอองเรณูของดอกไม้พวกนี้มักจะเหนียว
ทาให้ติดไปกับแมลงได้ง่ายเมื่อแมลงบินไปตอมดอกไม้อื่นก็จะพาละอองไปผสมได้โดยง่าย แมลงพวกนี้ได้แก่ ผีเสื้อ
ผึ้ง แมลงภู่ การใช้แมลงเป็นสื่อในการนาละอองเรณูไป เรียกว่า เอนโทโมฟิลี (entomophily)
3. สัตว์อื่น ๆ เช่น นกซึ่งชอบกินเกสรดอกไม้ ซึ่งมีอยู่ค่อนข้างน้อย เช่น นกฮัมมิ่ง (humming bird) การใช้นกเป็นสื่อใน
การพาละอองเรณูไป เรียกว่า ออร์นิโทฟิลี (ornithophily) นอกจากนี้ อาจมีพวกกระรอก กระแต ลิงที่หากินบนต้นไม้
หอยทาก เป็นต้น
4. น้า พืชที่ใช้น้าเป็นสื่อในการพาละอองเรณูไปก็คือ พวกพืชน้าเป็นส่วนใหญ่ การใช้น้าเป็นสื่อในการพาละอองเรณูไป
เรียกว่า ไฮโดรฟิลี (hydrophily)
เมื่อละอองเรณูตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย ละอองเรณูจะดูดน้าหวานจากยอดเกสรเพศเมีย
จนงอก pollen tube ลงในเนื้อเยื่อของยอดและก้านของเกสรเพศเมีย โดยการควบคุมของ tube
nucleus ส่วนของ pollen tube จะงอกผ่าน เข้าไปทางชอง micropyle ของออวุล และ tube nucleus
ก็สลายไป เหลือเพียง generative nucleus ที่มีการแบ่ง เซลล์แบบ mitosis ได้เป็น sperm cell 2
เซลล์ แล้วหลังจากนั้น tube ก็จะงอกผ่านเนื้อเยื่อ nucellus เข้าสู่ภายใน embryo sac เมื่อปลาย tube
แตกออก สเปิร์มตัวหนึ่งจะเข้าผสมกับ egg เกิดเป็น zygote มีโครโมโซม 2 ชด (2n) ส่วน สเปิร์มอีก
หนึ่งตัวจะเข้าผสมกับ polar nucleus เกิดเป็น endosperm มีโครโมโซม 3 ชุด (3n) ซึ่งการผสมของ
นิวเคลียส ที่เกิดขึ้นสองครั้ง เรียกว่า ปฏิสนธิซ้อน (double fertilization) สาหรับ antipodal และ
synergid จะสลายไป
สรุปการปฏิสนธิ (fertilization) เมื่อละอองเรณูตกลงสู่ยอดเกสรตัวเมียละอองเรณูจะงอกท่อยาว เรียกว่า
พอลเลนทิวบ์ (pollen tube) ลงสู่คอเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียสจะเคลื่อนตัวไปตามท่อในขณะที่เจเน
เรทิฟนิวเคลียส จะแบ่งแบบไมโทซิสได้สเปิร์มนิวเคลียส (sperm nucleus) 2 ตัว สเปิร์มนิวเคลียสตัวที่ 1
เข้าผสมกับนิวเคลียสของไข่ได้ไซโกต (2n) ซึ่งจะเจริญไปเป็นเอมบริโอต่อไปส่วนอีกนิวเคลียสจะเข้า
ผสมกับโพลาร์นิวคลีไอเป็นไพรมารีเอนโดสเปิร์ม (primary endosperm) ซึ่งมีโครโมโซม 3n และจะ
เจริญไปเป็นเอนโดสเปิร์มซึ่งเป็นอาหารสาหรับเลี้ยงเอมบริโอ การผสมซึ่งเกิดการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า
การปฏิสนธิซ้อน (double fertilization) ซึ่งจะพบเฉพาะในพืชดอกเท่านั้น
หลังจากปฏิสนธิแล้วออวุล (ovule) จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเมล็ด ส่วนรังไข่จะเจริญไปเป็นผล
ไซโกตเจริญไปเป็นเอมบริโอ เอนโดสเปิร์มเจริญไปเป็นอาหารสาหรับเลี้ยงเอมบริโอ ในพืชบางชนิดเอนโด
สเปิร์มจะสลายไปก่อนที่เมล็ดจะเจริญ ดังนั้น อาหารสะสมจึงอยู่ภายในใบเลี้ยงของเอมบริโอ การปฏิสนธิ
ซ้อนของพืชดอกมีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นการสร้างอาหารให้แก่สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น ผลไม้
ที่เรารับประทานก็เกิดตามมาจากการปฏิสนธิ อาหารพวกข้าว ข้าวโพด ก็เป็นส่วนของเอนโดสเปิร์ม
อาหารในเมล็ดถั่วหลายชนิดก็เป็นอาหารที่สะสมอยู่ในใบเลี้ยงของเอมบริโอ
การเปลี่ยนแปลงหลังปฏิสนธิของพืชดอก
ก่อนปฎิสนธิ หลังปฏิสนธิ
Ovule Seed
Ovary Fruit
Integument Seed coat
Egg + sperm nucleus Zygote
Polar nuclei + sperm nucleus Endosperm
Sepal ,petal ,stamen
,synergids และ antipodal
สลายตัว
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
kanyamadcharoen
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
Yaovaree Nornakhum
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
Thanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
Thanyamon Chat.
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
Thitaree Samphao
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
Thanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Thanyamon Chat.
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
Thanyamon Chat.
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมBiobiome
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Ratarporn Ritmaha
 

What's hot (20)

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 

Viewers also liked

ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
sawaddee
 
ชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโต
ชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโตชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโต
ชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโต
Iced Megi
 
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอกบทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-4page
ใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-4pageใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-4page
ใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-1page
ใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-1pageใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-1page
ใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
natthineechobmee
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตฟลุ๊ค ลำพูน
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2
krabi Primary Educational Service Area Office
 
การแนะนำบทเรียน ม6-2
การแนะนำบทเรียน ม6-2การแนะนำบทเรียน ม6-2
การแนะนำบทเรียน ม6-2
Wichai Likitponrak
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
Wichai Likitponrak
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
บท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโนบท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโน
Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
ชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโต
ชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโตชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโต
ชีววิทยา . สืบพันธุ์&เจริญเติบโต
 
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอกบทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
ใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-4page
ใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-4pageใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-4page
ใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-4page
 
ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1
 
ใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-1page
ใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-1pageใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-1page
ใบความรู้+ส่วนประกอบของดอกไม้+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f30-1page
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
Light microscope
Light microscopeLight microscope
Light microscope
 
ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2
 
การแนะนำบทเรียน ม6-2
การแนะนำบทเรียน ม6-2การแนะนำบทเรียน ม6-2
การแนะนำบทเรียน ม6-2
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
Plant lecture 7
Plant lecture 7Plant lecture 7
Plant lecture 7
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
บท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโนบท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโน
 

Similar to บท2สืบพันธุ์พืชดอก

การแนะนำบทเรียน ม6
การแนะนำบทเรียน ม6การแนะนำบทเรียน ม6
การแนะนำบทเรียน ม6Wichai Likitponrak
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1Wichai Likitponrak
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
Wichai Likitponrak
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2Wichai Likitponrak
 
Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62
Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1Wichai Likitponrak
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
0636830815
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
pakpoomounhalekjit
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1Kobwit Piriyawat
 
Nut1
Nut1Nut1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
Wichai Likitponrak
 
Cellularres tu
Cellularres tuCellularres tu
Cellularres tu
Wichai Likitponrak
 
Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
Wichai Likitponrak
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
waritsaratengrungsun
 

Similar to บท2สืบพันธุ์พืชดอก (20)

การแนะนำบทเรียน ม6
การแนะนำบทเรียน ม6การแนะนำบทเรียน ม6
การแนะนำบทเรียน ม6
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
 
Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
Nut1
Nut1Nut1
Nut1
 
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
 
Cellularres tu
Cellularres tuCellularres tu
Cellularres tu
 
Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
 
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บท2สืบพันธุ์พืชดอก

  • 1. บทที่ 2 การสืบพันธุ์ของพืชดอก รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
  • 2.  นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา : ◦ พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ◦ พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ◦ พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ◦ พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ◦ พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 3.
  • 4.  การสืบพันธ์เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับสิ่งมีชีวิต (สมบัติสาคัญที่สุดที่จัด virus กับ viroid เป็นอนุภาคสิ่งมีชีวิต) เพราะการสืบพันธุ์เป็นการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม (genetic inheritance) ของตนเองให้ลูกหลานสืบต่อไปเรื่อย ๆ (การดารง เผ่าพันธุ์) พืชก็เช่นเดียวกันเมื่อเจริญเติบโต มีความสมบูรณ์พอก็จะสืบพันธุ์ใน รูปแบบวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of generation) ซึ่งจะเป็นลักษณะเฉพาะ แตกต่างจากวงชีวิตของสัตว์  การสืบพันธุ์ (reproduction) หมายถึง การเพิ่มจานวนลูกหลานที่มีชนิด (specise) เหมือนเดิม โดยสิ่งมีชีวิตรุ่นใหม่ที่เกิดขึ้นจะทดแทนสิ่งมีชีวิตรุ่นเก่าที่ตายไป ทาให้ สิ่งมีชีวิตนั้นเหลือรอดอยู่ในโลกได้โดยไม่สูญพันธุ์ และขยายพันธุ์ให้มี ลูกหลานเพิ่ม จานวนมากขึ้น ทั้งการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) และการ สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction)
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.  วัฏจักรชีวิตของพืชดอกในช่วงที่เห็นเป็นต้นพืชอยู่ทั่วๆ ไป มีโครงสร้างประกอบด้วย เซลล์แบบดิ พลอยด์ (2n) ช่วงนี้จะเป็นช่วงดิพลอยด์หรือเรียกว่า สปอโรไฟต์ (Sporophyte) จากการสร้างเซลล์ สืบพันธุ์ของพืชดอกจะได้แกมีโทไฟต์เพศเมีย (Female Gametophyte) คือ ถุงเอ็มบริโอ ซึ่งภายใน มี 8 นิวเคลียส และแกมีโทไฟต์เพศผู้ (Male Gametophyte) คือ ละอองเรณูซึ่งอยู่ในมี 3 นิวเคลียส นิวเคลียสเหล่านี้มีโครโมโซมเป็นแฮพลอยด์ (n) มีขนาดเล็ก เมื่อไข่และสเปิร์มนิวเคลียสปฏิสนธิกัน ได้ไซโกต (Zygote) ซึ่งมีจานวนโครโมโซมเป็นดิพลอยด์ ไซโกตก็จะเจริญเป็นเอ็มบริโอ (Embryo) และต้นอ่อนต่อไป  ตัวอย่างเช่น วัฏจักรชีวิตแบบสลับของเฟิร์น (Fern) ต้นเฟิร์นที่เราพบอยู่ทั่วไปเป็นช่วงระยะสปอโร ไฟต์มีจานวนโครโมโซมเป็น 2n เมื่อเจริญเต็มที่แล้วเฟิร์นจะสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เมื่ออับสปอร์ เจริญเต็มที่อับสปอร์จะแตกและปล่อยสปอร์ (Spore) ที่มีจานวนโครโมโซมเป็น n สปอร์ จะถูกพัด พาไปตกลงบนพื้นดิน ถ้าพื้นดินอยู่ในสภาพที่เหมาะสมก็จะเจริญต่อไป โดยการแบ่งเซลล์แบบไมโท ซิสเจริญไปเป็นช่วงที่เป็นแกมีโทไฟต์ เมื่อแกมีโทไฟต์เจริญเต็มที่แล้วจะมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ จากอวัยวะสืบพันธุ์ คือสร้างไข่ (Ovum) จากอาร์คีโกเนียม และสร้างสเปิร์ม (Sperm) จาก แอนเทอริ เดียม
  • 9.
  • 10.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.  1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ของพืชโดยการผลิตพืชต้นใหม่ ขึ้นมาจากพืชต้นเดิมด้วยวิธีการต่างๆที่ไม่ใช่เกิด จากการผสมพันธุ์ เชน การปักชา การติดตา การตอน การทาบกิ่ง เป็นต้น พืชที่เกิดเป็นต้นใหม่ได้โดย ไม่ต้องใช้เมล็ด หรือการผสมเกสรแต่อย่างใด หรืออาจได้พืชต้นใหม่โดยใช้ส่วนของโครงสร้าง พิเศษ ของต้นพืชจากส่วนต่างๆ จากลาต้นที่อยู่ใต้ดินที่เป็นเหง้า (rhizome) หรือเป็นหัวแบบทิวเบอร์หรือเป็น แบบหัวเผือก (corm) หรือจากใบ ของพืชบางชนิด เช่น คว่าตายหงายเป็น กุหลาบหิน เป็นต้น พืชบาง ชนิดมีการสืบพันธุ์โดยการงอกต้นใหม่จากส่วนของลาต้น งอกยาวออกมาและทอดไปตามพนดินได้ ส่วนของลาต้นที่งอกออกมานี้เรียกว่า สโตลอน (stolon) ในบางท้องถิ่นเรียกว่า ไหล พืชที่มีการ สืบพันธุ์โดยใช้ สโตลอน เช่น สตรอเบอรี่ พืชตระกูลหญ้า บัวบก ว่านบางชนิด ผักตบชวา ผักแว่น เป็นต้น
  • 16. การประยุกต์ใช้ในขยายพันธุ์พืช : ส่วนของพืชที่ใช้ในการขยายพันธุ์ โดยพืชนอกจากขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดซึ่งเป็นการสืบพันธุ์แบบ มีเพศ (sexual reproduction) แล้วยังสามารถขยายพันธุ์ โดยการสืบพันธุ์โดยการสืบพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศ (asexual reproduction) ได้ด้วย ได้แก่ 1. พืชที่ขยายพันธุ์ด้วยลาต้น มักเป็นพวกลาต้นใต้ดิน ซึ่งใช้ในการสะสมอาหาร เช่น ขิง ข่า แห้ว เผือก หอม กระเทียม มันฝรั่ง ว่านสี่ทิศ 2. พืชที่ขยายพันธุ์ด้วยกิ่ง โดยกรปักชา ตอน ติดตา ทาบกิ่งหรือเสียบยอด เช่น ชบา พู่ระหง มะลิ โสน กุหลาบ พุทธา มะม่วง ดาวเรือง ฤาษีผสม 3. พืชที่ขยายพันธุ์ด้วยราก มักเป็นรากชนิดที่สะสมอาหาร เช่น มันเทศ เป็นต้น 4. พืชที่ขยายพันธุ์ด้วยใบ เช่น ใบของต้นตายใบเป็น (ตนคว่าตายหงายเป็น) ใบของต้นทองสาม ย่าน ใบของต้นโคมญี่ปุ่ น
  • 17.
  • 18. ปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และเพิ่มปริมาณพันธุ์ ซึ่งสามารถสร้างพืช พันธุ์ต่างๆ ได้ตามต้องการโดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจที่ได้รับการคัดเลือกและปรับปรุง แล้ว วิธีการหนึ่งที่ใช้ คือ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant tissue culture) วิธีการนี้สามารถขยายพันธุ์พืช ได้อย่างรวดเร็วต้นพืชที่ได้ใหม่จะมีลักษณะตรงตามพันธุ์เดิม วิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเหมาะที่จะใช้ ขยายพันธุ์พืชเศรษฐกิจ หรือพืชที่ปกติจะขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศได้ยากหรือไม่ได้เลย การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (tissue culture) เป็นเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ โดยเป็นวิธีที่ได้ประโยชน์มาก คือ 1. สามารถขยายพันธุ์พืชได้ในปริมาณมากและรวดเร็วโดยใช้พืชเริ่มต้นเพียงเล็กน้อย 2. พืชใหม่ที่ได้มีลักษณะตรงตามพันธุ์เดิมไม่กลายพันธุ์ 3. ใช้ได้ดีในพืชเศรษฐกิจหรือพืชปกติที่ขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศได้ยาก เทคนิควิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีข้อจากัด คือ ต้องใช้บุคคลที่มีความรู้ความชานาญมากเป็นพิเศษ ต้องใช้เครื่องมือ สารเคมี อุปกรณ์ต่างๆ และวิธีการที่ยุ่งยากละเอียดอ่อนจึงยังไม่แพร่หลายมากนักในหมู่ เกษตรกรชาวไทย แต่เป็นวิธีการของนักวิชาการมากกว่า
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.  2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการผสมระหว่างเซลล์ สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย พืชต้นใหม่ที่ได้จะมีลักษณะผสมกันระหว่างต้นพ่อและแม่ซึ่ง บางครั้งก็ได้ลักษณะที่ดีตาม ต้องการ แต่บางครั้งก็อาจได้ลักษณะที่ไม่ดี การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศจึง เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิด การผสมระหว่างละอองเกสรเพศผู้กับเซลล์ในถุงเอ็มบริโอซึ่งอยู่ภายในรังไข่ ของเกสรเพศเมีย (การปฏิสนธิซ้อน : double fertilization) เมื่อผสมกันแล้วก็เจริญเติบโตเป็นเมล็ด ซึ่งเมื่อนาไปเพาะจะสามารถงอกเป็นพืชต้นใหม่ได้ ความสาคัญของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (1) เป็นกระบวนการสร้างสิ่งมีชีวิตขึ้นมาใหม่ เพื่อดารงเผ่าพันธุ์หรือสปีชีส์ (species) ของสิ่งมีชีวิต (2) ในการสืบพันธุ์จะมีกระบวนการแบ่งเซลล์ ซึ่งจะมีการส่งผ่านสารพันธุ์กรรมจากเซลล์และจาก สิ่งมีชีวิตรุ่นหนึ่ง ไปสู่สิ่งมีชีวิตรุ่นต่อไป (3) การสืบพันธุ์โดยเฉพาะการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ทาให้เกิดความแปรผันลักษณะทางพันธุ์กรรมและ ก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต (4) นักชีววิทยา ใช้สมบัติเกี่ยวกับการสืบพันธุ์มาเป็นหลักตัดสินว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่ ใน พืชดอกอวัยวะที่สาคัญในการสืบพันธุ์ คือ ดอก (Flower)
  • 24.
  • 25.
  • 26. ดอก (flower) หมายถึง อวัยวะของพืชที่เปลี่ยนแปลงมาจากใบ ทาหน้าที่ เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ ดอกไม้แต่ละชนิดมีความแตกต่างกันทางลักษณะสัณฐานวิทยา แต่มีโครงสร้างของดอกมีลักษณะพื้นฐานที่ คล้ายกัน ส่วนประกอบของดอกที่สาคัญ 4 ส่วนโดยที่แต่ละส่วนจะเรียงตัวเป็นชั้นหรือวงจากชั้นที่อยู่นอก สุดเข้าสู่ส่วนใน ได้แก่ ก้านดอก (peduncle) ฐานรองดอก (receptacle) กลีบเลี้ยง (sepal) กลีบดอก (petal) เกสรเพศผู้ (stamen) และ เกสรเพศเมีย (pistil) ตามลาดับ โดยส่วนประกอบทั้ง 4 นี้ จะอยู่บนฐานรองดอก (receptacle) ซึ่งอยู่ปลายสุดของก้านชูดอก (penduncle) อีกที่หนึ่ง 1. ก้านดอก (peduncle) เป็นส่วนที่ติดกับกิ่งและช่วยชูดอกให้เห็นเด่นชัด 2. ฐานรองดอก (receptacle) เป็นส่วนประกอบที่ทาหน้าที่รองรับส่วนอื่น ๆ ของดอก ฐานรองดอกเป็นที่ เจริญเติบโตแผ่ขยายเชื่อมต่อออกมาจากปลายก้านดอก มักจะมีกลีบเลี้ยงหุ้มไวอีกชั้นหนึ่ง ฐานรองดอกของ พืชบางชนิด อาจจะหุ้มรังไข่ไว้ทั้งหมด เมื่อรังไข่เจริญขึ้น ฐานรองดอกก็เจริญด้วย และฐานรองดอกของพืช บาง ชนิดกลายเป็นเนื้อของผลที่ใช้รับประทานได้ เช่น ชมพู่ ฝรั่ง แอปเปิล สาลี่ เป็นต้น
  • 27. 3. กลีบเลี้ยง (sepal) อาจเรียกได้หลายชื่อ เช่น กลีบรองกลีบดอกหรือกลีบดอกวงนอก วงของกลีบ เลี้ยง (calyx) เป็นวงกลีบนอกสุดของดอก กลีบเลี้ยงส่วนมากมักมี 3-5 กลีบหรืออาจมากกว่า และหนา กวากลีบดอก ส่วนใหญ่มีสีเขียว และทาหน้าที่หุ้มและป้องกันดอกตูม พืชบางชนิดมีกลีบเลี้ยงแยก (polysepalous) บางชนิดมีกลีบเลี้ยงเชื่อม (synsepalous หรือ gamosepalous) หากโคนกลีบเลี้ยง เชื่อมกันเป็นรูปหลอดหรือรูปถ้วย เรียกว่า หลอดกลีบเลี้ยง (calyx tube) ถ้าส่วนปลายของหลอดเป็น กลีบแยกจะเรียกว่า แฉกกลีบเลี้ยง (calyx lobe) 4. กลีบดอก (petal) อาจจะเรียกว่ากลีบดอกวงใน วงของกลีบดอก (corolla) อยู่ถัดจากวงกลีบเลี้ยง เข้าไป กลีบดอกส่วนมากมักจะมีจานวน 3-5 กลีบหรืออาจมากกว่า บางชนิดมีกลีบแยก (polypetalous) บางชนิดมีกลีบดอกเชื่อมติดกัน (sympetalous หรือ gamopetalous) การเชื่อมกันของ กลีบดอกมีหลายแบบแล้วแต่ชนิดของดอกไม้ หากโคนกลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปหลอดหรือรูปถ้วย เรียกว่า หลอดกลีบดอก (corolla tube) ถ้าส่วนปลายของหลอดเป็นกลีบแยก เรียกกลีบนี้ว่า แฉกกลีบ ดอก (corolla lobe)
  • 28.
  • 29.
  • 30. 5. เกสรเพศผู้ (stamen) ประกอบกันอยู่เป็นวงเกสรเพศผู้ที่เรียกว่า androecium อยู่ถัดจากวงกลีบดอกเข้า ไปเป็น อวัยวะของพืชที่สร้างละอองเรณู มักจะมีจานวนเท่ากับกลีบดอกหรือมีจานวนมากมาย เกสรเพศผู้ ประกอบด้วยอับเรณู (anther) และก้านเกสรเพศผู้ (filament) อยู่ถัดจากวงกลีบดอกเข้าไป ลักษณะการ เรียงตัวของ เกสรเพศผู้มีหลายแบบได้แก่ เกสรเพศผู้อยู่ตรงข้ามกลีบดอก เกสรเพศผู้ที่อยู่ระหว่างกลีบ ดอกหรือเกสรเพศผู้มีจานวนเป็นสองเท่าของกลีบดอก เกสรเพศผู้ไม่โผล่พ้นกลีบดอก เกสรเพศผู้ที่โผล่ ขึ้นมาสูงกวากลีบดอก เกสรเพศผู้เหนือกลีบดอก หรือเกสรเพศผู้เชื่อมติดกับเกสรเพศเมีย เช่น เกสรเพศผู้ ของดอกกล้วยไม้ รัก เป็นต้น เกสรเพศผู้ของพืชบางชนิด เปลี่ยนแปลงไปคล้ายกลีบดอก (petaloid stamen) เช่น เกสรเพศผู้ของดอกพุทธรักษา เป็นต้น เกสรเพศผู้ส่วนใหญ่อยู่เป็นอิสระ (free stamen) แต่ เกสรเพศผู้ของพืชบางชนิดอาจเชื่อมกัน
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34. 6. เกสรเพศเมีย ประกอบกันอยู่เป็นวงเกสรเพศเมียเรียก gynoecium เป็นวงในสุดของดอกและอยู่ที่ ตรงกลางดอก เกสรเพศเมียประกอบด้วยรังไข่ (ovary) เป็นส่วนที่อยู่ล่างสุดของเกสรเพศเมียบริเวณ ฐานรองดอก มีลักษณะพองคล้ายกระเปาะ ก้านเกสรเพศเมีย (style) เป็นส่วนที่ถัดจากรังไข่ขึ้นมา มีลักษณะเรียวเล็ก และยอดเกสรเพศเมีย (stigma) เป็นส่วนที่อยู่ปลายสุดของเกสรเพศเมีย ลักษณะ กลมเรียวหรือรูปร่างต่างๆกันและมีน้าเหนียวๆ ช่วยยึดเกาะเกสรตัวผู้ให้เข้ามาผสมกับเกสรตัวเมียได้ดี ขึ้น ภายในรังไข่จะบรรจุออวุลขนาดเล็กๆไว้ซึ่งมีจานวนแตกต่างกันไปแล้วแต่ ชนิดของพืช เกสรเพศ เมียมีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงมาจากใบสร้างอับเมกะสปอร์(megasporophyll) โดยที่ขอบของใบ ด้าน ฐานโอบเข้าหากันเกิดเป็นรังไข่ภายในเป็นช่อง (locule) และขอบของคาร์เพลที่โอบมาเชื่อมกันตาม แนวยาวเกิดเป็นรอยเชื่อมด้านหน้า (ventral suture) ซึ่งจะเป็นแนวที่ออวุลติดอยู่ ส่วนด้านตรงกัน ข้ามเป็นรอยเชื่อมด้านหลัง(dorsal suture) เปรียบเสมือนเป็นเส้นกลางใบของคาร์เพล
  • 35.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41. 1. จาแนกตามสมมาตรของกลีบดอก สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1.1 ดอกสมมาตรตามรัศมี (actinomorphic flower หรือ regular flower) ดอกประเภทนี้มีกลีบดอก ที่มี ลักษณะและขนาดใกล้เคียงกันมากและหากแบ่งหรือผ่าดอกนี้ตามแนวตั้งผ่านศูนย์กลางของดอกให้ได้สอง ส่วนที่ เหมือนกันมากกว่าหนึ่งครั้ง ซึ่งจะเรียกสมมาตรของดอกนี้ว่า สมมาตรตามรัศมี (radial symmetry) เช่น ดอกชมพู่ มะเขือ ชบา ยางพารา เงาะ มังคุด ทุเรียน เป็นต้น
  • 42.
  • 43. 1.2 ดอกสมมาตรด้านข้าง (zygomorphic flower หรือ irregular flower) ดอกประเภทนี้มีกลีบดอกที่ มี ลักษณะและขนาดต่างกันมาก และหากแบ่งหรือผ่าดอกนี้ตามแนวตั้งผ่านศูนย์กลางของดอกให้ได้สอง ส่วนที่เหมือนกัน ได้ครั้งเดียวซึ่งจะเรียกสมมาตรของดอกนี้ว่าสมมาตรด้านข้าง (bilateral symmetry) เช่น ดอกกล้วยไม้ เทียน อัญชัน เป็นต้น ในกรณีดอกถั่ว กลีบดอกแต่ละกลีบมีรูปร่างแตกต่างกันได้แก่ กลีบกลาง (standard หรือ banner) เป็นกลีบอยู่นอกสุดและใหญ่ที่สุดหุ้มกลีบอื่นไว้ในขณะดอกตูม เมื่อ ดอกบานกลีบนี้จะตั้งตรงเป็นแผ่นแบน กลีบคู่ล่าง (keel) เป็นกลีบ อยู่ด้านล่าง มี 2 กลีบ อยู่ตรงข้ามกลีบ กลางรูปร่างคล้ายท้องเรือ และมีอกส่วนหนึ่งของกลีบที่อยู่ด้านข้าง เป็นกลีบที่อยู่ ด้านข้างของกลีบคู่ล่าง ข้างละกลีบของดอก (wing) เช่น ดอกแค ถั่วลิสง หางยกยูงไทย กล้วยไม้ เป็นต้น
  • 44.
  • 45. 2. จาแนกโดยอาศัยเพศเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ 2.1 ดอกสมบูรณ์เพศ (perfect flower หรือ bisexual flower) คือ ดอกที่มีเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียอยู่ ในดอกเดียวกัน เช่น ดอกชบา พู่ระหง ถั่ว พริก พุทธรักษา ข้าว หญ้า บานบุรี ผักกาด มะเขือ กะหล่า ต้อยติ่ง สับปะรด หอม กระเทียม มะม่วง อัญชัน
  • 46. 2.2 ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (imperfect flower หรือ unisexual flower) คือ ดอกที่มีเพียงเพศเดียวเท่านั้น ถ้า มีแต่เกสรตัวผู้และไม่มีเกสรตัวเมีย เรียกว่า ดอกตัวผู้ (staminate flower) และถ้ามีแต่เกสรตัวเมียไม่มี เกสรตัวผู้ เรียกว่า ดอกตัวเมีย (pistilate flower) ดอกตาลึง เตย ลาเจียง สนทะเล สนปฏิพัทธ์ สาเก ขนุน ข้าวโพด มะพร้าว บอน ตาลโตนด หน้าวัว อุตพิด ตาแย ฟักทอง แตงกวา บวบ หม่อน มะเดื่อ หลิว อินทผลัม หน่อไม้ฝรั่ง มะละกอ
  • 47. 3. จาแนกโดยอาศัยส่วนประกอบของดอกเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ 3.1 ดอกครบส่วนหรือดอกสมบูรณ์ (complete flower) คือ ดอกที่ประกอบด้วยวงทั้ง 4 ครบ คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย ได้แก่ ดอกชบา กุหลาบ แค มะเขือ พู่ระหง อัญชัน
  • 48. 3.2 ดอกไม่ครบส่วนหรือดอกไม่สมบูรณ์ (incomplete flower) คือ ดอกที่มีส่วนประกอบทั้ง 4 วง ไม่ ครบ โดยขาดส่วนใดส่วนหนึ่งไป เช่น ดอกบานเย็น (ขาดกลีบดอก) ดอกหน้าวัวและอุตพิด (ขาดกลีบ เลี้ยงและกลีบดอก) ขาดเกสรตัวผู้หรือเกสรตัวเมีย เช่น ดอกตาลึง ฟักทอง บวบ แตง มะละกอ อาจกล่าวได้ว่า ดอกครบส่วนคือดอกสมบูรณ์เพศเสมอ และดอกไม่สมบูรณ์เพศคือดอกไม่ครบส่วน เสมอ ส่วนดอกไม่ครบส่วนจะเป็นดอกสมบูรณ์เพศหรือไม่สมบูรณ์เพศก็ได้เช่นเดียวกัน ดอกสมบูรณ์ เพศอาจเป็นดอกครบส่วนหรือไม่ครบส่วนก็ได้
  • 49.
  • 50.
  • 51. 4. จาแนกตามจานวนดอกที่ติดอยู่บนก้านดอก แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ 4.1 ดอกเดี่ยว (solitaryflower) หมายถึง ดอกที่เกิดอยู่บนก้านดอกเพียงดอกเดียว ดอกอาจเกิด บริเวณปลายกิ่งหรือลาต้นหรือด้านข้างของกิ่งหรือลาต้นตรงบริเวณซอกใบ เช่น ดอกฟักทอง จาปี ชบา พู่ระหง บัว การะเวก บวบ กุหลาบ อัญชัน
  • 52. 4.2 ดอกช่อ (inflorescence flower) เป็นดอกที่เกิดเป็นกลุ่มอยู่บนก้านดอกใหญ่เดียวกัน ประกอบด้วยดอกย่อย (floret) หลายๆ ดอก แต่ละดอกมีก้านดอกย่อย (pedicel) ที่โคนก้านดอกย่อย มีใบประดับ (bract) รองรับด้วยก้านดอกย่อยอยู่บนช่อดอก (peduncle) แกนกลางที่อยู่ต่อจากก้าน ช่อดอกที่อยู่ระหว่างดอกย่อยแต่ละดอก เรียกว่า ราคิส (rachis) เช่น ดอกมะลิ หน้าวัว หางนกยูง กล้วยไม้ ทานตะวัน กระถินณรงค์ ทานตะวัน เข็ม เป็นต้น
  • 53.
  • 54.
  • 55. ดอกบางชนิดจะมองคล้ายดอกเดียว เรียก composite inflorescences เช่น ทานตะวัน ดาวเรือง ดาวกระจาย บานชื่น บานไม่รู้โรย โดยมีส่วนที่เหมือนจะเป็นกลีบ คือ ดอกที่มักจะเป็นเพศเมียและเป็นหมัน (ray floret) และข้างในที่เหมือนเกสรมักเป็นดอกสมบูรณ์เพศที่ไว้ใช้สืบพันธุ์ (disk floret) Raceme Umbel Head Cyme
  • 56.
  • 57. 5. จาแนกตามตาแหน่งของรังไข่ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 5.1 ดอกไฮโพจินนัส (Hypogynous flower) คือ ดอกที่มีเกสรตัวเมียติดอยู่ที่ปลายฐานรองดอก ที่ค่อนข้างยาวโดยอยู่เหนือส่วนอื่นๆ ของดอก เรียกสภาพดอกดังกล่าวว่า ไฮโพจินนี่ ( Hypogyny ) ซึ่งมีรังไขอยู่เหนือฐานรองดอก เรียกว่า ซูพีเรียร์โอวารี (Superior ovary) ตัวอย่างเช่นดอกมะเขือ มะเขือเทศ จาปี องุ่น มะละกอ ถั่ว ข้าวโพด มะม่วงหิมพานต์ ยี่หุบ บัว ส้ม บานบุรี เป็นต้น 5.2 ดอกเพริจินนัส (Perigynous flower) คือ ดอกที่ฐานรองดอกโค้งล้อมรอบเกสรตัวเมียมี ลักษณะคล้ายถ้วยแชมเปญ ที่มีเกสรตัวเมียอยู่ตรงกลางส่วนอื่น ๆ ของดอก คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก และเกสรตัวผู้มาติดที่ขอบฐานรองดอก จึงล้อมรอบเกสรตัวเมียเรียกสภาพดอกดังกล่าวว่า เพริจินนี (Perigyny) ซึ่งมีรังไข่อยู่ระหว่างฐานรองดอกและส่วนประกอบอื่นๆ ของดอก เรียกว่า Half superior ovary / half superior ovary ตัวอย่างเช่น ดอกกุหลาบ เชอรี่ 5.3 ดอกเอพิจินนัส (Epigynous flower) คือ ดอกที่ฐานรองดอกโอบรอบเกสรตัวเมียทั้งหมด ทา ให้เกสรตัวเมีย อยู่ใต้ส่วนอื่นๆของดอก เรียกสภาพดอกดังกล่าวว่า เอพิจินนี ( Epigyny) คือสภาพ ของดอกที่มีรังไข่อยู่ใต้ฐานรองดอก เรียกว่า อินฟิเรียร์โอวารี ( Inferior ovary) ตัวอย่างเช่น ดอก เล็ก ๆ ของทานตะวัน แอปเปิ้ล ทับทิม กล้วย ฝรั่ง ชมพู่ ฟักทอง แตงกวา บวบ พลับพลึง เป็นต้น
  • 58.
  • 59.
  • 60. ส่วนต่างๆ ของดอกมีโครโมโซม 2 ชุด (diploid = 2n) เสมอเมื่อถึงระยะสืบพันธุ์ เซลล์บาง เซลล์จะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis) เพื่อลดโครโมโซมลงครึ่งหนึ่งเหลือชุดเดียว (haploid = n) เซลล์ที่ได้จะมีการพัฒนาไปเป็นเซลล์เพศต่อไป เพศผู้ (male : pollen grain) Anther  microspore mother cell (2n)  4 microspore (n)  generative nucleus (n) และ tube nucleus (n)  pollen grain or male gametophyte (n)  2 sperm nuclei (n) เพศเมีย (female : embryo sac) Ovary  megaspore mother cell (2n)  4 megaspore (n)  7 cell 8 nucleus (3 antipodal : n , 2 polar nuclei : 2n , 2 synergid : n , egg : n )  embryo sac in ovule (double fertilization) mitosismeiosis mitosisdifferentiation Only one : 3 mitosis 3 megaspore degeneration meiosis
  • 61. ในพืชดอกกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในเกสรตัวผู้ (anther) เรียกว่า ไมโครสปอโร เจนนีซิส (microsporogenesis) ผลผลิตที่ได้คือสปอร์หรือเรียกว่า ละอองเรณู (pollen grain) หรือ แกมีโทไฟต์เพศผู้ (male gametophyte) โดยในเกสรตัวผู้มีเซลล์ที่มีโครโมโซมเป็นดิพพลอย (2n) ต้นกาเนิดเซลล์สืบพันธุ์คือ ไมโครสปอโรไซท์ (microsporocyte หรือ microspore mother cell) จะ เกิดการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสได้ 4 แฮพลอย (n) ไมโครสปอร์ (microspore) แต่ละไมโครสปอร์จะ แบ่งตัวแบบไมโตซิสอีกครั้งหนึ่งโดยไม่มีการแบ่งไซโทพลาสซึมได้ละอองเกสรตัวผู้ ซึ่ง ประกอบด้วย แฮพลอยนิวเคลียส (n) ที่ทาหน้าที่ในการปฏิสนธิ หรือเจนอเรอทิฟนิวเคลียส (generativenucleus) และ แฮพลอยนิวเคลียสที่ทาหน้าที่งอกท่อนาสเปิร์ม หรือทิวบ์นิวเคลียส (tube nucleus) จากนั้นแฮพลอยนิวเคลียส (n) ที่ทาหน้าที่ปฏิสนธิจะแบ่งตัวแบบไมโตซิสต่อได้ 2 สเปิร์มนิวเคลียส (sperm nuclei) ละอองเรณู (pollen grain) จะมีผนังหนา ผนังชั้นนอกอาจมีผิวเรียบหรือเป็นหนามเล็กๆ แตกต่างกันออกไปตาม แต่ละชนิดของพืชเมื่อละอองเรณูแก่เต็มที่อับเรณูจะแตกออกทาให้ละออง เรณูกระจายออกไปพร้อมที่จะผสมพันธุ์ต่อไปได้
  • 62.
  • 63.
  • 64.
  • 65.
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69. เกิดขึ้นภายในรังไข่ กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในเกสรตัวเมีย (Pistil) เรียกว่า เมกะสปอโรเจนนีซิส (megasporogenesis)ภายในรังไข่อาจมีหนึ่งออวุล (ovule) หรือ หลายออวุล ภายในออวุลมีหลายเซลล์ แต่จะมีเซลล์หนึ่งที่มีขนาดใหญ่ เรียกว่า เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์ (megaspore mother cell) มีจานวนโครโมโซมเป็นดิพพลอย (2n) ต่อมาจะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส ได้ 4 เซลล์ที่มีโครโมโซมเป็นแฮพพลอย (n) สลายไป 3 เซลล์เหลือ 1 เซลล์ เรียกว่า เมกะสปอร์ (megaspore) จากนั้น นิวเคลียสของเมกะสปอร์จะแบ่งแบบไมโทซิส 3 ครั้งได้ 8 นิวคลิไอด์ และมี ไซโทพลาซึม ล้อมรอบ เป็น 7 เซลล์ 3 เซลล์อยู่ตรงข้ามกับไมโครไพล์ (micropyle)เรียกว่า แอนติ โพดอล (antipodals) ตรงกลาง 1 เซลล์มี 2 นิวเคลียส เรียก เซลล์โพลาร์นิวคลีไอด์ (polar nuclei cell) ด้านไมโครไพล์ที่ปลายนี้ มี 3 เซลล์มีนิวเคลียส 3 นิวเคลียสเรียงตัวอยู่ โดยเซลล์ตรงกลางเป็น เซลล์ไข่ส่วนเซลล์ด้านข้างทั้งสองเป็นซินเนอร์จิด (synergid) ซึ่งจะสลายตัวไป ระยะนี้ 1 เมกะ สปอร์ได้พฒนามาเป็นแกมีโทไฟต์ ที่เรียกว่า ถุงเอมบริโอ (embryo sac) หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย (female gametophyte)
  • 70. สรุปกระบวนการสร้างไข่หรือเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ภายในรังไข่มีออวุล (ovule) ซึ่งอาจมีออวุลเดียวหรือหลายออวุล ภายในออวุลมีเซลล์ ขนาดใหญ่เซลล์หนึ่ง เรียก เมกะสปอร์ มาเทอร์เซลล์ (Megaspore mother cell) จะแบ่งตัวแบบไม โอซิส ทาให้ได้ 4 เมกะสปอร์ และมีโครโมโซมเป็น n ต่อมา 3 เมกะสปอร์ จะสลายไปเหลือเพียง 1 เมกะสปอร์ ซึ่งนิวเคลียสของเมกะสปอร์จะแบ่งตัวแบบไมโทซิส 3 ครั้งได้ 8 นิวเคลียส แต่เป็น 7 เซลล์ ซึ่งเรียงตัวเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 มี 3 นิวเคลียส จะมีเยื่อหุ้มแต่ละนิวเคลียสเป็น 3 เซลล์ อยู่ด้านเดียวกับบริเวณรูเล็กๆ ที่ เรียกว่า ไมโครไพล์ (micropyl) นิวเคลียสอันกลางเป็นไข่ (egg) และ 2 อันขนาบข้างไข่ เรียกว่า ซิน เนอร์จิด (synergid) กลุ่มที่ 2 มี 3 นิวเคลียส จะมีเยื่อหุ้มนิวเคลียสเป็น 3 เซลล์ และอยู่ด้านตรงข้ามกับไมโครไพล์ เรียก แอนติโพดัล เซลล์ (Antipodal cells) กลุ่มที่ 3 มี 2 นิวเคลียสที่เหลืออยู่ตรงกลาง เรียกแต่ละนิวเคลียสนี้ว่า โพลาร์นิวเคลียส (polar nucleus) และนิวเคลียสทั้งสองมีเยื่อหุ้มรวมกันจึงเป็น 1 เซลล์ แต่มี 2 นิวเคลียส เมกะสปอร์ระยะที่ประกอบด้วย 7 เซลล์ 8 นิวเคลียส เรียกว่า ถุงเอมบริโอหรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย ซึ่งจะมีเซลลล์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิสนธิ คือ เซลล์ไข่ และเซลล์ที่มีโพลาร์นิวเคลียส 2 อัน
  • 71.
  • 72.
  • 73.
  • 76.
  • 78. การสืบพันธุ์ของพืชมี 2 ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. การถ่ายละอองเรณู ( Pollination ) คือ การที่ละอองเรณูจากเกสรเพศผู้ตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย เมื่อละออง เรณูแก่เต็มที่และ หลุดออกจากอับเรณูโดยอาศัยปัจจัยต่างๆ ในสิ่งแวดล้อม เช่น แมลง ลม น้า และสัตว์อื่นๆ นาพา ไปตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย ที่ยอดเกสรตัวเมียมักจะมีขนหรือยางเหนียวเพื่อยึดเกาะละอองเรณูที่ตกลงมา รูปแบบการถ่ายละอองเรณู (1) การถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน หรือ คนละดอกในต้นเดียวกัน (self pollination) จะทาให้รุ่น ลูกมีสมบัติทางกรรมพันธุ์เหมือนเดิม ถ้าเป็นพันธุ์ดีก็จะถ่ายทอดลักษณะที่ดีไปเรื่อยๆ แต่ถ้าเป็นพันธุ์ ไม่ดีก็จะ ถ่ายทอดพันธุ์ที่ไม่ดีเรื่อยๆ เช่นกัน เราสามารถป้องกันการถ่ายละอองเรณูในดอกเดียวกัน โดยการตัดส่วนที่เป็น อับเรณูออกตั้งแต่ดอกยังไม่บานหรือใช้พลาสติกหุ้มเกสรตัวผู้เอาไว้ แต่ในธรรมชาติก็มีวิธีการป้องกันการเกิดถ่าย ละอองเรณูแบบนี้ส่วนมาก (2) การถ่ายละอองเรณูคนละดอกของต้นไม้คนละต้นในพืชชนิดเดียวกัน (cross pollination) เป็น การถ่าย ละอองเรณูแบบข้ามดอกที่อยู่ต่างต้นกัน ก็จะทาให้พืชมีลักษณะต่างๆ หลากหลายและอาจได้พันธุ์พืช ใหม่ๆ ขึ้นมาได้ โดยทั่วไปแล้วการถ่ายละอองเรณูของพืชดอกส่วนมากจะเป็นแบบข้ามต้นและแบบข้ามดอก
  • 79.
  • 81. สรุปการถ่ายละอองเรณู การถ่ายละอองเรณู (Pollination) คือการที่ละอองเรณูจากอับละอองเรณูมาตกที่ยอด เกสรตัวเมีย (stigma) ของเกสรตัวเมีย แบ่งออกเป็น 1. การถ่ายละอองเรณูภายในดอกหรือต้นเดียวกัน (self pollination) เป็นการผสมตัวเองอาจจะ เกิดจากการผสมภายในดอกเดียวกันหรือคนละดอกแต่เป็นต้นเดียวกันก็ได้ หรืออาจต่างต้น กันแต่เป็นพันธุ์บริสุทธิ์ซึ่งมียีนเหมือนกัน เช่น ข้าว ซึ่งเป็นพันธุ์เดียวกันและปลูกอยู่ด้วยกัน 2. การถ่ายละอองเรณูข้ามต้น (cross pollination) เป็นการถ่ายละอองเรณูของพืชชนิดเดียวกัน แต่ต่างต้นกันและมีคุณสมบัติทางพันธุกรรมต่างกันคือ มีคุณสมบัติทางพันธุกรรมต่างกันคือ มียีนไม่เหมือนกัน
  • 82.
  • 83.
  • 84. ปัจจัยต่างๆ ที่ทาให้เกิดการถ่ายละอองเรณูและการปฏิสนธิ 1. ลม ดอกไม้ที่มีลมเป็นสื่อพาละอองเรณูจานวนมาก แห้งและเบา สามารถปลิวไปกับลมได้ง่ายและไปได้ไกล ๆ ดอกมัก มีขนาดเล็ก ไม่มีกลิ่นหอม ไม่มีน้าหวานสาหรับล่อแมลง เช่น ดอกข้าว และดอกพืชตระกูลหญ้าต่าง ละหุ่ง พวกสน เกี๊ยะ ละอองเรณูยังมีปีก 2 ข้าง ช่วยให้ปลิวไปได้ง่าย และดีขึ้น สาหรับยอดเกสรตัวเมียของพืชพวกที่มีลมเป็นสื่อใน การพาละอองเรณูไปมักจะมีการแตกเป็นฝอยคล้ายขนนก หรือมียางเหนียวๆ เพื่อจับละอองเรณู การใช้ลมเป็นตัวพา ละอองเรณูไปเรียกว่า แอนีโมฟิลี (anemophily) 2. แมลง ดอกไม้ที่มีแมลงเป็นสื่อพาละอองเรณูไปมักเป็นดอกไม้ที่มีสีสวย กลิ่นหอมและมีต่อมน้าหวานเพื่อล่อแมลงให้ มาหาอาหาร ซึ่งจะทาให้ละอองเรณูติดไปตามปีก ขา ลาตัว ปากของแมลง ละอองเรณูของดอกไม้พวกนี้มักจะเหนียว ทาให้ติดไปกับแมลงได้ง่ายเมื่อแมลงบินไปตอมดอกไม้อื่นก็จะพาละอองไปผสมได้โดยง่าย แมลงพวกนี้ได้แก่ ผีเสื้อ ผึ้ง แมลงภู่ การใช้แมลงเป็นสื่อในการนาละอองเรณูไป เรียกว่า เอนโทโมฟิลี (entomophily) 3. สัตว์อื่น ๆ เช่น นกซึ่งชอบกินเกสรดอกไม้ ซึ่งมีอยู่ค่อนข้างน้อย เช่น นกฮัมมิ่ง (humming bird) การใช้นกเป็นสื่อใน การพาละอองเรณูไป เรียกว่า ออร์นิโทฟิลี (ornithophily) นอกจากนี้ อาจมีพวกกระรอก กระแต ลิงที่หากินบนต้นไม้ หอยทาก เป็นต้น 4. น้า พืชที่ใช้น้าเป็นสื่อในการพาละอองเรณูไปก็คือ พวกพืชน้าเป็นส่วนใหญ่ การใช้น้าเป็นสื่อในการพาละอองเรณูไป เรียกว่า ไฮโดรฟิลี (hydrophily)
  • 85. เมื่อละอองเรณูตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย ละอองเรณูจะดูดน้าหวานจากยอดเกสรเพศเมีย จนงอก pollen tube ลงในเนื้อเยื่อของยอดและก้านของเกสรเพศเมีย โดยการควบคุมของ tube nucleus ส่วนของ pollen tube จะงอกผ่าน เข้าไปทางชอง micropyle ของออวุล และ tube nucleus ก็สลายไป เหลือเพียง generative nucleus ที่มีการแบ่ง เซลล์แบบ mitosis ได้เป็น sperm cell 2 เซลล์ แล้วหลังจากนั้น tube ก็จะงอกผ่านเนื้อเยื่อ nucellus เข้าสู่ภายใน embryo sac เมื่อปลาย tube แตกออก สเปิร์มตัวหนึ่งจะเข้าผสมกับ egg เกิดเป็น zygote มีโครโมโซม 2 ชด (2n) ส่วน สเปิร์มอีก หนึ่งตัวจะเข้าผสมกับ polar nucleus เกิดเป็น endosperm มีโครโมโซม 3 ชุด (3n) ซึ่งการผสมของ นิวเคลียส ที่เกิดขึ้นสองครั้ง เรียกว่า ปฏิสนธิซ้อน (double fertilization) สาหรับ antipodal และ synergid จะสลายไป
  • 86.
  • 87.
  • 88.
  • 89.
  • 90. สรุปการปฏิสนธิ (fertilization) เมื่อละอองเรณูตกลงสู่ยอดเกสรตัวเมียละอองเรณูจะงอกท่อยาว เรียกว่า พอลเลนทิวบ์ (pollen tube) ลงสู่คอเกสรตัวเมีย ทิวบ์นิวเคลียสจะเคลื่อนตัวไปตามท่อในขณะที่เจเน เรทิฟนิวเคลียส จะแบ่งแบบไมโทซิสได้สเปิร์มนิวเคลียส (sperm nucleus) 2 ตัว สเปิร์มนิวเคลียสตัวที่ 1 เข้าผสมกับนิวเคลียสของไข่ได้ไซโกต (2n) ซึ่งจะเจริญไปเป็นเอมบริโอต่อไปส่วนอีกนิวเคลียสจะเข้า ผสมกับโพลาร์นิวคลีไอเป็นไพรมารีเอนโดสเปิร์ม (primary endosperm) ซึ่งมีโครโมโซม 3n และจะ เจริญไปเป็นเอนโดสเปิร์มซึ่งเป็นอาหารสาหรับเลี้ยงเอมบริโอ การผสมซึ่งเกิดการผสม 2 ครั้งนี้เรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (double fertilization) ซึ่งจะพบเฉพาะในพืชดอกเท่านั้น
  • 91. หลังจากปฏิสนธิแล้วออวุล (ovule) จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเมล็ด ส่วนรังไข่จะเจริญไปเป็นผล ไซโกตเจริญไปเป็นเอมบริโอ เอนโดสเปิร์มเจริญไปเป็นอาหารสาหรับเลี้ยงเอมบริโอ ในพืชบางชนิดเอนโด สเปิร์มจะสลายไปก่อนที่เมล็ดจะเจริญ ดังนั้น อาหารสะสมจึงอยู่ภายในใบเลี้ยงของเอมบริโอ การปฏิสนธิ ซ้อนของพืชดอกมีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นการสร้างอาหารให้แก่สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น ผลไม้ ที่เรารับประทานก็เกิดตามมาจากการปฏิสนธิ อาหารพวกข้าว ข้าวโพด ก็เป็นส่วนของเอนโดสเปิร์ม อาหารในเมล็ดถั่วหลายชนิดก็เป็นอาหารที่สะสมอยู่ในใบเลี้ยงของเอมบริโอ
  • 93.
  • 94. ก่อนปฎิสนธิ หลังปฏิสนธิ Ovule Seed Ovary Fruit Integument Seed coat Egg + sperm nucleus Zygote Polar nuclei + sperm nucleus Endosperm Sepal ,petal ,stamen ,synergids และ antipodal สลายตัว
  • 95. “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!