SlideShare a Scribd company logo
NERVOUS SYSTEM AND SENSEORGANS
การรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร ? 
ระบบประสาท 
(nervous system) 
ระบบต่อมไร้ท่อ 
(endocrine system) ระบบประสานงาน (coordinating system) = การรับรู้และการตอบสนอง การควบคุมและติดต่อประสานการทางานของร่างกายเพื่อให้เกิด การรับรู้และการตอบสนอง ต้องอาศัยระบบใด ?
ข้อเปรียบเทียบ 
ระบบประสาท 
ระบบต่อมไร้ท่อ 
รูปแบบการสื่อสาร 
กระแสไฟฟ้าและสารเคมี 
สารเคมี (ฮอร์โมน) 
ความเร็วในการ ตอบสนอง 
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าเกิดขึ้น และสิ้นสุดอย่างรวดเร็ว 
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าช้า 
ระยะเวลาในการ ตอบสนอง 
ตอบสนองเป็นระยะ 
เวลาสั้น 
ตอบสนองเป็น ระยะเวลาที่ยาวนานกว่า 
สารเคมีที่ใช้ในการ สื่อสาร 
สารสื่อประสาท 
ฮอร์โมน ความแตกต่างของการตอบสนองของระบบประสาทกับระบบต่อมไร้ท่อ
1. ส่วนที่รับความรู้สึก (Sensory input) : เซลล์ประสาทรับความรู้สึก 2. ส่วนที่รวบรวมและประสานงาน (integration) : สมองและไขสันหลัง 3. ส่วนที่ส่งความรู้สึกออก (Motor output) :เซลล์ประสาทสั่งการ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ประสาทสั่งการ การทางานของระบบประสาท
สิ่งเร้าหน่วยรับความรู้สึก เซลล์ประสาท รับความรู้สึก หน่วยแปลความรู้สึก 
เซลล์ประสาทสั่งการ 
หน่วยปฏิบัติงานการตอบสนอง การรับรู้การเปลี่ยนแปลงต่อสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต
การจี้ = สิ่งเร้า ผิวหนังที่ถูกจี้ = หน่วยรับความรู้สึก กริยาที่แสดงออก = การตอบสนอง การทางานของกล้ามเนื้อ = หน่วยปฏิบัติงาน หน่วยสั่งการ หน่วยแปลความรู้สึก การรับรู้และ การตอบสนองต่อการจั๊กจี้
• ไม่มีระบบประสาท 
• เส้นใยประสานงาน (coordinating fiber) เชื่อมระหว่างโคนซิเลีย ควบคุมการโบกพัด 1) การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว พารามีเซียม (paramecium)
• ร่างแหประสาท (nerve net) 
• เซลล์ประสาทเชื่อมโยงเป็น ตาข่ายทั่วร่างกาย 
• เมื่อมีสิ่งเร้าจะส่งกระแส ประสาทแบบไซแนปส์ไฟฟ้า 2) การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 
Cnidarianเช่น ไฮดรา (Hydra)
ถ้าใช้เข็มแตะที่ปลายเทนทาเคิลของไฮดรา จะเกิดอะไรขึ้น ?? 
เทนทาเคิลและส่วนต่างๆของร่างกายจะหดสั้นลง เพราะเซลล์ประสาทของไฮดราเชื่อมโยงกันเป็นตาข่าย ทาให้ มีกระแสประสาทแผ่กระจายไปทั่วร่างกาย
• มีการรวมกลุ่มของเซลล์ประสาทเป็น ปมประสาท (nerve ganglion) 2 ปมที่ส่วนหัว 
• มีระบบประสาทแบบขั้นบันได (ladder type) 
•มีเส้นประสาทที่วนรอบลาตัวเป็นแบบวงแหวน เรียกว่า วงแหวนประสาท (nerve ring) พลานาเรีย (Planaria)
ไฮดรา กับ พลานาเรีย มีการรับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างกันอย่างไร? 
• ไฮดรา มีร่างแหประสาท จะตอบสนองทั้งอวัยวะหรือทั่วทั้งร่ายกาย 
• พลานาเรีย มีปมประสาทอยู่ที่หัว เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นจะเกิด กระแสประสาทจากบริเวณที่ถูกกระตุ้นไปตามเส้นประสาทส่งไปยังปม ประสาท ซึ่งเป็นศูนย์กลาง แล้วส่งกระแสประสาทไปยังหน่วย ปฏิบัติงานจึงเกิดเฉพาะส่วนของร่างกาย
• ร่างกายแบ่งออกเป็นปล้องๆ 
• มีปมประสาทขนาดใหญ่เป็นศูนย์กลางของระบบประสาท 
• มีปมประสาทในแต่ละปล้อง 
• มีเส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord) 2 เส้น เชื่อมติดกันทอดยาวตลอดลาตัว 
• มีแขนงประสาทแยก ออกไปตามผนังลาตัว ไส้เดือนดิน (Earthworm), ปลิงน้าจืด, แม่เพรียง
• มีปมประสาทส่วนหัวที่เจริญมาก เรียกว่า สมอง 
• มีปมประสาทอยู่บริเวณปล้องทุกปล้อง 
• มีเส้นประสาทยาวตลอดลาตัวทาง ด้านท้อง(ventral nerve cord )และ ใยประสาทที่แยกออกมาเป็นส่วนของ ระบบประสาทรอบนอก แมลง (Insect)
พารามีเซียมไฮดรา 
พลานาเรีย 
ไส้เดือนดิน 
แมลง 
เส้นใยประสานงาน ร่างแหประสาท 
•ปมประสาท 
• เส้นประสาท 
• วงแหวนประสาท 
• สมอง 
• ปมประสาท 
• เส้นประสาท
• มีระบบประสาทที่พัฒนามาก ประกอบด้วย 1. ระบบประสาทส่วนกลาง Central nervous system : CNSได้แก่ สมองและไขสันหลัง (brain and spinal cord) 2. ระบบประสาทรอบนอก Peripheral nervous system : PNSได้แก่ เส้นประสาทสมองและเส้นประสาท ไขสันหลัง (cranial and spinal nerves) 3) การตอบสนองของคน และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 มีระบบประสาทที่พัฒนามากเซลล์ประสาท เกือบทั้งหมดอยู่รวมกันที่บริเวณ ส่วนหัว 
 สมองและไขสันหลัง (brain and spinal cord) เจริญมาจาก neural tube ของ ectoderm ในระยะตัวอ่อน (embryo) 
 สมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังขณะที่ยัง เป็นเอ็มบริโอมีลักษณะ เป็นหลอดกลวง เรียกว่า นิวรัลทิวบ์ (neural tube) ที่โป่งออก แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง และ สมองส่วนหลัง 3) การตอบสนองของคน และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ตัวอย่าง สมองส่วนต่างๆ 
 สมอง cerebrumมีการพัฒนามากขึ้นตามลาดับของ สายวิวัฒนาการ (รอยหยัก ขนาดต่อน้าหนักสมอง ฯลฯ) 
 สมอง olfactory bulbเจริญดีในพวกปลา จากนั้นค่อยๆ ลดรูปลง 
 สมอง optic lobeเจริญดีในปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า จากนั้นค่อยๆ ลดรูปลง 
 สมอง cerebellumเจริญดีในปลา นก และ คน เคลื่อนไหวได้ดีใน 3 มิติ
เซลล์ประสาท
Did you know? รูปร่างของเซลล์ประสาทมีลักษณะเหมือนหรือ แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ ของร่างกายอย่างไร ? เซลล์อสุจิ เซลล์ไข่ 
เซลล์เม็ดเลือดแดง 
เซลล์เม็ดเลือดขาว 
เซลล์ประสาท
• ตัวเซลล์ (cell body) 
• เส้นใยประสาท (nerve fiber) 1) เดนไดรต์ (dendrite) (dendron, กรีก = ต้นไม้) : รับสัญญาณประสาท 2) แอกซอน (axon) : ส่งกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ โครงสร้างเซลล์ประสาท (Neuron)
ตัวเซลล์ (cell body) 
 มีรูปร่างรี / กลม / เหลี่ยม 
 ภายในมี Nucleus , Mitochondria , golgiboby, กลุ่ม RER เรียกว่า Nisslbody 
ใยประสาท (nerve fiber) มี 2 ชนิด คือ 
 dendrite ทาหน้าที่ รับความรู้สึกเข้าสู่ตัวเซลล์ ไม่มีเยื่อหุ้มไมอีลินหุ้ม อาจมี มากกว่า 1 แขนง 
 axonทาหน้าที่ ส่งกระแส ประสาทออกจากตัวเซลล์ อาจ มีเยื่อหุ้มไมอีลินมาหุ้มหรือไม่ก็ ได้ มี 1 แขนง
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite 
1. นาข้อมูล / สัญญาณออกจากเซลล์ 
1. นาข้อมูล / สัญญาณเข้าสู่เซลล์ 
2. smooth surface 
2. rough surface 
3. มี 1 axon / cell 
3. ส่วนใหญ่มีมากกว่า1 dendrite / cell 
4. ไม่มีribosome 
4. มี ribosome 
5. มี/ไม่มี myelin sheath 
5. ไม่มี myelin sheath 
6. แตกแขนงในตาแหน่งที่ห่างจากตัวเซลล์ 
6. แตกแขนงในตาแหน่งที่ใกล้กับตัวเซลล์
 เป็นเปลือกหุ้มเส้นใยประสาท มีสารจาพวกลิพิดเป็นองค์ประกอบซึ่งจะ ติดต่อกับ Schwann cell ซึ่งเป็นเซลล์ค้าจุน 
รอยต่อระหว่าง Schwann cell จะไม่มีฉนวน เรียกว่า Node of Ranvierช่วยให้กระแสประสาทเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว  แอกซอนที่มีเยื่อหุ้มไมอีลิน (myelinatedaxon)  แอกซอนที่ไม่มีเยื่อหุ้มไมอีลิน (nonmyelinatedaxon) เยื่อไมอีลิน (myelin sheath)
การเกิดเยื่อไมอีลิน
เซลล์ประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลิน
เซลล์ประสาทที่มีเยื่อไมอีลิน (myelin sheath)
เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่ ได้ 3 ชนิด sensory neuron เซลล์ประสาทรับความรู้สึก รับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกถ่ายทอด ไปยังเซลล์ประสาทสั่งการ อาจผ่านหรือไม่ผ่านเซลล์ ประสานงานก็ได้ มีตัวเซลล์อยู่ที่ปมประสาทรากบน ของไขสันหลัง assosiationneuron, interneuron เซลล์ ประสาทประสานงาน ส่งต่อกระแสประสาทระหว่าง เซลล์ประสาทรับความรู้สึกกับเซลล์ประสาทสั่งการ อยู่ภายในสมองและไขสันหลัง motor neuron เซลล์ประสาทสั่งการ เป็นตัวนาคาสั่งในการตอบสนองจาก interneuron ไปยัง หน่วยสั่งการ ให้ตอบสนองเซลล์ประสาทสั่งการ อยู่ในไขสันหลัง sensory neuron Interneuronmotor neuron
เซลล์ประสาท แบ่งตามรูปร่างได้ 3 ชนิด  เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolarneuron)  เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolarneuron) 
 เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron)
• มีเส้นใยประสาทแยกออกมาจาก ตัวเซลล์เพียง1 เส้นใยคือ axon 
•พบในเซลล์ประสาทที่หลั่งฮอร์โมน 
• เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม pseudounipolarneuron มีเส้นใย ประสาทแยกออกจากตัวเซลล์เส้น เดียวแล้วแตกออกเป็น 2 เส้นใย 
• เป็น sensory neuron เช่น เซลล์ ในปมประสาทรากบนของไขสันหลัง  เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolarneuron)
• มีเส้นใยประสาทแยกออกมาจากตัวเซลล์2 เส้นใย 
•พบในเซลล์ประสาทบริเวณเรตินา, เซลล์รับกลิ่น, เซลล์รับเสียง 
 เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron)
 เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolarneuron) 
• มีเดนไดรต์แยกออกจากตัวเซลล์จานวนมาก มีแอกซอน 1 เส้นใย 
•พบในเซลล์ประสาทส่วนใหญ่ เช่น เซลล์ประสาทประสานงาน และเซลล์ประสาทสั่งการ
• เซลล์ประสาทแต่ละเซลล์มีการเชื่อมต่อกัน เพื่อถ่ายทอด กระแสประสาท 
• ตาแหน่งที่ปลายแอกซอนของเซลล์หนึ่งมาเชื่อมต่อกับเดนไดรต์ ของอีกเซลล์เรียกว่า ไซแนปส์ synapse
ฉันเป็นสัตว์น้า อาศัยอยู่ในทะเล ฉันไม่ใช่ปลาแต่มักถูกเรียกนาหน้าว่าปลา ฉันเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ฉันมีท่อไซฟอนไว้พ่นน้าออก เราสามารถศึกษาการทางานของเส้นประสาทในสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง แล้วนาความรู้มาประมวลเพื่อให้ทราบ เกี่ยวกับการ การทางานของระบบประสาทในมนุษย์ได้
•
• หันส่วนที่ไม่ชอบน้า(Hydrophobic) เข้าหากัน 
• หันส่วนที่ชอบน้า(Hydrophilic)ออกจากกัน 
• มีสมบัติให้ไอออนผ่านเข้าออกได้ โดยโปรตีนที่แทรก อยู่จะมีช่องให้ไอออนผ่านเข้าออก การจัดเรียงตัวของฟอสโฟลิพิด
สภาวะปกติที่เซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น ภายนอกเซลล์ประสาทมี ประจุรวมเป็นบวก (+) คือ มี Na+สูงกว่าภายในเซลล์ ภายในเซลล์ประสาท มี ประจุรวมเป็นลบ (-) คือ มี K+สูงกว่าภายนอกเซลล์ แต่มีโปรตีนที่มีประจุลบ มาก
การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์ประสาท 
แบ่งเป็น 5 ระยะดังนี้ Resting state Threshold Depolarization Repolarization Undershoot(Hyperpolarization) 
 all-or-none law การเกิด action potential (กระแสประสาท)จะเกิดเท่ากันทุก ครั้งไม่ว่าจะกระตุ้น เท่ากับหรือสูงกว่าระดับ threshold ก็ตาม หาก กระตุ้นต่ากว่านี้จะไม่ก่อให้เกิดกระแสประสาท
•เซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น 
• นอกเซลล์ : Na+ มาก , ในเซลล์ : K+มาก 
• ศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก (ประมาณ -70 mV) 
•Na+- K+pump : 3Na+ : 2K+
K+ เข้ามาสะสมในเซลล์มาก แล้วทาไมศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์ใน ระยะพักจึงเป็นลบ ? คาถาม ?? -ภายในเซลล์ มีโปรตีนและกรดนิวคลีอิก (มีประจุลบ)ซึ่งไม่ สามารถผ่านออกไปนอกเซลล์ได้ ทาให้ผลรวมประจุเป็นลบเมื่อ เทียบกับภายนอกเซลล์
• สิ่งเร้าที่มากระตุ้นมีความแรงถึง ระดับ threshold เกิดกระแสประสาท เคลื่อนไปในเซลล์ประสาท
• ประตู Na+เปิดออก Na+ ไหล เข้ามา ทาให้ศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์เป็น บวก (ประมาณ +50 mV) 
 Polarize = สภาพที่ทาให้มีขั้ว 
 De = ลด 
 Re= หวนกลับ ,คืนมา
• ประตู Na+ปิด แต่ประตู K+ จะเปิดออก จึงทาให้K+ ไหล ออกนอกเซลล์ ทาให้ศักย์ไฟฟ้ามี ความเป็นลบมากขึ้น (ประมาณ -60 mV)
ประตู K+ ปิดช้า และK+ ไอออนออกนอกเซลล์มาก จึงทาให้ความเป็นลบต่ากว่าปกติ
สรุป การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์ เกิดขึ้นได้ 3 ระยะ ดังนี้ 1. ระยะพัก (Resting stage) 
•เป็นระยะที่เซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น 
• ค่าศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก (resting membrane potential) มี ค่าประมาณ -70 mV 
•เกิดกระบวนการ Na+-K+ pump อัตราส่วน3Na+:2K+
2. ระยะดีโพลาไรเซชัน (Depolarization) 
• มีสิ่งเร้ามากระตุ้นเซลล์ประสาทจนถึงระดับที่ตอบสนองได้ (threshold) 
• ช่อง Na+เปิดNa+ไหลเข้ามาภายในเซลล์ 
• ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์เปลี่ยนจาก -70 เป็น +50 mV3. ระยะรีโพลาไรเซชัน (Repolarization) 
•ช่อง Na+ ปิด แต่ช่องK+เปิด K+ ไหลออกจากเซลล์ 
• ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์เปลี่ยนจาก +50 เป็น -70 mV 
DepolarizationRepolarizationHyperpolarization
การส่งกระแสประสาท (Action Potential) 1. เซลล์ประสาทที่แอกซอนไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม (Unmyelinatedaxon) 2. เซลล์ประสาทที่แอกซอนมีเยื่อไมอีลินหุ้ม (myelinatedaxon)
1. เซลล์ประสาทที่แอกซอนไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม (Unmyelinatedaxon)
แบบต่อเนื่อง (continuous conduction)
2. เซลล์ประสาทที่แอกซอนมีเยื่อไมอีลินหุ้ม (myelinatedaxon) -แบบกระโดด (Saltatoryconduction)
ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วของกระแสประสาท 1. เยื่อไมอีลิน (myelin sheath) -มีเยื่อไมอีลินหุ้ม กระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น 10 เท่า 2.ระยะห่างของโนดออฟ เรนเวียร์(node of Ranvier) - ห่างกันมากกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็ว 3. ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของใยประสาท - เส้นผ่านศูนย์กลางของใยประสาทเพิ่มขึ้นกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็ว เพราะความต้านทานลดลง

More Related Content

What's hot

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
Thitaree Samphao
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
Wichai Likitponrak
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
Wan Ngamwongwan
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
Pacharee Nammon
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 

Similar to Nervous system

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
Natthaya Khaothong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
kalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
kruchanon2555
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
poonwork
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
KunchayaPitayawongro1
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองnokbiology
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
Natthaya Khaothong
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
Nichakorn Sengsui
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
ikaen2520
 

Similar to Nervous system (20)

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

Nervous system

  • 1. NERVOUS SYSTEM AND SENSEORGANS
  • 2. การรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร ? ระบบประสาท (nervous system) ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ระบบประสานงาน (coordinating system) = การรับรู้และการตอบสนอง การควบคุมและติดต่อประสานการทางานของร่างกายเพื่อให้เกิด การรับรู้และการตอบสนอง ต้องอาศัยระบบใด ?
  • 3. ข้อเปรียบเทียบ ระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อ รูปแบบการสื่อสาร กระแสไฟฟ้าและสารเคมี สารเคมี (ฮอร์โมน) ความเร็วในการ ตอบสนอง ตอบสนองต่อสิ่งเร้าเกิดขึ้น และสิ้นสุดอย่างรวดเร็ว ตอบสนองต่อสิ่งเร้าช้า ระยะเวลาในการ ตอบสนอง ตอบสนองเป็นระยะ เวลาสั้น ตอบสนองเป็น ระยะเวลาที่ยาวนานกว่า สารเคมีที่ใช้ในการ สื่อสาร สารสื่อประสาท ฮอร์โมน ความแตกต่างของการตอบสนองของระบบประสาทกับระบบต่อมไร้ท่อ
  • 4.
  • 5. 1. ส่วนที่รับความรู้สึก (Sensory input) : เซลล์ประสาทรับความรู้สึก 2. ส่วนที่รวบรวมและประสานงาน (integration) : สมองและไขสันหลัง 3. ส่วนที่ส่งความรู้สึกออก (Motor output) :เซลล์ประสาทสั่งการ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ประสาทสั่งการ การทางานของระบบประสาท
  • 6. สิ่งเร้าหน่วยรับความรู้สึก เซลล์ประสาท รับความรู้สึก หน่วยแปลความรู้สึก เซลล์ประสาทสั่งการ หน่วยปฏิบัติงานการตอบสนอง การรับรู้การเปลี่ยนแปลงต่อสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต
  • 7. การจี้ = สิ่งเร้า ผิวหนังที่ถูกจี้ = หน่วยรับความรู้สึก กริยาที่แสดงออก = การตอบสนอง การทางานของกล้ามเนื้อ = หน่วยปฏิบัติงาน หน่วยสั่งการ หน่วยแปลความรู้สึก การรับรู้และ การตอบสนองต่อการจั๊กจี้
  • 8. • ไม่มีระบบประสาท • เส้นใยประสานงาน (coordinating fiber) เชื่อมระหว่างโคนซิเลีย ควบคุมการโบกพัด 1) การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว พารามีเซียม (paramecium)
  • 9. • ร่างแหประสาท (nerve net) • เซลล์ประสาทเชื่อมโยงเป็น ตาข่ายทั่วร่างกาย • เมื่อมีสิ่งเร้าจะส่งกระแส ประสาทแบบไซแนปส์ไฟฟ้า 2) การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง Cnidarianเช่น ไฮดรา (Hydra)
  • 10. ถ้าใช้เข็มแตะที่ปลายเทนทาเคิลของไฮดรา จะเกิดอะไรขึ้น ?? เทนทาเคิลและส่วนต่างๆของร่างกายจะหดสั้นลง เพราะเซลล์ประสาทของไฮดราเชื่อมโยงกันเป็นตาข่าย ทาให้ มีกระแสประสาทแผ่กระจายไปทั่วร่างกาย
  • 11. • มีการรวมกลุ่มของเซลล์ประสาทเป็น ปมประสาท (nerve ganglion) 2 ปมที่ส่วนหัว • มีระบบประสาทแบบขั้นบันได (ladder type) •มีเส้นประสาทที่วนรอบลาตัวเป็นแบบวงแหวน เรียกว่า วงแหวนประสาท (nerve ring) พลานาเรีย (Planaria)
  • 12.
  • 13. ไฮดรา กับ พลานาเรีย มีการรับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างกันอย่างไร? • ไฮดรา มีร่างแหประสาท จะตอบสนองทั้งอวัยวะหรือทั่วทั้งร่ายกาย • พลานาเรีย มีปมประสาทอยู่ที่หัว เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นจะเกิด กระแสประสาทจากบริเวณที่ถูกกระตุ้นไปตามเส้นประสาทส่งไปยังปม ประสาท ซึ่งเป็นศูนย์กลาง แล้วส่งกระแสประสาทไปยังหน่วย ปฏิบัติงานจึงเกิดเฉพาะส่วนของร่างกาย
  • 14. • ร่างกายแบ่งออกเป็นปล้องๆ • มีปมประสาทขนาดใหญ่เป็นศูนย์กลางของระบบประสาท • มีปมประสาทในแต่ละปล้อง • มีเส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord) 2 เส้น เชื่อมติดกันทอดยาวตลอดลาตัว • มีแขนงประสาทแยก ออกไปตามผนังลาตัว ไส้เดือนดิน (Earthworm), ปลิงน้าจืด, แม่เพรียง
  • 15. • มีปมประสาทส่วนหัวที่เจริญมาก เรียกว่า สมอง • มีปมประสาทอยู่บริเวณปล้องทุกปล้อง • มีเส้นประสาทยาวตลอดลาตัวทาง ด้านท้อง(ventral nerve cord )และ ใยประสาทที่แยกออกมาเป็นส่วนของ ระบบประสาทรอบนอก แมลง (Insect)
  • 16.
  • 17. พารามีเซียมไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง เส้นใยประสานงาน ร่างแหประสาท •ปมประสาท • เส้นประสาท • วงแหวนประสาท • สมอง • ปมประสาท • เส้นประสาท
  • 18. • มีระบบประสาทที่พัฒนามาก ประกอบด้วย 1. ระบบประสาทส่วนกลาง Central nervous system : CNSได้แก่ สมองและไขสันหลัง (brain and spinal cord) 2. ระบบประสาทรอบนอก Peripheral nervous system : PNSได้แก่ เส้นประสาทสมองและเส้นประสาท ไขสันหลัง (cranial and spinal nerves) 3) การตอบสนองของคน และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 19.  มีระบบประสาทที่พัฒนามากเซลล์ประสาท เกือบทั้งหมดอยู่รวมกันที่บริเวณ ส่วนหัว  สมองและไขสันหลัง (brain and spinal cord) เจริญมาจาก neural tube ของ ectoderm ในระยะตัวอ่อน (embryo)  สมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังขณะที่ยัง เป็นเอ็มบริโอมีลักษณะ เป็นหลอดกลวง เรียกว่า นิวรัลทิวบ์ (neural tube) ที่โป่งออก แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง และ สมองส่วนหลัง 3) การตอบสนองของคน และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 20. ตัวอย่าง สมองส่วนต่างๆ  สมอง cerebrumมีการพัฒนามากขึ้นตามลาดับของ สายวิวัฒนาการ (รอยหยัก ขนาดต่อน้าหนักสมอง ฯลฯ)  สมอง olfactory bulbเจริญดีในพวกปลา จากนั้นค่อยๆ ลดรูปลง  สมอง optic lobeเจริญดีในปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า จากนั้นค่อยๆ ลดรูปลง  สมอง cerebellumเจริญดีในปลา นก และ คน เคลื่อนไหวได้ดีใน 3 มิติ
  • 22. Did you know? รูปร่างของเซลล์ประสาทมีลักษณะเหมือนหรือ แตกต่างจากเซลล์อื่นๆ ของร่างกายอย่างไร ? เซลล์อสุจิ เซลล์ไข่ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว เซลล์ประสาท
  • 23. • ตัวเซลล์ (cell body) • เส้นใยประสาท (nerve fiber) 1) เดนไดรต์ (dendrite) (dendron, กรีก = ต้นไม้) : รับสัญญาณประสาท 2) แอกซอน (axon) : ส่งกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ โครงสร้างเซลล์ประสาท (Neuron)
  • 24. ตัวเซลล์ (cell body)  มีรูปร่างรี / กลม / เหลี่ยม  ภายในมี Nucleus , Mitochondria , golgiboby, กลุ่ม RER เรียกว่า Nisslbody ใยประสาท (nerve fiber) มี 2 ชนิด คือ  dendrite ทาหน้าที่ รับความรู้สึกเข้าสู่ตัวเซลล์ ไม่มีเยื่อหุ้มไมอีลินหุ้ม อาจมี มากกว่า 1 แขนง  axonทาหน้าที่ ส่งกระแส ประสาทออกจากตัวเซลล์ อาจ มีเยื่อหุ้มไมอีลินมาหุ้มหรือไม่ก็ ได้ มี 1 แขนง
  • 25. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite 1. นาข้อมูล / สัญญาณออกจากเซลล์ 1. นาข้อมูล / สัญญาณเข้าสู่เซลล์ 2. smooth surface 2. rough surface 3. มี 1 axon / cell 3. ส่วนใหญ่มีมากกว่า1 dendrite / cell 4. ไม่มีribosome 4. มี ribosome 5. มี/ไม่มี myelin sheath 5. ไม่มี myelin sheath 6. แตกแขนงในตาแหน่งที่ห่างจากตัวเซลล์ 6. แตกแขนงในตาแหน่งที่ใกล้กับตัวเซลล์
  • 26.  เป็นเปลือกหุ้มเส้นใยประสาท มีสารจาพวกลิพิดเป็นองค์ประกอบซึ่งจะ ติดต่อกับ Schwann cell ซึ่งเป็นเซลล์ค้าจุน รอยต่อระหว่าง Schwann cell จะไม่มีฉนวน เรียกว่า Node of Ranvierช่วยให้กระแสประสาทเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว  แอกซอนที่มีเยื่อหุ้มไมอีลิน (myelinatedaxon)  แอกซอนที่ไม่มีเยื่อหุ้มไมอีลิน (nonmyelinatedaxon) เยื่อไมอีลิน (myelin sheath)
  • 30. เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่ ได้ 3 ชนิด sensory neuron เซลล์ประสาทรับความรู้สึก รับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกถ่ายทอด ไปยังเซลล์ประสาทสั่งการ อาจผ่านหรือไม่ผ่านเซลล์ ประสานงานก็ได้ มีตัวเซลล์อยู่ที่ปมประสาทรากบน ของไขสันหลัง assosiationneuron, interneuron เซลล์ ประสาทประสานงาน ส่งต่อกระแสประสาทระหว่าง เซลล์ประสาทรับความรู้สึกกับเซลล์ประสาทสั่งการ อยู่ภายในสมองและไขสันหลัง motor neuron เซลล์ประสาทสั่งการ เป็นตัวนาคาสั่งในการตอบสนองจาก interneuron ไปยัง หน่วยสั่งการ ให้ตอบสนองเซลล์ประสาทสั่งการ อยู่ในไขสันหลัง sensory neuron Interneuronmotor neuron
  • 31. เซลล์ประสาท แบ่งตามรูปร่างได้ 3 ชนิด  เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolarneuron)  เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolarneuron)  เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron)
  • 32. • มีเส้นใยประสาทแยกออกมาจาก ตัวเซลล์เพียง1 เส้นใยคือ axon •พบในเซลล์ประสาทที่หลั่งฮอร์โมน • เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม pseudounipolarneuron มีเส้นใย ประสาทแยกออกจากตัวเซลล์เส้น เดียวแล้วแตกออกเป็น 2 เส้นใย • เป็น sensory neuron เช่น เซลล์ ในปมประสาทรากบนของไขสันหลัง  เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolarneuron)
  • 33. • มีเส้นใยประสาทแยกออกมาจากตัวเซลล์2 เส้นใย •พบในเซลล์ประสาทบริเวณเรตินา, เซลล์รับกลิ่น, เซลล์รับเสียง  เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron)
  • 34.  เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolarneuron) • มีเดนไดรต์แยกออกจากตัวเซลล์จานวนมาก มีแอกซอน 1 เส้นใย •พบในเซลล์ประสาทส่วนใหญ่ เช่น เซลล์ประสาทประสานงาน และเซลล์ประสาทสั่งการ
  • 35. • เซลล์ประสาทแต่ละเซลล์มีการเชื่อมต่อกัน เพื่อถ่ายทอด กระแสประสาท • ตาแหน่งที่ปลายแอกซอนของเซลล์หนึ่งมาเชื่อมต่อกับเดนไดรต์ ของอีกเซลล์เรียกว่า ไซแนปส์ synapse
  • 36.
  • 37. ฉันเป็นสัตว์น้า อาศัยอยู่ในทะเล ฉันไม่ใช่ปลาแต่มักถูกเรียกนาหน้าว่าปลา ฉันเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ฉันมีท่อไซฟอนไว้พ่นน้าออก เราสามารถศึกษาการทางานของเส้นประสาทในสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง แล้วนาความรู้มาประมวลเพื่อให้ทราบ เกี่ยวกับการ การทางานของระบบประสาทในมนุษย์ได้
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43. • หันส่วนที่ไม่ชอบน้า(Hydrophobic) เข้าหากัน • หันส่วนที่ชอบน้า(Hydrophilic)ออกจากกัน • มีสมบัติให้ไอออนผ่านเข้าออกได้ โดยโปรตีนที่แทรก อยู่จะมีช่องให้ไอออนผ่านเข้าออก การจัดเรียงตัวของฟอสโฟลิพิด
  • 44.
  • 45. สภาวะปกติที่เซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น ภายนอกเซลล์ประสาทมี ประจุรวมเป็นบวก (+) คือ มี Na+สูงกว่าภายในเซลล์ ภายในเซลล์ประสาท มี ประจุรวมเป็นลบ (-) คือ มี K+สูงกว่าภายนอกเซลล์ แต่มีโปรตีนที่มีประจุลบ มาก
  • 46. การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์ประสาท แบ่งเป็น 5 ระยะดังนี้ Resting state Threshold Depolarization Repolarization Undershoot(Hyperpolarization)  all-or-none law การเกิด action potential (กระแสประสาท)จะเกิดเท่ากันทุก ครั้งไม่ว่าจะกระตุ้น เท่ากับหรือสูงกว่าระดับ threshold ก็ตาม หาก กระตุ้นต่ากว่านี้จะไม่ก่อให้เกิดกระแสประสาท
  • 47. •เซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น • นอกเซลล์ : Na+ มาก , ในเซลล์ : K+มาก • ศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก (ประมาณ -70 mV) •Na+- K+pump : 3Na+ : 2K+
  • 48. K+ เข้ามาสะสมในเซลล์มาก แล้วทาไมศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์ใน ระยะพักจึงเป็นลบ ? คาถาม ?? -ภายในเซลล์ มีโปรตีนและกรดนิวคลีอิก (มีประจุลบ)ซึ่งไม่ สามารถผ่านออกไปนอกเซลล์ได้ ทาให้ผลรวมประจุเป็นลบเมื่อ เทียบกับภายนอกเซลล์
  • 49. • สิ่งเร้าที่มากระตุ้นมีความแรงถึง ระดับ threshold เกิดกระแสประสาท เคลื่อนไปในเซลล์ประสาท
  • 50. • ประตู Na+เปิดออก Na+ ไหล เข้ามา ทาให้ศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์เป็น บวก (ประมาณ +50 mV)  Polarize = สภาพที่ทาให้มีขั้ว  De = ลด  Re= หวนกลับ ,คืนมา
  • 51. • ประตู Na+ปิด แต่ประตู K+ จะเปิดออก จึงทาให้K+ ไหล ออกนอกเซลล์ ทาให้ศักย์ไฟฟ้ามี ความเป็นลบมากขึ้น (ประมาณ -60 mV)
  • 52. ประตู K+ ปิดช้า และK+ ไอออนออกนอกเซลล์มาก จึงทาให้ความเป็นลบต่ากว่าปกติ
  • 53. สรุป การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์ เกิดขึ้นได้ 3 ระยะ ดังนี้ 1. ระยะพัก (Resting stage) •เป็นระยะที่เซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น • ค่าศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก (resting membrane potential) มี ค่าประมาณ -70 mV •เกิดกระบวนการ Na+-K+ pump อัตราส่วน3Na+:2K+
  • 54. 2. ระยะดีโพลาไรเซชัน (Depolarization) • มีสิ่งเร้ามากระตุ้นเซลล์ประสาทจนถึงระดับที่ตอบสนองได้ (threshold) • ช่อง Na+เปิดNa+ไหลเข้ามาภายในเซลล์ • ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์เปลี่ยนจาก -70 เป็น +50 mV3. ระยะรีโพลาไรเซชัน (Repolarization) •ช่อง Na+ ปิด แต่ช่องK+เปิด K+ ไหลออกจากเซลล์ • ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์เปลี่ยนจาก +50 เป็น -70 mV 
  • 56. การส่งกระแสประสาท (Action Potential) 1. เซลล์ประสาทที่แอกซอนไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม (Unmyelinatedaxon) 2. เซลล์ประสาทที่แอกซอนมีเยื่อไมอีลินหุ้ม (myelinatedaxon)
  • 58.
  • 61. ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วของกระแสประสาท 1. เยื่อไมอีลิน (myelin sheath) -มีเยื่อไมอีลินหุ้ม กระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น 10 เท่า 2.ระยะห่างของโนดออฟ เรนเวียร์(node of Ranvier) - ห่างกันมากกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็ว 3. ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของใยประสาท - เส้นผ่านศูนย์กลางของใยประสาทเพิ่มขึ้นกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็ว เพราะความต้านทานลดลง