SlideShare a Scribd company logo
1 of 208
Download to read offline
บทที่ 5 การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของสัตว์
รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
• นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครูชานาญการ (คศ.2) สาขาวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
• พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
• พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
• พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
• พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
• พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
ครูผู้สอน
วัฏจักรชีวิต(Life cycle)ของสิ่งมีชีวิตแบ่งได้ 3 แบบ
1. Haplontic cycle ระยะตัวเต็มวัย (Adult) จะเป็น Haploid (n)
ระยะที่เป็น 2n พบแค่ช่วงสั้นๆ พบในพวก protist โดยเริ่มที่ระยะมีหลายเซลล์ n เดียว
(haploid multicellular organism) จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์โดยการแบ่ง
mitosis ได้ gamete n เดียว เมื่อ gamete มาปฏิสนธิกัน (fertilization) ได้
zygote 2n แล้วแบ่ง meiosis ได้เซลล์อย่างละ n แล้ว n จะแบ่ง mitosis หลายๆครั้ง
จนกระทั่งเป็นตัว เป็นต้นที่มีหลายเซลล์แต่ n เดียว เรียกว่า Haploidic cycle คือ ส่วน
ใหญ่ของวงจรชีวิตจะเป็น n เดียว พบในพวกราส่วนใหญ่และสาหร่ายบางชนิด
วัฏจักรชีวิต(Life cycle)ของสิ่งมีชีวิตแบ่งได้ 3 แบบ
2. Diplohaplontic cycle จะเป็นวงจรสลับระหว่างระยะที่มีโครโมโซมชุดเดียว
n เดียว (haploid) และระยะโครโมโซม 2n (diploid) สลับกัน พบในพืชชั้นต่าพวกมอส
เฟิร์น บางครั้งเรียกว่า Alternation of Generation วงชีวิตแบบสลับ วงจรนี้แบ่งเป็น 2
ระยะ คือ ระยะ haploid multicellular organism เป็นระยะที่มีหลายเซลล์
โครโมโซม n เดียว เรียกว่า gametophyte หรือต้นที่สร้าง gamete แบ่ง mitosis ได้
gamete n เดียว มา fertilization ได้ zygote 2n แล้วแบ่ง mitosis หลายๆเซลล์
ได้ เป็นต้นใหญ่ขึ้นมา เรียกว่า diploid multicellular organism หรือ
sporophyte 2n เพราะฉะนั้นวงชีวิตแบบนี้จะมีระยะ n กับ 2n อย่างละครึ่งเพราะเป็นพวก
พืชชั้นต่าและพวกสาหร่าย มีระยะ gametophyte และ sporophyte เท่าๆกัน หรือ
บางครั้งเรียกว่า Alternation of Generation
วัฏจักรชีวิต(Life cycle)ของสิ่งมีชีวิตแบ่งได้ 3 แบบ
3. Diplontic cycle ระยะส่วนใหญ่ของวงจรชีวิต
หรือวัฏจักรชีวิตเป็น 2n (diploid) ส่วนระยะ n จะเกิดแค่ช่วง
สั้นๆ พบในพืชชั้นสูง สัตว์ชั้นสูง โดยเริ่มที่ระยะ 2n เป็นระยะที่พบ
มากในวงชีวิต เป็น diploid multicellular organism แล้ว
จะสร้าง gamete โดยการแบ่ง meiosis เป็น sperm กับ egg
n เดียวซึ่งเป็นระยะสั้นๆ พอแบ่งเสร็จ sperm ผสมกับ egg
fertilization ได้ zygote 2n แบ่ง mitosis หลายๆ ครั้งจน
เป็นตัวหรือเป็นต้นที่มี 2n ในพืชชั้นสูง คือ พืชดอก ต้นที่เราเห็นคือ
sporophyte มี diploid (2n) เป็นต้นที่เราเห็นอายุยืนยาว
ภายในดอก ถ้าเป็นเกสรตัวผู้ภายในจะมีการแบ่ง meiosis เพื่อสร้าง
microspore แล้วเจริญไปเป็น pollen ตัวเมียมีการสร้าง
embryo sac ซึ่งจะมี egg อยู่ข้างใน แล้วใน pollen ซึ่งภายใน
จะมี sperm nucleus ก็ผสมกับ egg nucleus เกิด
fertilization เพราะฉะนั้น ระยะที่เป็น n เป็นแค่ embryo
sac กับ pollen เท่านั้น แล้วในระยะส่วนใหญ่ที่เราเห็นจะเป็นระยะ
sporophyte 2n
การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (Growth and Development)
1. ความหมายของการเติบโต (growth) ของสิ่งมีชีวิต
1.1 สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวเช่น
โพรโทซัว แบตทีเรียและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ พบว่าการเติบโตประกอบด้วย
1. การสร้างไซโทพลาซึม 2. การขยายขนาดของเซลล์
การเติบโต = การสร้างไซโทพลาซึม+ การขยายขนาดของเซลล์
1.2 สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ การเติบโตของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น พืช สัตว์
สาหร่ายเห็ด รา ทั่ว ๆ ไปพบว่าการเติบโตประกอบด้วย
1. การแบ่งเซลล์ เพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ โดยมีการแบ่งแบบไมโทซิส
2. การสร้างไซโทพลาซึมทาให้เซลล์เพิ่มมวลมากขึ้น
3. การขยายขนาดของเซลล์ เพื่อทาให้เซลล์เพิ่มปริมาตรมากขึ้น
การเติบโตของสิ่งมีชีวิต = การเพิ่มปริมาณโพรโทพลาซึม + การขยายขนาดของ
เซลล์ + การเพิ่มจานวนเซลล์
การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (Growth and Development)
2. การเจริญ (Development) ของสิ่งมีชีวิต เป็นกระบวนการที่ร่างกายของสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไปโดยเพิ่ม
จานวนเซลล์ เพิ่มขนาดของเซลล์หรือเปลี่ยนแปลงสภาพของเซลล์อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างพร้อม
ๆ กัน ทาให้เกิดเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ
การเจริญเติบโตของสัตว์ (Growth and Development)
• การเจริญของสัตว์ จะนับหลังจากระยะ zygote เป็นต้นไป zygote คือ fertilized egg
หรือไข่ที่ผสมแล้วคือเซลล์ร่างกายเซลล์แรกซึ่งต่อไปจะมีการแบ่งนิวเคลียสแบบ mitosis แบ่ง
เซลล์เพิ่มจานวนมากมายจนกระทั่งเป็นตัวสัตว์ขึ้นมา ตัวอย่างเช่นในคนเมื่อโตแล้วจะมีเซลล์ทั้งหมด
ประมาณ 60 ล้านล้านเซลล์ซึ่งมาจาก zygote เซลล์เดียวเท่านั้น การเจริญแบ่งขั้นตอนได้ 4 ขั้น
ด้วยกันคือ
1. Cell multiplication การเพิ่มจานวนเซลล์โดยการแบ่งนิวเคลียสแบบ mitosis และ
แบ่ง cytoplasm ต่อไป : ระยะ Cleavage
2. Growth การเติบโต เซลล์แต่ละเซลล์ที่แบ่งแล้วตอนหลังจะมีการขยายขนาดขึ้น ผลทาให้
embryo มีขนาดใหญ่ขึ้นนั่นเอง : ระยะ Blastulation
3. Cell differentiation การเปลี่ยนสภาพของเซลล์ คือ การที่เซลล์มีการเปลี่ยนรูปร่างให้
เหมาะกับหน้าที่ เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดงจะกลมแบน เซลล์ประสาทจะมีแขนงยื่นออกไป เป็นต้น :
ระยะ Gastrulation
4. Organogenesis / morphogenesis กระบวนการสร้างอวัยวะและการเกิดรูปร่างที่
แน่นอน
Sexual Reproduction in animal
external fertilization in sea urchin
The human life cycle
การปฏิสนธิของคน(Fertilizationin Human)
• ในคนปกติไข่จะตกหลังจากมีประจาเดือนวันแรก 14 วัน หรือ 2 สัปดาห์เมื่อมีการร่วมเพศฝ่ ายชาย
จะหลั่งน้าอสุจิ ซึ่งประกอบด้วย อสุจิเป็นจานวนล้าน ๆ ตัวเข้าไปในช่องคลอดของฝ่ ายหญิงอสุจิจะ
แหวกว่ายจากช่องคลอดเข้าไปยังมดลูก และปีกมดลูกด้วยความเร็ว 1.5 - 3 มิลลิเมตรต่อนาที ถ้าตรง
กับช่วงไข่ตกพอดีไข่และอสุจิจะผสมกันที่บริเวณปีกมดลูกเกิดการปฏิสนธิขึ้น
• ในสัตว์บางชนิดเมื่ออสุจิเข้าไปถึงไข่พร้อมๆ กัน อสุจิทุกตัวจะพยายามเจาะไข่ การที่อสุจิเจาะไข่ได้
มากกว่า 1 ตัว เรียกลักษณะเช่นนี้ว่า POLYSPERMAE เพราะฉะนั้น ไข่จะมีการป้องกันไม่ให้
อสุจิเข้าไปในไข่มากกว่า 1 ตัวโดยการสร้างสารบางอย่างขึ้นมาล้อมรอบไข่หลังจากที่อสุจิตัวแรก
เจาะเข้าไข่แล้ว ไข่จะมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและจะไม่ยอมให้อสุจิตัวอื่นผ่านเข้าไปได้อีกในคน
ปฏิกิริยาเช่นนี้เรียกว่า ZONA REACTION
(1) ไข่ระยะ secondary oocyte ซึ่งพร้อมที่จะผสมพันธุ์หลุดออกจากรังไข่ (ovulation) เข้าไปอยูใน
ท่อนาไข่ (oviduct) การปฏิสนธิเกิดขึ้นภายในท่อนาไข่ได้เป็นไซโกต (zygote)
(2) cleavage เริ่มเกิดขึ้นขณะที่เอมบริโอเคลื่อนตัวมาสู่มดลูก สิ้นสุดจะได้กกลุ่มเซลล์ เรียกว่า morula
(3) ขณะที่มาถึงมดลูกเอมบริโอจะมีการเคลื่อนที่ของกลุ่มเซลล์แยกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
3.1 trophoblast เป็นกลุ่มเซลล์ที่เรียงตัวกันชั้นเดียวอยู่รอบนอก ซึ่งต่อไปจะเจริญรวมกับเนื้อเยื่อของผนัง
มดลูกกลายเป็นรก (placenta)
3.2 กลุ่มเซลล์ที่อยู่ภายใน เรียกว่า inner cell mass เป็นส่วนที่จะเจริญต่อไปเป็นเอมบริโอ เรียกเอมบริโอระยะ
นี้ว่า blastocyst
(4) blastocyst จะฝังตัวในผนังมดลูก ซึ่งเอมบริโอเจริญมาได้ประมาณ 7 วันหลังการปฏิสนธิ
การปฏิสนธิของคน(Fertilizationin Human)
การตั้งครรภ์ (Pregnancy)
• เมื่อเกิดการตกไข่และไข่รวมกับตัวอสุจิ ที่เรียกว่า การปฏิสนธิ ไข่ที่ถูกผสมแล้วจะเริ่มมี
การแบ่งตัวจนเป็นกลุ่มเซลล์ ที่เราเรียกว่า เอ็มบริโอ(Embryo) ขณะที่เซลล์เกิดการ
แบ่งเซลล์ ก็จะเคลื่อนที่ไปตามท่อนาไข่ และเคลื่อนที่ไปฝังตัวที่ผนังมดลูกชั้นในที่สร้าง
หนาขึ้น การเจริญเติบโตของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
• ในระยะ CLEAVAGE นั้นคล้ายกับสัตว์อื่นๆ แต่ในระยะ Blastula ไข่ที่เป็น
Isolecithal คือ พวกที่มีไข่แดงน้อยและกระจายอยู่ทั่วไปภายในเซลล์จะมีช่องที่
เรียกว่า Blastocyst cavity ส่วนกลุ่มเซลล์ที่เห็นเรียงตัวกันอยู่รอบนอก เรียกว่า
Trophoblast และยังมีกลุ่มเซลล์อีกกลุ่มหนึ่งอยู่ทางด้านใน เรียกกลุ่มเซลล์นี้ว่า
Inner cell mass
• จากนั้นเอ็มบริโอก็จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเรื่อยๆ จนอายุครบ8 สัปดาห์ (2 เดือน)
จึงมีอวัยวะครบ และมีลักษณะทุกอย่างเหมือนคน กระดูกอ่อนก็จะเปลี่ยนเป็นกระดูกแข็ง
เรียกระยะที่มีอวัยวะทุกอย่างครบ และมีลักษณะเหมือนคนทุกประการ เรียกว่า ฟีตัส
(Fetus) ต่อมาฟีตัสก็จะเจริญต่อไปในท้องแม่ อีกประมาณ 7 เดือน จึงคลอดออกมา
เป็น “ทารก”
การเจริญของ extraembryonic membranes ของไก่
Yolk sac มีลักษณะเป็นถุงหุ้มไข่แดง มีเซลล์ย่อยสลายไข่แดง และเยื่อหุ้มเจริญเป็นเส้นเลือด
ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร ด้านข้างแผ่เข้าไปคลุมเอมบริโอและในที่สุดเชื่อมติดกัน ทาให้เกิดเยื่ออีก 2 ชั้น
ได้แก่ amnion และ chorion เกิดเป็นช่องว่างหุ้มเอมบริโอไว้ เพื่อป้องกันอันตราย amnion เป็นถุงหุ้ม
เอมบริโอภายในมีน้าคร่า (amniotic fluid) โดยมี chorion หุ้มอยู่อีกชั้นหนึ่ง นอกจากนี้มีถุงยื่นออกมา
จากส่วนทางเดินอาหาร ทาหน้าที่กาจัดของเสีย เรียกว่า allantois ซึ่งจะแผ่ไปถึงและดันให้ chorion ติด
กับเยื่อชั้นในของเปลือกไข่ (vitelline membrane) allantois และ chorion รวมกันเจริญเป็นอวัยวะช่วย
ในการหายใจ โดยมีเส้นเลือดที่เจริญมาจาก allantois ทาหน้าที่ลาเลียงออกซิเจน
(1) หลังจาก cleavage ได้ blastocyst ซึ่งประกอบด้วย
trophoblast และ inner cell mass มีช่อง blastocoel
(2) blastocyst เป็นระยะที่จะฝังตัวเข้าไปในมดลูก และ
gastrulation จะเกิดขึ้นทันที trophoblast เป็นกลุ่มเซลล์
ที่เรียงอยู่ด้านนอก ซึ่งจะเจริญรวมกับผนังมดลูก กลุ่ม
เซลล์ inner cell mass แยกตัวเป็น epiblast ซึ่งจะเจริญ
เป็นเนื้อ 3 ชั้น และ hypoblast ซึ่งจะแผ่ตัวเป็นเยื่อชั้นใน
เป็น yolk sac
(3) ระยะนี้ trophoblast เริ่มเจริญร่วมกับผนังมดลูกเป็น
chorion ส่วน epiblast เจริญเป็น amnion ภายในมี
ของเหลวเรียกว่า น้าคร่า (amniotic fluid) บางส่วนของ
epiblast แยกเป็น mesodermal cell เจริญรวมกับ
chorion เป็นรก (placenta)
(4) กลุ่มเซลล์ epiblast มีการม้วนตัวเข้าสู่แนวกลางตัว
เกิด primitive streak และมีการม้วนตัวเข้าไปข้างใน เกิด
เป็นเนื้อ 3 ชั้น อยู่ภายใน extraembryonic membranes
การเจริญของเอมบริโอของคนและ extraembryonic membranes
โครงสร้างนอกตัว embryo (Extra embryonic membrane)
• พบเฉพาะในสัตว์ 3 พวก คือ
1. สัตว์ปีกหรือพวกนก (Aves) 2. สัตว์เลื้อยคลาน (reptile) และ 3. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม (mammal)
• โครงสร้างที่อยู่นอกตัวเอมบริโอ ประกอบด้วย 4 อย่าง ได้แก่
1. yolk sac ถุงไข่แดง 2. Amnion ถุงน้าคร่า 3. chrion และ 4. allantois
1. Yolk sac ถุงไข่แดง ในพวกนกและสัตว์เลื้อยคลานเป็นสัตว์ที่มีไข่แดงมาก เพราะฉะนั้นถุงไข่
แดงจึงมีไข่แดงอยู่ข้างใน ส่วนในคนหรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมไม่มีไข่แดงฉะนั้นถุงนี้ก็มีไว้เฉยๆ ซึ่ง
เกี่ยวกับเรื่องวิวัฒนาการว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมมีต้นตระกูลเป็นสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์เลื้อยคลานมี
yolk sac และมีไข่แดงอยู่ข้างใน นกก็มีต้นตระกูลเป็นสัตว์เลื้อยคลานเหมือนกัน ใน yolk sac มีไข่แดง
แต่ในคนและสัตว์เลื้อยลูกด้วยน้านมอื่นๆ นั้นไข่แดงไม่มีแล้ว แต่เนื่องจากว่ามันมีต้นตระกูลเป็น
สัตว์เลื้อยคลานก็เลยมี yolk sac เหลือให้เราเห็นแต่ไม่ทางาน
2. Amnion ถุงน้าคร่า ในสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วนน้านมทาหน้าที่เหมือนกัน
คือป้องกันอันตรายให้แก่ embryo เพราะว่าในถุงน้าคร่าจะมีของเหลวเรียกว่า amniotic fluid เนื่องจาก
สัตว์พวกนี้วางไข่บนบก เพเราะฉะนั้นรอบตัว embryo ต้องมีน้าล้อมรอบป้องกันอันตราย ส่วนพวก
ปลาพวกกบ ไม่มี Amnion เพราะพวกนี้วางไข่ในน้ามีน้าล้อมรอบตัวไข่อยู่แล้ว
โครงสร้างนอกตัว embryo (Extra embryonic membrane)
3. Chorion เป็นเยื่อชั้นนอกสุดของ Embryo เป็นโครงสร้างอยู่นอกตัว ในนกป้องกันการระเหย
ของน้า ในคนจะเจริญไปเป็นรก Chorion มาจากกลุ่มเซลล์ในระยะ Blastocyst ที่เรียกว่า Trophoblast
ต่อไปเป็น Chorion เนื่องจากมันอยู่นอกสุดมันจะไปปะติดกับผนังมดลูกของแม่กลายเป็นส่วนหนึ่งของ
รกเรียกว่ารกลูกหรือ Fetal placenta
4. Allantois ในนกและสัตว์เลื้อยคลานจะเก็บของเสียและแลกเปลี่ยนก๊าซ ของเสียที่เก็บเป็นกรดยู
ริค สัตว์พวกนี้ไข่แดงมากดังนั้นกว่าจะออกจากไข่ต้องใช้เวลานาน ฉะนั้นถ้าปัสสาวะเป็นน้า จะไม่มีที่เก็บ
จึงขับของเสียในรูปกรดยูริค เป็นของแข็งเก็บในถุงนี้ได้
ในคนมีแต่ไม่ทางานเหมือนในนกและสัตว์เลื้อยคลาน แต่จะเจริญเป็นส่วนหนึ่งของรกคือรกลูกนั่นเอง
เพราะในคนรกจะเป็นตัวที่ติดต่อระหว่างแม่กับลูก แม่ก็มีเส้นเลือดมาที่รกนาอาหารออกซิเจนมาให้ลูก
ลูกมีเส้นเลือดติดต่อรก นาของเสีย CO2 ไปทิ้ง
รก หรือ Placenta ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1.รกของลูก ประกอบด้วย Chorion กับ Allantois
(สายสะดือของลูเท่านั้น ประกอบด้วยYolk sac กับ Allantois) : เส้นเลือดในสายสะดือ)
2.รกของแม่ คือ ผนังชั้นในของมดลูก uterine tissue ที่เรียกว่า Endometrium
Be careful
This opposite
the normal
circulation
ภาพแสดงการพัฒนาตัวอ่อนหลังการปฏิสนธิและตั้งครรภ์
การทดสอบการตั้งครรภ์ (Pregnancytest) มีอยู่ 2แบบคือ
การทดสอบตั้งครรภ์ด้วยปัสสาวะ
• ชุดทดสอบการตั้งครรภ์จะให้ผลแม่นยาที่สุดเมื่อทาการทดสอบหลังจากรอบเดือนขาดไปแล้วหนึ่ง
สัปดาห์ แม้ว่าชุดทดสอบการตั้งครรภ์ส่วนใหญ่จะได้รับการกล่าวอ้างว่าให้ผลการทดสอบที่แม่นยา
ถึงร้อยละ 99 ก็ตาม ผลการทดสอบอาจมีความคลาดเคลื่อนได้ เพราะโอกาสที่ตัวอ่อนจะฝังตัวบน
ผนังมดลูกหลังจากประจาเดือนไม่มาวันแรกมีสูงถึงร้อยละ10 ซึ่งในกรณีนี้ ระดับฮอร์โมนhCG
อาจจะยังไม่สูงพอที่จะวัดได้
• อย่างไรก็ตามผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าชุดทดสอบการตั้งครรภ์ส่วนใหญ่สามารถตรวจวัดระดับ
ฮอร์โมน hCG หลังจากประจาเดือนไม่มาเพียงวันเดียวได้ค่อนข้างแม่นยาอีกทั้งการทดสอบด้วย
ตัวอย่างน้าปัสสาวะแรกหลังจากตื่นนอนนั้นจะให้ค่าระดับฮอร์โมน hCG สูงที่สุด
การตรวจเลือด (beta hCG)
• หากไม่ต้องการรอนานการทดสอบแบบนี้อาจเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดเพราะสามารถทดสอบ
การตั้งครรภ์ได้แม้ฮอร์โมน hCG มีระดับต่าโดยอาศัยการนับระยะของการตกไข่ การทดสอบเลือด
นี้สามารถทดสอบได้ตั้งแต่ช่วงวันที่ 6-8 หลังจากไข่ตกขณะที่การทดสอบปัสสาวะนั้นปกติจะทา
การทดสอบหลังจากไข่ตกแล้วประมาณ14-21 วัน
ชนิดไข่ของสัตว์ สามารถจาแนกได้ดังนี้
1. จาแนกได้เป็น 4 ชนิด ตามการกระจายของไข่แดง
• 1.1 Isolecithal egg เป็นพวกที่มีไข่แดงน้อยและกระจายทั่วไปภายในเซลล์ ตัวอย่าง เช่นไข่
หอยเม่น ไข่ปลาดาว และไข่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
• 1.2 Mesolecithal egg / moderately telolecithal egg เป็นพวกที่มีไข่แดงปาน
กลางและไข่แดงมักจะอยู่หนาแน่นที่ขั้วใดขั้วหนึ่งของ เซลล์ ตัวอย่างเช่นไข่กบ
• 1.3 Telolecithal egg / heavily telolecithal egg เป็นพวกที่มีไข่แดงมากและไข่
แดงอยู่หนาแน่น ตัวอย่างเช่น ไข่นก ไข่ไก่ไข่ปลา และไข่ของสัตว์เลี้อยคลาน
• 1.4 Centrolecithal egg / heavily telolecithal egg เป็นพวกที่มีไข่แดงอยู่ตรง
กลาง ตัวอย่าง เช่น ไข่แมลง
Equal Unequal
Meroblastic cleavage
ชนิดไข่ของสัตว์ สามารถจาแนกได้ดังนี้
3. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามปริมาณมากน้อยของไข่แดงได้ดังนี้ คือ
• 3.1 Alecithal egg เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อยมากจนเกือบไม่มีเลย ขนาดของไข่จึงเล็กมาก ตัว
อ่อนที่ เกิดจากไข่ชนิดนี้ต้องอาศัยอาหารจากแม่ทางรก ได้แก่ ไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
• 3.2 Microlecithal egg เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อย เช่น ไข่ของหอยเม่น ดาวทะเล เป็นต้น
• 3.3 Mesolecithal egg เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงปานกลาง ไข่มีขนาดใหญ่ขึ้น เช่น ไข่ของสัตว์
สะเทินน้าสะเทินบก
• 3.4 Polylecithal egg เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงมาก จนทาให้ส่วนของนิวเคลียสและไซโทพลาส
ซึมถูกดันไปอยู่ด้านบนของไข่ ได้แก่ ไข่ของสัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน รวมทั้งไข่แมลงด้วย
สรุปประเภทของเซลล์ตามลักษณะของไข่แดงและรูปแบบการแบ่งเซลล์ embryo:
Isolecithal egg
telolecithal egg
moderately
Heavily
Centrolecithal
Alecithal
Microlecithal
Polylecithal
Mesolecithal
Equal Holoblastic cleavage
Unequal Holoblastic
cleavage
Discoidal meroblastic
cleavage
Superficial meroblastic
cleavage
Embryonic development
เป็นการศึกษาช่วงระยะการเจริญของเอมบริโอ ซึ่งจะเริ่มต้นหลังจากไข่เกิดการ
ปฏิสนธิแล้ว เอมบริโอระยะแรกคือไซโกต ระยะเอมบริโอจะสิ้นสุดเมื่อเกิดอวัยวะต่างๆครบ
ในสัตว์ชนิดต่างๆจะมีช่วงเวลาของการเกิดเอมบริโอแตกต่างกัน เช่นในคน
ประมาณ 8-10 สัปดาห์ ไก่ประมาณ 4 วัน และกบประมาณ 2 วัน เป็นต้น
จากไซโกตซึ่งเป็นเซลล์เดี่ยวไปสู่สภาพที่ซับซ้อนขึ้น โดยเกิดขึ้นเป็นลาดับขั้นตอน
ต่างๆดังนี้
1. Cleavage
2. Blastulation
3. Gastrulation
4. Organogenesis
Embryonic development : Cleavage
เป็นกระบวนการที่ไซโกตมีการแบ่งเซลล์แบบ mitotic division อย่างรวดเร็วทาให้
ได้เอมบริโอที่มีหลายเซลล์ เรียกว่า morula (ลักษณะก้อนทึบคล้ายน้อยหน่า) แต่ละเซลล์
เรียนว่า blastomere ชั้นเซลล์ เรียกว่า blastoderm
Zygote ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่
1. vegetal pole
2. animal pole
•ไข่กบ 2 ส่วนนี้มีสีแตกต่างกัน
•cytoplasm ของไข่กบจัดเรียงตัวใหม่ขณะ
เกิด fertilization ทาให้เกิดบริเวณสีเทา ที่
เรียกว่า gray crescent ซึ่งเกิดบริเวณตรง
กลางของไข่ด้านตรงข้ามกับที่ sperm เจาะ
เข้าไป
•Cleavage ที่ animal pole เกิดขึ้นเร็วกว่าที่
vegetal pole
•ผลของ cleavage ได้เอมบริโอมีลักษณะ
เป็นก้อนกลมตัน เรียกว่า morula
•ต่อมาเกิดช่องว่างที่มีของเหลวบรรจุอยู่
(blastocoel) ภายใน morula เรียกเอมบริโอ
ระยะนี้ว่า blastula (blastulation)
คลีเวจของเอมบริโอสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
คลีเวจของเอมบริโอสัตว์ปีกและสัตว์เลื้อยคลาน
สาหรับไข่พวกนกและสัตว์เลื้อยคลานเป็นไข่ที่มีไข่แดงมาก คลีเวจเป็นแบบ
meroblastic (discoidal) คือเซลล์ไม่แบ่งตัวตลอดไข่ แนวการแบ่งจะเกิดเฉพาะบริเวณ
ด้านบนของไข่ซึ่งมีไซโตพลาสซึมและนิวเคลียสอยู่เท่านั้น คือบริเวณ germinal disc
blastodisc
สรุป : Clevage
เม่นทะเล
(echinoderm)
กบ
(amphibian)
ไก่
(aves)
คน
(mammal)
Equal Holoblastic cleavage
Unequal Holoblastic cleavage
discoidal meroblastic cleavage
Equal Holoblastic cleavage
Embryonic development : blastulation
เป็นขั้นการเจริญของตัวอ่อนสัตว์ที่มีต่อจากระยะคลีเวจ โดยเซลล์บลาสโตเมียร์ จะมา
จัดเรียงตัวใหม่ อย่างเป็นระเบียบเป็นชั้นเดียวอยู่ที่ผิว ทาให้มีลักษณะคล้ายลูกบอลที่มีโพรงอยู่ข้าง
ใน เรียกว่า บลาสโทซีล (Blastocoel) ตัวอ่อนในระยะนี้เรียกว่า บลาสทูลา (Blastula) และชั้นของ
เซลล์ เรียกว่า บลาสโทเดิร์ม (Blastoderm)
1. Cleavage
2. Blastulation
3. Gastrulation
4. Organogenesis
1
2
3 4
Blastula ของเอมบริโอ สัตว์ปีกและสัตว์เลื้อยคลาน
ลักษณะของ blastula เห็นเป็ นแผ่นเรียกว่า
bastodisc ซึ่งจะเรียงตัวแยกเป็น 2 ชั้น ชั้นนอก (บน) เรียก
epiblast และชั้นใน (ล่าง) เรียก hypoblast ช่องว่างตรง
กลางเรียก blastocoel(เอ็มบริโอระยะ blastulation)
Sub-germinal cavity
(blastodisc)
blastulation of human
สรุป : Blastulation
เม่นทะเล
กบ
ไก่
คน
Blastoderm ชั้นเดียว
Blastocoel อยู่กลาง
Blastoderm หลายชั้น
Blastocoel อยู่ด้าน animal pole
blastocyst
Embryonic development : Gastrulation
Gastrulation เป็นกระบวนการเกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น เรียก embryonic germ layers
1. ectoderm เนื้อชั้นนอกของ gastrula
2. mesoderm เนื้อชั้นกลาง
3. Endoderm เนื้อชั้นในซึ่งเป็นท่อยาว
ระยะเอมบริโอนี้เรียกว่า Gastrula
ระยะนี้เกิด cell motility / changes in cell shape / changes in cellular adhesion
คน (inner cell mass) ไก่ (blastodisc) : epiblast / hypoblast
กลุ่มเซลล์ทางด้านบนมีการแบ่งตัว
อย่างรวดเร็ว และเคลื่อนที่แผ่ลงคลุม
เซลล์ทางด้านล่าง พร้อมกันนั้นตรง
บริเวณที่จะเกิดเกิดเป็น blastopore
จะมีการบุ๋มตัวของกลุ่มเซลล์เหล่านี้
กลุ่มเซลล์ที่เคลื่อนที่จะลงมาจาก
ด้านบนและม้วนตัวผ่านตรง
blastopore เข้าสู่ภายใน ทาให้ได้เป็น
เอมบริโอที่มีเนื้อ 3 ชั้น ช่องว่างภายใน
ที่เกิดขึ้นใหม่ คือ archenteron
(gastrocoel)
Gastrulation ของกบ
Gastrulation ของไก่
ระยะ gastrulationกลุ่มเซลล์ epiblast ด้านขวาและซ้ายจะเคลื่อนที่เข้าสู่แนวกลาง เรียกว่า
primitive streak และกลุ่มเซลล์จะม้วนตัวเข้าไปข้างใน โดยกลุ่มเซลล์ทางด้านหน้าสุดของ
primitive streak ที่เรียกว่า Hensen’s node ม้วนตัวเข้าไปก่อนเกิดเป็นแท่ง notochord บางกลุ่ม
เจริญเป็นชั้น mesoderm บางกลุ่มเคลื่อนที่ลงไปด้านล่างเกิดเป็น endoderm และกลุ่มเซลล์ที่อยู่
ด้านนอกเกิดเป็น ectoderm
สรุป : Gastrulation
เม่นทะเล
กบ
ไก่
คน
Invagination
ingression
Invagination / involution /
epiboly
Invagination / Involution / epiboly
Invagination / involution / epiboly
Delamination (inner cell mass) : epiblast / hypoblast
Delamination (blastodisc) : epiblast / hypoblast
Embryonic development : Organogenesis
การเกิดอวัยวะต่างๆ จากเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (ectoderm/mesoderm/endoderm)
•neutral tube และ notochord เป็นอวัยวะแรกที่เกิดขึ้นในกบและสัตว์พวก chordate อื่นๆ (ระบบ
อวัยวะแรกในการพัฒนาเอ็มบริโอ คือ ระบบประสาท)
•dorsal mesoderm (เหนือ archenteron) รวมกันเป็นแท่งโครงสร้างเกิดเป็น notochord
•ectoderm เหนือ notochord หนาตัวขึ้นเกิดเป็น neutral plate แล้วบุ๋มลงไปเป็น neutral tube ซึ่ง
ต่อไปจะเจริญเป็น brain, spinal cord ส่วนอวัยวะอื่นๆ เกิดขึ้นตามมาภายหลัง
Organogenesis in the frog
Ectoderm ระบบปกคลุมร่างกาย (หนังกาพร้า, ผม, เล็บ). ระบบประสาท (สมอง, ไขสันหลัง, เรตินา,
pituitary gland), สารเคลือบฟัน (enamel), adrenal medulla, เลนส์ตา ,กระจกตา
Mesoderm ระบบหมุนเวียนและน้าเหลือง, ระบบขับถ่าย, ระบบสืบพันธุ์, adrenal cortex,กล้ามเนื้อ
และกระดูก, notochord, หนังแท้, เนื้อฟัน, เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (เส้นเอ็น)
Endoderm Parathyroid gland, thyroid gland, ต่อมทอนซิล, ต่อมไทมัส, ตับ, ตับอ่อน, ทางเดิน
อาหาร, ทางเดินอากาศ, กระเพาะปัสสาวะ
Organogenesis
เมื่อกระบวนการ gastrulation เสร็จสิ้นลง เอมบริโอเข้าสู่ขั้นที่เตรียมพร้อมที่จะเติบโตอย่าง
อิสระ เนื้อเยื่อต่างๆจะเรียงตัวตามตาแหน่งที่จะปรากฏในขั้นเต็มวัย จับกลุ่มกันขึ้นเป็นเนื้อเยื่อและ
อวัยวะตามตาแหน่งที่เฉพาะเจาะจง และเริ่มอย่างมีอิสระแต่มีการประสานงานกัน มีการจับกลุ่มกัน
ของเซลล์ขึ้นเป็นรูปร่าง
Organogenesis
Originofananimal’sbodyparts
Human Endocrine System
สรุป: กระบวนการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอของสัตว์
• ไข่เมื่อได้รับการผสมแล้วจะกลายเป็นไซโกต (Zygote) แล้วมีการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซีส ไซโกตจะ
มีการเปลี่ยนแปลง ต่อเนื่องกัน 4 ระยะ คือ
• 1. CLEAVAGE : เริ่มจากไซโกตแบ่งตัวจาก 1 → 2 → 4 → 8 ... จนกระทั้งเซลล์มาเกาะกันเป็นก้อน
กลมๆ เรียกก้อนกลมๆนี้ว่า โมรูลา (MORULA) มีลักษณะคล้ายลูกน้อยหน่า แต่ละเซลล์ เรียกว่า
blastomere
• 2. Blastulation : BLASTULA เป็นตัวอ่อนในระยะที่มีการจัดเรียงตัวของเซลล์ภายในเพื่อให้ได้ช่องว่าง
ในตัวอ่อนเรียกช่องว่างนี้ว่า BLASTOCOEL และเรียกชั้นเซลล์ที่ล้อมช่องว่างว่า BLASTODERM
สรุป: กระบวนการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอของสัตว์
• 3. Gastrulation: GASTRULAเป็นตัวอ่อนที่ต่อจากระยะ BLASTULAคือ เซลล์แบ่งตัวแล้วเคลื่อนที่
เข้าข้างในเห็นตัวอ่อนเป็นรูปถ้วย ซึ่งดูคล้ายมีผนัง 2 ชั้น คือ ชั้นนอกและชั้นในและในตอนนี้จะเห็นมีช่องว่าง
2 ช่อง คือ BLASTOCOELและ ARCHENTERONซึ่งช่อง ARCHENTERONต่อไปจะเจริญไปเป็น
ทางเดินอาหาร ต่อมาจะเกิดเนื้อเยื่อแทรกระหว่าง เนื้อเยื่อชั้นนอกและเนื้อเยื่อชั้นในเนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นใหม่นี้คือ
เนื้อเยื่อชั้นกลางในตอนท้ายระยะนี้GASTRULAจะมีการสร้าง notochord ขึ้น
• 4. Organogenesis คือ กระบวนบวนการที่เนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ ชั้นนอก (ectoderm) ชั้นกลาง (mesoderm)
ชั้นใน (endoderm) เปลี่ยนแปลง (. DIFFERENTIATION)ไปเป็นโครงสร้างอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย โดย
ระบบอวัยวะแรกที่พัฒนาขึ้น
คือ ระบบประสาท
(nervous system)
DIFFERENTIATION
• Ectoderm (เนื้อเยื่อชั้นนอก)เปลี่ยนแปลงไปเป็น
• ผิวหนัง ขน เขา เล็บ เกล็ด กีบเท้าสัตว์
• ระบบประสาท (สมอง,ไขสันหลัง)
• ต่อมใต้สมองส่วนหน้าและส่วนกลาง
• สารเคลือบฟัน ต่อมน้าลาย
• ต่อมหมวกไตชั้นใน ต่อมใต้สมองส่วนท้าย
• Mesoderm (เนื้อเยื่อชั้นกลาง)เปลี่ยนแปลงไปเป็น
• ระบบโครงกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ
• ระบบหมุนเวียนโลหิต (หัวใจ เส้นเลือด เลือด ม้าม)
• ระบบขับถ่าย (ไต) - ระบบสืบพันธุ์ (อัณฑะ รังไข่)
• Endoderm (เนื้อเยื่อชั้นใน) เปลี่ยนแปลงไปเป็น
• ระบบทางเดินอาหาร (หลอดอาหาร,กระเพาะอาหาร , ลาไส้ , ตับ , ตับอ่อน)
• ระบบหายใจ (หลอดลม , ปอด) - ต่อมทอนซิล หูส่วนกลาง ต่อมไทรอยด์
• ต่อมพาราไทรอยด์ อัลแลนตอยด์ ถุงไข่แดง
• กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ
• เซลล์ที่จะเจริญเป็นเซลล์สืบพันธุ์ (primordial germ cell)
Post embryonic development
Post embryonic development
complete metamorphosis
การเจริญหลังระยะเอ็มบริโอ
Incomplete metamorphosis
: Tadpole
Post embryonic development
ametamorphosis
ametamorphosis
การเจริญหลังระยะเอ็มบริโอ (post embryonic development)
• ในสัตว์บางชนิดเมื่อเอมบริโอเจริญมากขึ้นจนครบกาหนดแล้ว จะเจริญเป็นตัวเต็มวัยเลย
• สัตว์บางชนิดจะผ่านระยะที่เรียกว่า larva ซึ่งเริ่มตั้งแต่เอมบริโอฝักเป็นตัวจะกระทั่งมีการ
เปลี่ยนแปลง metamorphosis เกิดขึ้น เช่น ลูกอ๊อดของกบ แล้วจึงเจริญเป็นตัวเต็มวัย
• สาหรับในคน การเจริญระยะหลังเอมบริโอส่วนใหญ่เป็นการเติบโตที่มีการเพิ่มขนาด ปริมาตร
น้าหนัก อัตราการเติบโตของส่วนต่างๆของร่างกายจะไม่เท่ากัน
การเจริญเติบโตหลังระยะเอ็มบริโอของสัตว์อื่นๆ(Metamorphosis)
1. Ametamorphosis การเจริญเติบโตที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเป็นขั้นๆ ในระหว่าง
เจริญเติบโตตัวอ่อนจะมีลักษณะรูปร่างเหมือนตัวเต็มวัยทุกประการเพียงแต่มีขนาดเล็กกว่าสัตว์มีกระดูกสันหลัง
(ยกเว้น สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า) ดาวทะเล ไส้เดือนดิน หนอนตัวแบน ฯลฯ
2. Metamorphosis การเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเป็นขั้น ๆ ในระหว่างเจริญเติบโตตัว
อ่อนจะมีลักษณะรูปร่างแตกต่างจากตัวเต็มวัย สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า แมลง
• การเจริญเติบโตของแมลง จะแบ่งได้ 4 ลักษณะ คือ
• 1) Ametamorphosis การเจริญเติบโตที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเป็นขั้น ๆ ในระหว่าง
เจริญเติบโต ตัวอ่อนจะมีลักษณะรูปร่างเหมือนตัวเต็มวัยทุกประการเพียงแต่มีขนาดเล็กกว่า ได้แก่ แมลงสอง
ง่าม แมลงหางดีด
• 2) Gradual Metamorphosis เมตามอร์โฟซีสแบบค่อยเป็นค่อยไป คือ แมลงที่มีการเปลี่ยนแปลง
รูปร่างทีละน้อย มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพียง 3 ขั้น ได้แก่ ตั๊กแตน จิ้งหรีด ปลวก แมลงสาบ
• 3) Incomplete Metamorphosis เมตามอร์โฟซีสแบบไม่สมบูรณ์ คือ แมลงที่มีการ
เปลี่ยนแปลงรูปร่าง ไม่ครบขั้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพียง 3 ขั้น ได้แก่ แมลงปอ ชีปะขาว
• 4) Complete Metamorphosis เมตามอร์โฟซีสแบบสมบูรณ์ คือ แมลงที่มีการเปลี่ยนแปลง
รูปร่างครบ 4 ขั้น ได้แก่ ยุง ผีเสื้อ มด ต่อ ผึ้ง เต่าทอง ฯลฯ
Gradual Metamorphosis
Incomplete Metamorphosis
Ametamorphosis
complete Metamorphosis
การวัดอัตราการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
1. การนับจานวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้น วิธีนี้กระทาได้ยาก ไม่สะดวก
2. การวัดความสูง เป็นเพียงการคาดคะเนการเติบโต เพราะความสูงอาจไม่เพิ่มในอัตราส่วนเดียวกันกับ
มวล โดยเฉพาะพืชที่เจริญกันอย่างหนาแน่นมาก ๆ
3. การวัดมวลทั้งหมดของสิ่งมีชีวิต นิยมใช้มากที่สุด แต่ไม่ใช่เกณฑ์ที่ดีที่สุดเพราะน้าหนักที่เพิ่มขึ้นอาจ
เนื่องมาจากปริมาตรของของเหลวที่เพิ่มขึ้นในร่างกาย
4. การวัดน้าหนักแห้งหรือน้าหนักคงที่เป็นเกณฑ์วัดการเติบโตดีที่สุด เพราะน้าหนักแห้งเป็นน้าหนักของ
มวลอินทรีย์ที่เกิดจากการเติบโตที่แม้จริงเพราะน้าหนักแห้งมาจากการสร้างไซโทพลาซึมของเซลล์
กราฟแสดงการเติบโตของสิ่งมีชีวิต มี 3 ลักษณะ คือ
1. กราฟรูปตัวเอส (s – shaped curve) พบในสัตว์ทั่ว ๆ ไป ยกเว้น อาร์โทรพอดและพบในพืช
ล้มลุก โดยการแบ่งการเติบโตเป็น 3 ระยะ คือ
1. ระยะ I มีอัตราการเติบโตต่า (lag phase)
2. ระยะ II มีอัตราการเติบโตสูงสุด (log phase)
3. ระยะ III มีอัตราการเติบโตต่าสุด (stationary phase)
2. กราฟรูปตัวเอสต่อเนื่อง พบในไม้ยืนต้นที่มีเนื้อไม้ ซึ่งมีการเจริญเติบโตในแต่ละฤดูกาลไม่
เท่ากัน โดยในฤดูน้ามากจะมีอัตราการเติบโตสูง ส่วนฤดูแล้งจะมีอัตราการเติบโตต่า
3. กราฟรูปขั้นบันได พบในอาร์โทรพอดทุกชนิด ซึ่งมีการลอกคราบเพื่อการเติบโต
s – shaped curve
กราฟรูปตัวเอสต่อเนื่องกราฟรูปขั้นบันได
พัฒนาการ-ของทารกในครรภ์ช่วง9เดือนภายในครรภ์มารดา
• พัฒนาการทารกในครรภ์ นั้นเริ่มนับตั้งแต่วันแรกของการมีประจาเดือนครั้งสุดท้าย แม้
คุณหมอจะบอกคุณว่าตั้งครรภ์ได้ 1 เดือน แต่ความเป็นจริงคือ 2 สัปดาห์หลังจากการ
ปฏิสนธิ การตั้งครรภ์โดยปกตินั้นมีระยะเวลาเฉลี่ยคือ 40 สัปดาห์
• 1 เดือนแรก (3 สัปดาห์นับจากวันแรกของประจาเดือนครั้งสุดท้าย) เป็นช่วงเวลาที่ไข่ได้
ผสมกับอสุจิกลายเป็นตัวอ่อน โดยไข่ที่ได้รับการผสมแล้วจะเคลื่อนตัวช้าๆ ผ่านท่อนาไข่
มายังโพรงมดลูก ขณะเคลื่อนตัวก็จะมีการแบ่งเซลล์เพิ่มจานวนมากขึ้นเรื่อยๆ จะกระทั่ง
ถึงโพรงมดลูกไข่จะมีลักษณะเป็นลูกกลม ประกอบไปด้วยเซลล์ราว 100 เซลล์ และยังคง
เจริญเติบโตต่อไป ไข่ที่ผ่านการผสมแล้วจะฝังตัวลงในเยื่อบุโพรงมดลูกซึ่งมีลักษณะนุ่ม
และหนา จนเมื่อยึดเกาะติดมั่นคงดีแล้วจึงถือได้ว่าการปฏิสนธิเป็นไปอย่างสมบูรณ์
• ช่วงเดือนที่ 2 (เริ่มสังเกตเห็นทารกชัดเจน) เมื่อไข่ที่ผสมแล้วยึดเกาะติดฝังตัวลงในเยื่อบุ
โพรงมดลูกเรียบร้อยดีแล้ว ช่วงเดือนที่ 2 ของพัฒนาการทารกในครรภ์นี้ทารกเริ่ม
มองเห็นเป็นตัวแล้ว การพัฒนาการของทารกในครรภ์สังเกตได้อย่างชัดเจนจากหัวของ
ทารกที่จะโตกว่าส่วนอื่น รูปหน้า มือและเท้า ปรากฎให้เห็น ช่วงปลายเดือนถ้าอัลตรา
ซาวด์จะเห็นการเคลื่อนไหวและจับการเต้นหัวใจได้ ทั้งมองเห็นสายรกโดยรกนี้ทาหน้าที่
เสมือนเป็นปอดแลกเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์กับออกซิเจนจากคุณแม่ และยังเป็น
เสมือนสายใยที่คอยลาเลียงอาหารจากคุณแม่สู่ทารกในครรภ์อีกด้วย
พัฒนาการ-ของทารกในครรภ์ช่วง9เดือนภายในครรภ์มารดา
• ช่วงเดือนที่ 3 (หัวใจจะเป็นรูปเป็นร่างเต็มที่ ) ในเดือนที่ 3 โครงสร้างใบหน้าของทารก
เริ่มสมบูรณ์ แต่เปลือกตายังปิดอยู่ การทางานของระบบสมอง และกล้ามเนื้อเริ่มมี
ความสัมพันธ์กัน กล้ามเนื้อต่างๆ มีการเจริญเติบโต แขนขาเริ่มยืดออก และเคลื่อนไหว
ได้ ข้อต่างๆ เริ่มเชื่อมต่อกัน นิ้วมือนิ้วเท้าสมบูรณ์ และเริ่มงอได้ ปลายนิ้วมีเล็บ ทารกจะ
หัดดูดนิ้ว และเริ่มกลืนน้าคร่าได้ โดยตัวทารกนั้นจะลอยอยู่ในน้าคร่าภายมดลูก ซึ่ง
น้าคร่านี้เองทาหน้าที่ปกป้องและห่อหุ้มทารกไม่ให้ได้รับความกระทบกระเทือน
• ข้อพึงระมัดระวัง : ช่วงมีครรภ์ 3 เดือนแรกนี้ มีอัตราเสี่ยงในการแท้งค่อนข้างสูง ต้อง
ดูแลตัวเองอย่างมาก และระมัดระวังเรื่องยาที่รับประทาน ถ้ามีความจาเป็นต้องใช้ยาควร
ปรึกษาแพทย์ก่อน
• ช่วงเดือนที่ 4 (การเติบโตของทารกที่ใกล้จะสมบูรณ์) เดือนที่ 4 ของการพัฒนาทารกใน
ครรภ์ แขนและข้อต่อต่างๆ พัฒนาอย่างสมบูรณ์ กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงขึ้น ทารก
สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างกระฉับกระเฉง แต่คุณแม่อาจจะยังไม่รู้สึกว่าลูกเคลื่อนไหว
เริ่มมีขนอ่อนปกคลุมตามส่วนต่างๆ ของร่างกายทารก สามารถได้ยินเสียงหัวใจเต้น เริ่ม
มีไตที่ทางานได้เหมือนผู้ใหญ่ นอกจากนี้ทารกยังมีจานวนเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ
มากกว่าเดือนที่แล้วถึง 3 เท่า สามารถเตะ งอนิ้วมือนิ้วเท้า กลอกตาได้อวัยวะเพศพัฒนา
มากขึ้นจนสามารถบอกได้ว่าเป็นเพศใด
ยา"ทาลิโดไมด์"(ยาแก้แพ้ท้อง)ส่งผลคนพิการนับหมื่นคน
พัฒนาการของทารกในครรภ์ช่วง9เดือนภายในครรภ์มารดา
• ช่วงเดือนที่ 5 ทารกเริ่มรู้สึกกับสิ่งแวดล้อมภายนอกได้
เดือนที่ 5 พัฒนาการของทารกในครรภ์ จะมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วระยะนี้คุณ
แม่จะเริ่มรู้สึกแล้วว่าทารกดิ้นหรือมีการเคลื่อนไหวเป็นระยะๆโดยฟันจะถูกสร้าง
ขึ้นมาแต่จะอยู่ใต้ขากรรไกรเริ่มมีผมบนศีรษะกล้ามเนื้อต่างๆมีความแข็งแรงมากขึ้น
ทารกเคลื่อนไหวมากขึ้นลาตัวทารกช่วงนี้ยาวประมาณ 9 นิ้ว และร่างกายจะผลิตสาร
สีขาวข้นที่เรียกว่า เวอร์นิกซ์ ขึ้นมาเคลือบเพื่อปกป้องผิว เส้นผม คิ้วและขนตาเริ่ม
งอกเริ่มพัฒนาประสาทสัมผัสคือ รับรู้รส ได้กลิ่น และได้ยิน ตายังปิดอยู่แต่รับรู้แสง
สว่างจ้าได้ ดังนั้นเวลาคุณพูดแกจะได้ยิน หรือเวลาที่คุณลูบท้องแกก็จะรู้สึกเช่นกัน
ช่วงปลายเดือนนั้นทารกยังเริ่มถ่ายปัสสาวะลงสู่น้าคร่าได้อีกด้วย
• ช่วงเดือนที่ 6 การตอบสนองของทารกชัดเจน
ร่างกายของทารกเริ่มเติบ โตช้ากว่าเดิมเพื่อให้อวัยวะภายใน เช่น ปอด ระบบย่อย
อาหารและระบบภูมิคุ้มกันได้พัฒนาอย่างเต็มที่ที่น่าอัศจรรย์ คือ ทารกสามารถ
ควบคุมการเคลื่อนไหวทาให้คุณแม่รู้สึกได้โดยเฉพาะตอนนอนพักทารกสามารถได้ยิน
เสียงหัวใจเต้น เสียงพูด เสียงดนตรี และสามารถตอบสนองการกระตุ้นของแม่ ทารก
ในช่วงนี้อาจจะดูผอมบางเนื่องจากมีไขมันสะสมอยู่ใต้ผิวหนังน้อย
พัฒนาการของทารกในครรภ์ช่วง9เดือนภายในครรภ์มารดา
• ช่วงเดือนที่ 7 พัฒนาการพร้อมออกสู่โลกกว้าง
ทารกในครรภ์เดือนที่ 7 มีการสร้างไขมาปกคลุมผิวหนัง ลาตัว เพื่อความ
อบอุ่น และป้องกันผิวหนังจากน้า ปอดของทารกพัฒนาอย่างสมบูรณ์
เปลือกตาเริ่มเปิด และนัยน์ตาพัฒนาไปมากจนมองเห็นแสงที่ผ่านมาทาง
หน้าทองแม่ได้ เสียงดังๆทาให้ทารกเคลื่อนไหว และการเต้นของหัวใจ
เปลี่ยนไปตามเสียงและแสงไฟ ต่อมรับรสของทารกพัฒนาไปมาก ถ้าทารก
เกิดคลอดออกมาช่วงเวลานี้จะมีโอกาสรอดค่อนข้างสูง เพราะอวัยวะสาคัญ
ทั้งหลาย
• ช่วงเดือนที่ 8 ทารกกลับตัวพร้อมออกมาลืมตาดูโลก เดือนที่ 8 แห่ง
พัฒนาการของทารก ทารกจะมีขนาด และสัดส่วนใกล้เคียงกับเด็กแรกเกิด
มีความแข็งแรงมากขึ้น ในช่วงนี้ทารกจะเริ่มกลับหัวเข้าสู่อุ้งเชิงกราน การ
ดิ้นของทารกจะสามารถสังเกตเห็นได้จากหน้าทองของแม่ ช่วงนี้ก่อนคลอด
หนึ่งเดือนคุณแม่อาจมีอาการมดลูกบีบรัดตัวซึ่งเป้นอาการที่ เรียกว่า เจ็บ
ท้องหลอก การหดตัวรัดตัวนี้ก็เพื่อดันตัวทารก มาประชิดปากมดลุกเพื่อ
เตรียมพร้อมที่จะคลอด
พัฒนาการของทารกในครรภ์ช่วง9เดือนภายในครรภ์มารดา
• ช่วงเดือนที่ 9 การเตรียมตัวเป็นคุณแม่
ในเดือนนี้ทารกจะอยู่ในท่าที่พร้อมจะคลอด เล็บมีการเจริญเติบโต และยาวครอบคลุมปลายนิ้ว ผมบน
ศีรษะมีความยาวประมาณ 1-2 นิ้ว ถ้าเป็นครรภ์แรกศีรษะของทารกจะเคลื่อนเข้าไปอยู่ในอุ้งเชิงกราน
ดังนั้นคุณแม่อาจคลอดตอนไหนก็ได้ในช่วงนี้ ทารกส่วนใหญ่จะคลอดตามกาหนดหรือช้าไป 2 สัปดาห์
หลังกาหนด
การคลอดก่อนกาหนด (PretermLabor)
• คือภาวะปากมดลูกเปิดที่เป็นผลมาจากการหดและขยายตัวของมดลูกในช่วงก่อนสัปดาห์ที่ 37 ของ
การตั้งครรภ์ ซึ่งการตั้งครรภ์แบบครบกาหนดคลอดจะใช้เวลา37-40 สัปดาห์ การคลอดก่อนกาหนด
จะส่งผลกระทบต่อทั้งมารดาและอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนต่อทารกได้ เช่น พบปัญหาเกี่ยวกับ
กล้ามเนื้อที่ทาหน้าที่ดูดและกลืน มีเลือดออกในสมอง มีความเสี่ยงต่อการเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบและ
ติดเชื้อ รวมไปถึงปัญหาในการทางานของไต เป็นต้น
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการคลอดก่อนกาหนด
• มีประวัติการคลอดก่อนกาหนด * มีประวัติการแท้งลูก
• ตั้งครรภ์แฝดหรือมีจานวนบุตรในครรภ์มากกว่า 1 คน
• ตั้งครรภ์ตอนอายุต่ากว่า 18 ปีหรือมากกว่า 40 ปี ขึ้นไป
• มีปัญหาเกี่ยวกับมดลูก มดลูกหรือปากมดลูกมีรูปร่างผิดปกติ หรือเคยตรวจพบชิ้นเนื้อที่ปากมดลูก
• มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ เช่น ครรภ์เป็นพิษ หรือครรภ์เป็นพิษอย่างรุนแรง
• มีเลือดออกที่ช่องคลอดระหว่างตั้งครรภ์ * มีความพิการเกิดขึ้นกับทารกในครรภ์
• ได้รับการดูแลในช่วงก่อนการคลอดน้อยเกินไปหรือไม่เคยฝากครรภ์
• ระยะการตั้งครรภ์จากบุตรคนที่ผ่านมาน้อยกว่า 6 เดือน * มีการสูบบุหรี่หรือใช้ยาเสพติด
• มีการติดเชื้อ เช่น การติดเชื้อมะเร็งปากมดลูก สเตรปโตคอคคัสกรุ๊ปบี เทริโคโมแนส หรือช่องคลอดอักเสบจาก
เชื้อพยาธิ รวมถึงการติดเชื้อจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น หนองในแท้ หนองในเทียม ซิฟิลิส
• มีการใช้ยาคุมกาเนิดที่มีส่วนประกอบของ Diethylstilbestrol ระหว่างตั้งครรภ์
• มีประวัติของโรคโลหิตจาง โรคเบาหวาน โรคความดันเลือดสูง หรือโรคเหงือก
• มีปัญหาเรื่องน้าหนักตัวมากเกินไปหรือน้อยเกินไป ก่อนหรือในช่วงการตั้งครรภ์
• เกิดการตั้งครรภ์ในระหว่างที่ใช้ห่วงอนามัย * มีความผิดปกติในน้าคร่า เช่น มีน้าคร่ามากเกินไป
• ความเครียด ยกของหนัก หรือได้รับบาดเจ็บในระหว่างตั้งครรภ์
การคลอด(Parturition)
• การตั้งครรภ์ในคน กินเวลาประมาณ 270 วัน นับตั้งแต่การผสมของไข่ หรือ 284 วัน นับตั้งแต่
วันแรกของประจาเดือนครั้งสุดท้าย ในระยะสุดท้ายของการตั้งครรภ์ มดลูกจะบีบตัวเป็นครั้ง
คราว และการบีบตัวนี้จะเกิดบ่อยขึ้น ในระยะนี้ กล้ามเนื้อมดลูกจะมีความไวในการตอบสนองต่อ
ออกซิโทซิน (oxcytocin) มากขึ้น เมื่อเริ่มเจ็บท้อง ศีรษะของเด็กที่ดันขยายส่วนล่างของ
มดลูก จะมีผลกระตุ้นให้มีการขับออกซิโทซินออกมามากขึ้น มีผลทาให้มดลูกบีบตัวแรงขึ้น ทา
ให้เกิดการคลอดได้
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
• 1. ครรภ์เป็นพิษ หรือที่เรียกว่า Toxemia of Pregnancy มักมีอาการเมื่อตั้งครรภ์ได้ 5-6 เดือน
ขึ้นไป จนกระทั่งหลังคลอดหนึ่งสัปดาห์ สาเหตุยังไม่ทราบแน่ชัด มักพบในครรภ์แรกครรภ์แฝด ครรภ์
ไข่ปลาอุกและในผู้หญิงที่เคยเป็นเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูงหรือโรคไตอยู่ก่อนภาวะครรภ์
เป็นพิษแบ่งเป็นสองชนิด ชนิดแรกผู้ป่ วยมีอาการบวมความดันโลหิตสูงและตรวจพบโปรตีนหรือไข่
ขาวในปัสสาวะอีกชนิดเป็นแบบร้ายแรงโดยจะมีอาการชักหรือหมดสติร่วมด้วยซึ่งเป็นอันตรายถึงกับ
เสียชีวิตได้
• 2. ฝาแฝดตามปกติร่างกายของคนเรามีการตั้งครรภ์และคลอดทารกคราวละ 1 คน แต่บางกรณีร่างกาย
ของคนเราอาจมีโอกาสตั้งครรภ์และคลอดทารกครั้งละมากกว่า 1 คน เรียกว่า “ ฝาแฝด” ซึ่งถือเป็น
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์แบบหนึ่ง ฝาแฝดมี 2 ประเภท คือ แฝดร่วมไข่ และ แฝดต่างไข่
• 3. การท้องนอกมดลูก มีบางครั้งที่เหตุการณ์ของการตั้งครรภ์ไม่ได้เป็นตามปกติกล่าวคือภายหลังการ
ผสม ไข่ที่ถูกผสมไม่ อย่างไรก็ตามการตั้งครรภ์นอกมดลูกที่พบบ่อยที่สุดคือการตั้งครรภ์ที่ท่อนาไข่
สาหรับการตั้งครรภ์ที่รังไข่หรือช่องท้องพบได้น้อยมากได้เดินกลับมาฝังที่มดลูกบางรายฝังที่ท่อนาไข่
เลย เรียกว่า การตั้งครรภ์ที่ท่อนาไข่ บางรายไข่ที่ผสมแล้วกลับเดินทางต่อไปฝังตัวที่รังไข่ เรียกว่า การ
ตั้งครรภ์ที่รังไข่ หรือบางรายไข่ที่ผสมแล้วหลุดจากท่อนาไข่แล้วไปฝังอยู่ในช่องท้องเรียกว่า การ
ตั้งครรภ์ในช่องท้อง การตั้งครรภ์ต่างๆเหล่านี้คือการตั้งครรภ์นอกมดลูกหรือท้องนอกมดลูกทั้งสิ้น
สาวมาด เมกะแดนซ์ ครรภ์เป็นพิษ หามส่งไอซียู การท้องนอกมดลูก
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
• 4. รกเกาะต่า ภาวะตกเลือดในสตรี ในช่วงท้าย ๆของการตั้งครรภ์ หรือการคลอด ส่วนใหญ่จะมาจากสาเหตุของ
รกเกาะต่า ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องระวังและอาจเกิดได้ประมาณ 1ใน 200 การตั้งครรภ์ ภาวะรกเกาะต่า หรือ
placenta previa (placenta=รก) หมายถึงภาวะ ที่การเกาะของรก เกาะต่าลงจากปกติที่อยู่สูงขึ้นไป
ในมดลูก บางครั้ง เกาะต่าลงมาถึงปากช่องคลอด และทาให้เกิดปัญหา คือเลือดออกในช่วงที่ปากช่องคลอด
ขยายตัว คือช่วงครึ่งหลัง (3-8 เดือน)ของการตั้งครรภ์ และถ้าเป็นมาก อาจทาให้ตกเลือด เด็กไม่สามารถคลอด
ตามปกติ ต้องผ่า เพราะมีรกขวางอยู่
การผ่าท้องทาคลอด(Caesareansection)
หรือซี-เซกชัน(C-section)หรือซีซาร์ (Caesar)
เป็นหัตถการทางศัลยศาสตร์กระทาโดยการผ่าที่บริเวณส่วน
ท้องของมารดา(ผ่าท้องและผ่ามดลูก)เพื่อให้ทารกในครรภ์
คลอดมักทาเมื่อการคลอดทางช่องคลอดอาจเสี่ยงอันตรายต่อ
สุขภาพหรือชีวิตของมารดาหรือเด็กแม้ในปัจจุบันจะมีการผ่า
ท้องทาคลอดตามความประสงค์ของมารดามากขึ้นองค์การ
อนามัยโลกแนะนาว่าอัตราการผ่าท้องทาคลอดควรทาต่อเมื่อมี
ความจาเป็นทางการแพทย์เท่านั้นโดยปกติแล้วการผ่าท้องทา
คลอดจะใช้เวลาประมาณ45นาทีถึงหนึ่งชั่วโมง
ท้องลม หรือ ท้องหลอกเป็นภาษาพูด เพื่อให้เข้าใจง่าย ภาษาอังกฤษ คือ Blighted
ovum หรือ Anembryonic pregnancy หมายถึง มีการตั้งครรภ์ในโพรงมดลูก แต่ไม่มีตัวทารก
ในถุงการตั้งครรภ์ ในการตั้งครรภ์ปกติ เมื่อไข่ของฝ่ ายหญิงได้รับการปฏิสนธิกับเชื้ออสุจิของฝ่ ายชายที่ท่อนา
ไข่ และค่อย ๆ เคลื่อนเข้าไปฝังตัวในโพรงมดลูก พร้อม ๆ กับไข่ที่ผสมแล้วมีการแบ่งเซลล์เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จน
เป็นทารก แต่หากมีความผิดปกติจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เซลล์ที่เกิดจากการปฏิสนธิ ไม่สามารถ
เจริญเติบโตไปเป็นตัวทารกในครรภ์ได้ หรือทาให้ทารกเสียชีวิตตั้ง แต่อายุครรภ์น้อยๆ ก็จะเกิดเป็น ‘ท้อง
ลม หรือ ท้องหลอก อุบัติการณ์ที่แท้จริงของ ‘ท้องลม’ ไม่ทราบแน่ชัด เนื่องจากสตรีตั้งครรภ์อาจตั้งท้องลม
และแท้งบุตรไปก่อนที่จะพบแพทย์ อย่างไรก็ตามพบว่า ประมาณ 50% ของการแท้งเองในไตรมาสที่ 1 (3
เดือนแรก) ของการตั้งครรภ์เกิดจากการตั้งท้องลม
สาเหตุที่ทาให้เกิดท้องลม คือ
1.ความผิดปกติของโครโมโซมของไข่หรืออสุจิ
ที่อาจเกิดเองตามธรรมชาติ หรือจากโรคต่างๆ
2.ความผิดปกติของการแบ่งเซลล์หลังจากที่
ได้รับการผสมแล้ว ซึ่งอาจจะมีสารพิษอย่างใด
อย่างหนึ่งไปมีผลต่อกระบวนการนี้
ครรภ์ไข่ปลาอุก (Molar pregnancy หรือ
Hydatidiform mole)
หมายถึง การตั้งครรภ์ที่ผิดปกติชนิดหนึ่งที่มี
อาการเริ่มแรกเหมือนการตั้งครรภ์ทั่วไป คือ ประจาเดือน
ขาดและมีอาการแพ้ท้อง (บางรายอาจมีอาการแพ้ท้องอย่าง
รุนแรง คือ มีอาการคลื่นไส้อาเจียนมากกว่าปกติหลายเท่า)
มีเลือดออกทางช่องคลอด แต่สีเลือดที่ออกมาจะไม่ใช่สีแดง
สด แต่จะเป็นสีน้าตาลคล้า ๆ คล้ายเลือดเก่า (อาจจะออก
เพียงเล็กน้อยหรือออกมากก็ได้ ซึ่งการมีเลือดออกในครรภ์
ไข่ปลาอุกนี้ก็เป็นการแท้งชนิดหนึ่งนั่นเอง)นอกจากจะมี
เลือดออกมาแล้ว บางครั้งยังอาจมีเม็ดกลม ๆ ใส ๆ คล้ายกับ
ไข่ปลาอุกหลุดปนออกมาทางช่องคลอดด้วย
การตั้งครรภ์ชนิดนี้ส่วนใหญ่แล้วมักจะไม่มีตัวเด็กเนื่องจากตัวเด็ก
ไม่เจริญเติบโตตั้งแต่อายุได้ 3-5 สัปดาห์แล้ว แต่ส่วนที่ออกมาให้เห็น
เป็นเม็ด ๆ นั้น คือส่วนของเนื้อรกที่มีการเจริญผิดปกติจนกลายเป็นเนื้องอกคล้ายถุงน้าอยู่เต็มไปหมดภายในโพรงมดลูก
ส่วนมากจะเป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้าย (Benign tumor) ที่ไม่มีอันตรายร้ายแรง มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นประมาณร้อย
ละ 2 ที่อาจกลายเป็นเนื้อร้ายหรือมะเร็งเยื่อรก (Choriocarcinoma) ซึ่งอาจลุกลามและแพร่กระจายตามกระแส
เลือดไปทั่วร่างกายได้ โดยโรคครรภ์ไข่ปลาอุกนี้มักเกิดขึ้นในระยะแรก ๆ ของการตั้งครรภ์หรือในช่วงประมาณสัปดาห์ที่
10-16 ของการตั้งครรภ์
การมีลูกแฝด(Twins)
• เกิดจากการแบ่งเซลล์ ของไข่ที่ได้รับการผสมแล้วผิดปกติ หรือเกิดจากการสุกของไข่
ผิดปกติ ฝาแฝด แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. ฝาแฝดแท้ (Identical Twins) เกิดจากไข่ใบเดียวผสมกับอสุจิตัวเดียว แต่เมื่อมี
การแบ่งเซลล์แล้ว เกิดแยก ออกเป็น 2 กลุ่ม ฝังตัวอยู่ในผนังมดลูกที่เดียวกัน ยีนเหมือนกัน
เด็กเพศเดียวกัน หน้าเหมือนกัน
2. ฝาแฝดเทียม (Fraternal Twins) เกิดจากไข่ 2 ใบและอสุจิ 2 ตัวผสมกัน ฝังตัว
ในผนังมดลูกคนละฝั่งกัน รก และถุงหุ้มตัวอ่อนแยกจากกัน แต่ละส่วนจะแบ่งเซลล์ด้วย
ตัวเอง ยีนต่างกัน เด็กจะไม่ติดกัน อาจเป็นเพศเดียวกัน หรือ ต่างเพศ กันก็ได้
สรุป : การเกิดฝาแฝด (Twin formation)
มี 2 ประเภท คือ ฝาแฝดร่วมไข่ และฝาแฝดต่างไข่
1. แฝดร่วมไข่ เป็นฝาแฝดที่เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์ไข่ 1 ใบ และอสุจิ 1 ตัว ขณะที่กาลัง
เจริญเติบโตเอ็มบริโอมีการแบ่งเซลล์ เช่น จาก 1 เป็น 2 และแยกขาดออกจากัน แต่ละส่วนจะเจริญเติบโตเป็น
ทารกที่มีอวัยวะครบสมบูรณ์จนกระทั่งคลอด แฝดประเภทนี้จะเป็นเพศเดียวกันเสมอมีรูปร่างลักษณะเหมือนกัน
และถ้าได้รับการเลี้ยงดูในสภาพแวดล้อเดียวกันจะมีอุปนิสัยและความสามารถที่คล้ายกันมาก ในกรณีที่เอ็มบริโอ
แบ่งตัว ออกเป็น 2 แต่ไม่แยกออกจากกัน เมื่อทารกเจริญเติบโตจะได้ทารกตัวติดกัน
2. แฝดต่างไข่ เป็นแฝดที่เกิดจากมีไข่สุกมากกว่า 1 ใบ ไข่แต่ละใบจะมีโอกาสเข้าผสมกับตัวอสุจิ
แต่ละตัวและเกิดการปฏิสนธิในเวลาใกล้เคียงกัน จะได้เอ็มบริโอ เจริญเติบโตอยู่ภายในมดลูกเดียวกัน แต่แยกรก
กันและทารกจะคลอดออกมาในเวลาใกล้เคียงกัน ฝาแฝดชนิดนี้อาจเป็นเพศเดียวกันหรือต่างเพศกันก็ได้ ส่วน
หน้าตาและลักษณะทางพันธุกรรมจะมีลักษณะคล้ายกัน
Identical Twins
What is this twin type ?
การแท้ง (Abortion)
การแท้งบุตรหมายถึงการตั้งครรภ์ไม่สามารถดาเนินต่อ ทาให้เด็กออกมาก่อนกาหนดภายใน 20
สัปดาห์ของการการตั้งครรภ์ จากการศึกษาพบว่าร้อยละ 10-25 ของการตั้งครรภ์มีการแท้งโดยที่ไม่รู้ตัว
การแท้งส่วนใหญ่จะเกิดในช่วง 13 สัปดาห์ของการตั้งครรภ์ ดังนั้นช่วงนี้เป็นช่วงที่คุณแม่ต้อง
ดูแลตัวเอง โดยการลดความเสี่ยงของการแท้ง
ภาวะสิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนถึงกาหนดคลอดตามปกติ เนื่องจากการตายของตัวอ่อนหรือทารก
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. การแท้งเอง (Spontaneous Abortion) เกิดจากความผิดปกติของตัวอ่อนเอง พบประมาณ
1 ใน 3 ของหญิงตั้งครรภ์
2. การทาแท้งเพื่อการรักษา (Therapeutic Abortion)
เป็นวิธีการทาเพื่อรักษาชีวิตของแม่ที่มีปัญหาด้านสุขภาพทางกาย
หรือจิตใจ หรือเมื่อพบความผิดปกติของตัวอ่อน
3. การทาแท้งเพื่อการคุมกาเนิด ซึ่งเป็นการทาแท้งที่ใช้วิธี
แตกต่างกันตามอายุทารก เช่น ช่วง 3 เดือนแรกใช้วิธีการดูดออก
หลังจาก 3 เดือนขึ้นไป ใช้วิธีการถ่างขยายปากมดลูก
และดูดออก เป็นต้น
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้นเฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้นWichai Likitponrak
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 

What's hot (20)

Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้นเฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 

Similar to Lesson5animalgrowth kr uwichai62

Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
BIO4M5 343 Fertilization
BIO4M5 343 FertilizationBIO4M5 343 Fertilization
BIO4M5 343 FertilizationPossawat Suksai
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่NawatHongthongsakul
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
การเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คนการเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คนTeakzK
 
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์CUPress
 
Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62Wichai Likitponrak
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfLomaPakuTaxila
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
เทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพเทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพpeter dontoom
 

Similar to Lesson5animalgrowth kr uwichai62 (20)

Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62
 
BIO4M5 343 Fertilization
BIO4M5 343 FertilizationBIO4M5 343 Fertilization
BIO4M5 343 Fertilization
 
การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่การเจริญของ embryo ไก่
การเจริญของ embryo ไก่
 
Lessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowthLessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowth
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
การเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คนการเจริญของ embryo คน
การเจริญของ embryo คน
 
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
 
Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62Lesson1 celldivision wichaitu62
Lesson1 celldivision wichaitu62
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
Twins-341 pre2
Twins-341 pre2Twins-341 pre2
Twins-341 pre2
 
Female reproduction 2 825
Female reproduction 2 825Female reproduction 2 825
Female reproduction 2 825
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
เทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพเทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพ
 
Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Lesson5animalgrowth kr uwichai62

  • 2. • นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครูชานาญการ (คศ.2) สาขาวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา : • พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล • พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต • พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ครูผู้สอน
  • 3. วัฏจักรชีวิต(Life cycle)ของสิ่งมีชีวิตแบ่งได้ 3 แบบ 1. Haplontic cycle ระยะตัวเต็มวัย (Adult) จะเป็น Haploid (n) ระยะที่เป็น 2n พบแค่ช่วงสั้นๆ พบในพวก protist โดยเริ่มที่ระยะมีหลายเซลล์ n เดียว (haploid multicellular organism) จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์โดยการแบ่ง mitosis ได้ gamete n เดียว เมื่อ gamete มาปฏิสนธิกัน (fertilization) ได้ zygote 2n แล้วแบ่ง meiosis ได้เซลล์อย่างละ n แล้ว n จะแบ่ง mitosis หลายๆครั้ง จนกระทั่งเป็นตัว เป็นต้นที่มีหลายเซลล์แต่ n เดียว เรียกว่า Haploidic cycle คือ ส่วน ใหญ่ของวงจรชีวิตจะเป็น n เดียว พบในพวกราส่วนใหญ่และสาหร่ายบางชนิด
  • 4. วัฏจักรชีวิต(Life cycle)ของสิ่งมีชีวิตแบ่งได้ 3 แบบ 2. Diplohaplontic cycle จะเป็นวงจรสลับระหว่างระยะที่มีโครโมโซมชุดเดียว n เดียว (haploid) และระยะโครโมโซม 2n (diploid) สลับกัน พบในพืชชั้นต่าพวกมอส เฟิร์น บางครั้งเรียกว่า Alternation of Generation วงชีวิตแบบสลับ วงจรนี้แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะ haploid multicellular organism เป็นระยะที่มีหลายเซลล์ โครโมโซม n เดียว เรียกว่า gametophyte หรือต้นที่สร้าง gamete แบ่ง mitosis ได้ gamete n เดียว มา fertilization ได้ zygote 2n แล้วแบ่ง mitosis หลายๆเซลล์ ได้ เป็นต้นใหญ่ขึ้นมา เรียกว่า diploid multicellular organism หรือ sporophyte 2n เพราะฉะนั้นวงชีวิตแบบนี้จะมีระยะ n กับ 2n อย่างละครึ่งเพราะเป็นพวก พืชชั้นต่าและพวกสาหร่าย มีระยะ gametophyte และ sporophyte เท่าๆกัน หรือ บางครั้งเรียกว่า Alternation of Generation
  • 5. วัฏจักรชีวิต(Life cycle)ของสิ่งมีชีวิตแบ่งได้ 3 แบบ 3. Diplontic cycle ระยะส่วนใหญ่ของวงจรชีวิต หรือวัฏจักรชีวิตเป็น 2n (diploid) ส่วนระยะ n จะเกิดแค่ช่วง สั้นๆ พบในพืชชั้นสูง สัตว์ชั้นสูง โดยเริ่มที่ระยะ 2n เป็นระยะที่พบ มากในวงชีวิต เป็น diploid multicellular organism แล้ว จะสร้าง gamete โดยการแบ่ง meiosis เป็น sperm กับ egg n เดียวซึ่งเป็นระยะสั้นๆ พอแบ่งเสร็จ sperm ผสมกับ egg fertilization ได้ zygote 2n แบ่ง mitosis หลายๆ ครั้งจน เป็นตัวหรือเป็นต้นที่มี 2n ในพืชชั้นสูง คือ พืชดอก ต้นที่เราเห็นคือ sporophyte มี diploid (2n) เป็นต้นที่เราเห็นอายุยืนยาว ภายในดอก ถ้าเป็นเกสรตัวผู้ภายในจะมีการแบ่ง meiosis เพื่อสร้าง microspore แล้วเจริญไปเป็น pollen ตัวเมียมีการสร้าง embryo sac ซึ่งจะมี egg อยู่ข้างใน แล้วใน pollen ซึ่งภายใน จะมี sperm nucleus ก็ผสมกับ egg nucleus เกิด fertilization เพราะฉะนั้น ระยะที่เป็น n เป็นแค่ embryo sac กับ pollen เท่านั้น แล้วในระยะส่วนใหญ่ที่เราเห็นจะเป็นระยะ sporophyte 2n
  • 6.
  • 7. การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (Growth and Development) 1. ความหมายของการเติบโต (growth) ของสิ่งมีชีวิต 1.1 สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวเช่น โพรโทซัว แบตทีเรียและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ พบว่าการเติบโตประกอบด้วย 1. การสร้างไซโทพลาซึม 2. การขยายขนาดของเซลล์ การเติบโต = การสร้างไซโทพลาซึม+ การขยายขนาดของเซลล์ 1.2 สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ การเติบโตของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น พืช สัตว์ สาหร่ายเห็ด รา ทั่ว ๆ ไปพบว่าการเติบโตประกอบด้วย 1. การแบ่งเซลล์ เพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ โดยมีการแบ่งแบบไมโทซิส 2. การสร้างไซโทพลาซึมทาให้เซลล์เพิ่มมวลมากขึ้น 3. การขยายขนาดของเซลล์ เพื่อทาให้เซลล์เพิ่มปริมาตรมากขึ้น การเติบโตของสิ่งมีชีวิต = การเพิ่มปริมาณโพรโทพลาซึม + การขยายขนาดของ เซลล์ + การเพิ่มจานวนเซลล์
  • 8. การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (Growth and Development) 2. การเจริญ (Development) ของสิ่งมีชีวิต เป็นกระบวนการที่ร่างกายของสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไปโดยเพิ่ม จานวนเซลล์ เพิ่มขนาดของเซลล์หรือเปลี่ยนแปลงสภาพของเซลล์อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างพร้อม ๆ กัน ทาให้เกิดเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ
  • 9. การเจริญเติบโตของสัตว์ (Growth and Development) • การเจริญของสัตว์ จะนับหลังจากระยะ zygote เป็นต้นไป zygote คือ fertilized egg หรือไข่ที่ผสมแล้วคือเซลล์ร่างกายเซลล์แรกซึ่งต่อไปจะมีการแบ่งนิวเคลียสแบบ mitosis แบ่ง เซลล์เพิ่มจานวนมากมายจนกระทั่งเป็นตัวสัตว์ขึ้นมา ตัวอย่างเช่นในคนเมื่อโตแล้วจะมีเซลล์ทั้งหมด ประมาณ 60 ล้านล้านเซลล์ซึ่งมาจาก zygote เซลล์เดียวเท่านั้น การเจริญแบ่งขั้นตอนได้ 4 ขั้น ด้วยกันคือ 1. Cell multiplication การเพิ่มจานวนเซลล์โดยการแบ่งนิวเคลียสแบบ mitosis และ แบ่ง cytoplasm ต่อไป : ระยะ Cleavage 2. Growth การเติบโต เซลล์แต่ละเซลล์ที่แบ่งแล้วตอนหลังจะมีการขยายขนาดขึ้น ผลทาให้ embryo มีขนาดใหญ่ขึ้นนั่นเอง : ระยะ Blastulation 3. Cell differentiation การเปลี่ยนสภาพของเซลล์ คือ การที่เซลล์มีการเปลี่ยนรูปร่างให้ เหมาะกับหน้าที่ เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดงจะกลมแบน เซลล์ประสาทจะมีแขนงยื่นออกไป เป็นต้น : ระยะ Gastrulation 4. Organogenesis / morphogenesis กระบวนการสร้างอวัยวะและการเกิดรูปร่างที่ แน่นอน
  • 10.
  • 11.
  • 13.
  • 14.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19. The human life cycle
  • 20. การปฏิสนธิของคน(Fertilizationin Human) • ในคนปกติไข่จะตกหลังจากมีประจาเดือนวันแรก 14 วัน หรือ 2 สัปดาห์เมื่อมีการร่วมเพศฝ่ ายชาย จะหลั่งน้าอสุจิ ซึ่งประกอบด้วย อสุจิเป็นจานวนล้าน ๆ ตัวเข้าไปในช่องคลอดของฝ่ ายหญิงอสุจิจะ แหวกว่ายจากช่องคลอดเข้าไปยังมดลูก และปีกมดลูกด้วยความเร็ว 1.5 - 3 มิลลิเมตรต่อนาที ถ้าตรง กับช่วงไข่ตกพอดีไข่และอสุจิจะผสมกันที่บริเวณปีกมดลูกเกิดการปฏิสนธิขึ้น • ในสัตว์บางชนิดเมื่ออสุจิเข้าไปถึงไข่พร้อมๆ กัน อสุจิทุกตัวจะพยายามเจาะไข่ การที่อสุจิเจาะไข่ได้ มากกว่า 1 ตัว เรียกลักษณะเช่นนี้ว่า POLYSPERMAE เพราะฉะนั้น ไข่จะมีการป้องกันไม่ให้ อสุจิเข้าไปในไข่มากกว่า 1 ตัวโดยการสร้างสารบางอย่างขึ้นมาล้อมรอบไข่หลังจากที่อสุจิตัวแรก เจาะเข้าไข่แล้ว ไข่จะมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและจะไม่ยอมให้อสุจิตัวอื่นผ่านเข้าไปได้อีกในคน ปฏิกิริยาเช่นนี้เรียกว่า ZONA REACTION
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27. (1) ไข่ระยะ secondary oocyte ซึ่งพร้อมที่จะผสมพันธุ์หลุดออกจากรังไข่ (ovulation) เข้าไปอยูใน ท่อนาไข่ (oviduct) การปฏิสนธิเกิดขึ้นภายในท่อนาไข่ได้เป็นไซโกต (zygote) (2) cleavage เริ่มเกิดขึ้นขณะที่เอมบริโอเคลื่อนตัวมาสู่มดลูก สิ้นสุดจะได้กกลุ่มเซลล์ เรียกว่า morula (3) ขณะที่มาถึงมดลูกเอมบริโอจะมีการเคลื่อนที่ของกลุ่มเซลล์แยกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 3.1 trophoblast เป็นกลุ่มเซลล์ที่เรียงตัวกันชั้นเดียวอยู่รอบนอก ซึ่งต่อไปจะเจริญรวมกับเนื้อเยื่อของผนัง มดลูกกลายเป็นรก (placenta) 3.2 กลุ่มเซลล์ที่อยู่ภายใน เรียกว่า inner cell mass เป็นส่วนที่จะเจริญต่อไปเป็นเอมบริโอ เรียกเอมบริโอระยะ นี้ว่า blastocyst (4) blastocyst จะฝังตัวในผนังมดลูก ซึ่งเอมบริโอเจริญมาได้ประมาณ 7 วันหลังการปฏิสนธิ การปฏิสนธิของคน(Fertilizationin Human)
  • 28.
  • 29.
  • 30. การตั้งครรภ์ (Pregnancy) • เมื่อเกิดการตกไข่และไข่รวมกับตัวอสุจิ ที่เรียกว่า การปฏิสนธิ ไข่ที่ถูกผสมแล้วจะเริ่มมี การแบ่งตัวจนเป็นกลุ่มเซลล์ ที่เราเรียกว่า เอ็มบริโอ(Embryo) ขณะที่เซลล์เกิดการ แบ่งเซลล์ ก็จะเคลื่อนที่ไปตามท่อนาไข่ และเคลื่อนที่ไปฝังตัวที่ผนังมดลูกชั้นในที่สร้าง หนาขึ้น การเจริญเติบโตของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม • ในระยะ CLEAVAGE นั้นคล้ายกับสัตว์อื่นๆ แต่ในระยะ Blastula ไข่ที่เป็น Isolecithal คือ พวกที่มีไข่แดงน้อยและกระจายอยู่ทั่วไปภายในเซลล์จะมีช่องที่ เรียกว่า Blastocyst cavity ส่วนกลุ่มเซลล์ที่เห็นเรียงตัวกันอยู่รอบนอก เรียกว่า Trophoblast และยังมีกลุ่มเซลล์อีกกลุ่มหนึ่งอยู่ทางด้านใน เรียกกลุ่มเซลล์นี้ว่า Inner cell mass • จากนั้นเอ็มบริโอก็จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเรื่อยๆ จนอายุครบ8 สัปดาห์ (2 เดือน) จึงมีอวัยวะครบ และมีลักษณะทุกอย่างเหมือนคน กระดูกอ่อนก็จะเปลี่ยนเป็นกระดูกแข็ง เรียกระยะที่มีอวัยวะทุกอย่างครบ และมีลักษณะเหมือนคนทุกประการ เรียกว่า ฟีตัส (Fetus) ต่อมาฟีตัสก็จะเจริญต่อไปในท้องแม่ อีกประมาณ 7 เดือน จึงคลอดออกมา เป็น “ทารก”
  • 31.
  • 32.
  • 33. การเจริญของ extraembryonic membranes ของไก่ Yolk sac มีลักษณะเป็นถุงหุ้มไข่แดง มีเซลล์ย่อยสลายไข่แดง และเยื่อหุ้มเจริญเป็นเส้นเลือด ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร ด้านข้างแผ่เข้าไปคลุมเอมบริโอและในที่สุดเชื่อมติดกัน ทาให้เกิดเยื่ออีก 2 ชั้น ได้แก่ amnion และ chorion เกิดเป็นช่องว่างหุ้มเอมบริโอไว้ เพื่อป้องกันอันตราย amnion เป็นถุงหุ้ม เอมบริโอภายในมีน้าคร่า (amniotic fluid) โดยมี chorion หุ้มอยู่อีกชั้นหนึ่ง นอกจากนี้มีถุงยื่นออกมา จากส่วนทางเดินอาหาร ทาหน้าที่กาจัดของเสีย เรียกว่า allantois ซึ่งจะแผ่ไปถึงและดันให้ chorion ติด กับเยื่อชั้นในของเปลือกไข่ (vitelline membrane) allantois และ chorion รวมกันเจริญเป็นอวัยวะช่วย ในการหายใจ โดยมีเส้นเลือดที่เจริญมาจาก allantois ทาหน้าที่ลาเลียงออกซิเจน
  • 34.
  • 35.
  • 36. (1) หลังจาก cleavage ได้ blastocyst ซึ่งประกอบด้วย trophoblast และ inner cell mass มีช่อง blastocoel (2) blastocyst เป็นระยะที่จะฝังตัวเข้าไปในมดลูก และ gastrulation จะเกิดขึ้นทันที trophoblast เป็นกลุ่มเซลล์ ที่เรียงอยู่ด้านนอก ซึ่งจะเจริญรวมกับผนังมดลูก กลุ่ม เซลล์ inner cell mass แยกตัวเป็น epiblast ซึ่งจะเจริญ เป็นเนื้อ 3 ชั้น และ hypoblast ซึ่งจะแผ่ตัวเป็นเยื่อชั้นใน เป็น yolk sac (3) ระยะนี้ trophoblast เริ่มเจริญร่วมกับผนังมดลูกเป็น chorion ส่วน epiblast เจริญเป็น amnion ภายในมี ของเหลวเรียกว่า น้าคร่า (amniotic fluid) บางส่วนของ epiblast แยกเป็น mesodermal cell เจริญรวมกับ chorion เป็นรก (placenta) (4) กลุ่มเซลล์ epiblast มีการม้วนตัวเข้าสู่แนวกลางตัว เกิด primitive streak และมีการม้วนตัวเข้าไปข้างใน เกิด เป็นเนื้อ 3 ชั้น อยู่ภายใน extraembryonic membranes การเจริญของเอมบริโอของคนและ extraembryonic membranes
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40. โครงสร้างนอกตัว embryo (Extra embryonic membrane) • พบเฉพาะในสัตว์ 3 พวก คือ 1. สัตว์ปีกหรือพวกนก (Aves) 2. สัตว์เลื้อยคลาน (reptile) และ 3. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม (mammal) • โครงสร้างที่อยู่นอกตัวเอมบริโอ ประกอบด้วย 4 อย่าง ได้แก่ 1. yolk sac ถุงไข่แดง 2. Amnion ถุงน้าคร่า 3. chrion และ 4. allantois 1. Yolk sac ถุงไข่แดง ในพวกนกและสัตว์เลื้อยคลานเป็นสัตว์ที่มีไข่แดงมาก เพราะฉะนั้นถุงไข่ แดงจึงมีไข่แดงอยู่ข้างใน ส่วนในคนหรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมไม่มีไข่แดงฉะนั้นถุงนี้ก็มีไว้เฉยๆ ซึ่ง เกี่ยวกับเรื่องวิวัฒนาการว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมมีต้นตระกูลเป็นสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์เลื้อยคลานมี yolk sac และมีไข่แดงอยู่ข้างใน นกก็มีต้นตระกูลเป็นสัตว์เลื้อยคลานเหมือนกัน ใน yolk sac มีไข่แดง แต่ในคนและสัตว์เลื้อยลูกด้วยน้านมอื่นๆ นั้นไข่แดงไม่มีแล้ว แต่เนื่องจากว่ามันมีต้นตระกูลเป็น สัตว์เลื้อยคลานก็เลยมี yolk sac เหลือให้เราเห็นแต่ไม่ทางาน 2. Amnion ถุงน้าคร่า ในสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วนน้านมทาหน้าที่เหมือนกัน คือป้องกันอันตรายให้แก่ embryo เพราะว่าในถุงน้าคร่าจะมีของเหลวเรียกว่า amniotic fluid เนื่องจาก สัตว์พวกนี้วางไข่บนบก เพเราะฉะนั้นรอบตัว embryo ต้องมีน้าล้อมรอบป้องกันอันตราย ส่วนพวก ปลาพวกกบ ไม่มี Amnion เพราะพวกนี้วางไข่ในน้ามีน้าล้อมรอบตัวไข่อยู่แล้ว
  • 41. โครงสร้างนอกตัว embryo (Extra embryonic membrane) 3. Chorion เป็นเยื่อชั้นนอกสุดของ Embryo เป็นโครงสร้างอยู่นอกตัว ในนกป้องกันการระเหย ของน้า ในคนจะเจริญไปเป็นรก Chorion มาจากกลุ่มเซลล์ในระยะ Blastocyst ที่เรียกว่า Trophoblast ต่อไปเป็น Chorion เนื่องจากมันอยู่นอกสุดมันจะไปปะติดกับผนังมดลูกของแม่กลายเป็นส่วนหนึ่งของ รกเรียกว่ารกลูกหรือ Fetal placenta 4. Allantois ในนกและสัตว์เลื้อยคลานจะเก็บของเสียและแลกเปลี่ยนก๊าซ ของเสียที่เก็บเป็นกรดยู ริค สัตว์พวกนี้ไข่แดงมากดังนั้นกว่าจะออกจากไข่ต้องใช้เวลานาน ฉะนั้นถ้าปัสสาวะเป็นน้า จะไม่มีที่เก็บ จึงขับของเสียในรูปกรดยูริค เป็นของแข็งเก็บในถุงนี้ได้ ในคนมีแต่ไม่ทางานเหมือนในนกและสัตว์เลื้อยคลาน แต่จะเจริญเป็นส่วนหนึ่งของรกคือรกลูกนั่นเอง เพราะในคนรกจะเป็นตัวที่ติดต่อระหว่างแม่กับลูก แม่ก็มีเส้นเลือดมาที่รกนาอาหารออกซิเจนมาให้ลูก ลูกมีเส้นเลือดติดต่อรก นาของเสีย CO2 ไปทิ้ง รก หรือ Placenta ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1.รกของลูก ประกอบด้วย Chorion กับ Allantois (สายสะดือของลูเท่านั้น ประกอบด้วยYolk sac กับ Allantois) : เส้นเลือดในสายสะดือ) 2.รกของแม่ คือ ผนังชั้นในของมดลูก uterine tissue ที่เรียกว่า Endometrium
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45. Be careful This opposite the normal circulation
  • 46.
  • 48.
  • 49. การทดสอบการตั้งครรภ์ (Pregnancytest) มีอยู่ 2แบบคือ การทดสอบตั้งครรภ์ด้วยปัสสาวะ • ชุดทดสอบการตั้งครรภ์จะให้ผลแม่นยาที่สุดเมื่อทาการทดสอบหลังจากรอบเดือนขาดไปแล้วหนึ่ง สัปดาห์ แม้ว่าชุดทดสอบการตั้งครรภ์ส่วนใหญ่จะได้รับการกล่าวอ้างว่าให้ผลการทดสอบที่แม่นยา ถึงร้อยละ 99 ก็ตาม ผลการทดสอบอาจมีความคลาดเคลื่อนได้ เพราะโอกาสที่ตัวอ่อนจะฝังตัวบน ผนังมดลูกหลังจากประจาเดือนไม่มาวันแรกมีสูงถึงร้อยละ10 ซึ่งในกรณีนี้ ระดับฮอร์โมนhCG อาจจะยังไม่สูงพอที่จะวัดได้ • อย่างไรก็ตามผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าชุดทดสอบการตั้งครรภ์ส่วนใหญ่สามารถตรวจวัดระดับ ฮอร์โมน hCG หลังจากประจาเดือนไม่มาเพียงวันเดียวได้ค่อนข้างแม่นยาอีกทั้งการทดสอบด้วย ตัวอย่างน้าปัสสาวะแรกหลังจากตื่นนอนนั้นจะให้ค่าระดับฮอร์โมน hCG สูงที่สุด การตรวจเลือด (beta hCG) • หากไม่ต้องการรอนานการทดสอบแบบนี้อาจเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดเพราะสามารถทดสอบ การตั้งครรภ์ได้แม้ฮอร์โมน hCG มีระดับต่าโดยอาศัยการนับระยะของการตกไข่ การทดสอบเลือด นี้สามารถทดสอบได้ตั้งแต่ช่วงวันที่ 6-8 หลังจากไข่ตกขณะที่การทดสอบปัสสาวะนั้นปกติจะทา การทดสอบหลังจากไข่ตกแล้วประมาณ14-21 วัน
  • 50.
  • 51. ชนิดไข่ของสัตว์ สามารถจาแนกได้ดังนี้ 1. จาแนกได้เป็น 4 ชนิด ตามการกระจายของไข่แดง • 1.1 Isolecithal egg เป็นพวกที่มีไข่แดงน้อยและกระจายทั่วไปภายในเซลล์ ตัวอย่าง เช่นไข่ หอยเม่น ไข่ปลาดาว และไข่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม • 1.2 Mesolecithal egg / moderately telolecithal egg เป็นพวกที่มีไข่แดงปาน กลางและไข่แดงมักจะอยู่หนาแน่นที่ขั้วใดขั้วหนึ่งของ เซลล์ ตัวอย่างเช่นไข่กบ • 1.3 Telolecithal egg / heavily telolecithal egg เป็นพวกที่มีไข่แดงมากและไข่ แดงอยู่หนาแน่น ตัวอย่างเช่น ไข่นก ไข่ไก่ไข่ปลา และไข่ของสัตว์เลี้อยคลาน • 1.4 Centrolecithal egg / heavily telolecithal egg เป็นพวกที่มีไข่แดงอยู่ตรง กลาง ตัวอย่าง เช่น ไข่แมลง
  • 52.
  • 54.
  • 55. ชนิดไข่ของสัตว์ สามารถจาแนกได้ดังนี้ 3. ชนิดของไข่ จาแนกออกตามปริมาณมากน้อยของไข่แดงได้ดังนี้ คือ • 3.1 Alecithal egg เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อยมากจนเกือบไม่มีเลย ขนาดของไข่จึงเล็กมาก ตัว อ่อนที่ เกิดจากไข่ชนิดนี้ต้องอาศัยอาหารจากแม่ทางรก ได้แก่ ไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม • 3.2 Microlecithal egg เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงน้อย เช่น ไข่ของหอยเม่น ดาวทะเล เป็นต้น • 3.3 Mesolecithal egg เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงปานกลาง ไข่มีขนาดใหญ่ขึ้น เช่น ไข่ของสัตว์ สะเทินน้าสะเทินบก • 3.4 Polylecithal egg เป็นไข่ชนิดที่มีไข่แดงมาก จนทาให้ส่วนของนิวเคลียสและไซโทพลาส ซึมถูกดันไปอยู่ด้านบนของไข่ ได้แก่ ไข่ของสัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน รวมทั้งไข่แมลงด้วย
  • 56. สรุปประเภทของเซลล์ตามลักษณะของไข่แดงและรูปแบบการแบ่งเซลล์ embryo: Isolecithal egg telolecithal egg moderately Heavily Centrolecithal Alecithal Microlecithal Polylecithal Mesolecithal Equal Holoblastic cleavage Unequal Holoblastic cleavage Discoidal meroblastic cleavage Superficial meroblastic cleavage
  • 57. Embryonic development เป็นการศึกษาช่วงระยะการเจริญของเอมบริโอ ซึ่งจะเริ่มต้นหลังจากไข่เกิดการ ปฏิสนธิแล้ว เอมบริโอระยะแรกคือไซโกต ระยะเอมบริโอจะสิ้นสุดเมื่อเกิดอวัยวะต่างๆครบ ในสัตว์ชนิดต่างๆจะมีช่วงเวลาของการเกิดเอมบริโอแตกต่างกัน เช่นในคน ประมาณ 8-10 สัปดาห์ ไก่ประมาณ 4 วัน และกบประมาณ 2 วัน เป็นต้น จากไซโกตซึ่งเป็นเซลล์เดี่ยวไปสู่สภาพที่ซับซ้อนขึ้น โดยเกิดขึ้นเป็นลาดับขั้นตอน ต่างๆดังนี้ 1. Cleavage 2. Blastulation 3. Gastrulation 4. Organogenesis
  • 58.
  • 59. Embryonic development : Cleavage เป็นกระบวนการที่ไซโกตมีการแบ่งเซลล์แบบ mitotic division อย่างรวดเร็วทาให้ ได้เอมบริโอที่มีหลายเซลล์ เรียกว่า morula (ลักษณะก้อนทึบคล้ายน้อยหน่า) แต่ละเซลล์ เรียนว่า blastomere ชั้นเซลล์ เรียกว่า blastoderm
  • 60.
  • 61.
  • 62.
  • 63.
  • 64. Zygote ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1. vegetal pole 2. animal pole •ไข่กบ 2 ส่วนนี้มีสีแตกต่างกัน •cytoplasm ของไข่กบจัดเรียงตัวใหม่ขณะ เกิด fertilization ทาให้เกิดบริเวณสีเทา ที่ เรียกว่า gray crescent ซึ่งเกิดบริเวณตรง กลางของไข่ด้านตรงข้ามกับที่ sperm เจาะ เข้าไป •Cleavage ที่ animal pole เกิดขึ้นเร็วกว่าที่ vegetal pole •ผลของ cleavage ได้เอมบริโอมีลักษณะ เป็นก้อนกลมตัน เรียกว่า morula •ต่อมาเกิดช่องว่างที่มีของเหลวบรรจุอยู่ (blastocoel) ภายใน morula เรียกเอมบริโอ ระยะนี้ว่า blastula (blastulation) คลีเวจของเอมบริโอสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
  • 65. คลีเวจของเอมบริโอสัตว์ปีกและสัตว์เลื้อยคลาน สาหรับไข่พวกนกและสัตว์เลื้อยคลานเป็นไข่ที่มีไข่แดงมาก คลีเวจเป็นแบบ meroblastic (discoidal) คือเซลล์ไม่แบ่งตัวตลอดไข่ แนวการแบ่งจะเกิดเฉพาะบริเวณ ด้านบนของไข่ซึ่งมีไซโตพลาสซึมและนิวเคลียสอยู่เท่านั้น คือบริเวณ germinal disc blastodisc
  • 66.
  • 67.
  • 68. สรุป : Clevage เม่นทะเล (echinoderm) กบ (amphibian) ไก่ (aves) คน (mammal) Equal Holoblastic cleavage Unequal Holoblastic cleavage discoidal meroblastic cleavage Equal Holoblastic cleavage
  • 69. Embryonic development : blastulation เป็นขั้นการเจริญของตัวอ่อนสัตว์ที่มีต่อจากระยะคลีเวจ โดยเซลล์บลาสโตเมียร์ จะมา จัดเรียงตัวใหม่ อย่างเป็นระเบียบเป็นชั้นเดียวอยู่ที่ผิว ทาให้มีลักษณะคล้ายลูกบอลที่มีโพรงอยู่ข้าง ใน เรียกว่า บลาสโทซีล (Blastocoel) ตัวอ่อนในระยะนี้เรียกว่า บลาสทูลา (Blastula) และชั้นของ เซลล์ เรียกว่า บลาสโทเดิร์ม (Blastoderm)
  • 70. 1. Cleavage 2. Blastulation 3. Gastrulation 4. Organogenesis 1 2 3 4
  • 71.
  • 72.
  • 73.
  • 74. Blastula ของเอมบริโอ สัตว์ปีกและสัตว์เลื้อยคลาน ลักษณะของ blastula เห็นเป็ นแผ่นเรียกว่า bastodisc ซึ่งจะเรียงตัวแยกเป็น 2 ชั้น ชั้นนอก (บน) เรียก epiblast และชั้นใน (ล่าง) เรียก hypoblast ช่องว่างตรง กลางเรียก blastocoel(เอ็มบริโอระยะ blastulation)
  • 76.
  • 77.
  • 79.
  • 80. สรุป : Blastulation เม่นทะเล กบ ไก่ คน Blastoderm ชั้นเดียว Blastocoel อยู่กลาง Blastoderm หลายชั้น Blastocoel อยู่ด้าน animal pole blastocyst
  • 81.
  • 82. Embryonic development : Gastrulation Gastrulation เป็นกระบวนการเกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น เรียก embryonic germ layers 1. ectoderm เนื้อชั้นนอกของ gastrula 2. mesoderm เนื้อชั้นกลาง 3. Endoderm เนื้อชั้นในซึ่งเป็นท่อยาว ระยะเอมบริโอนี้เรียกว่า Gastrula ระยะนี้เกิด cell motility / changes in cell shape / changes in cellular adhesion
  • 83. คน (inner cell mass) ไก่ (blastodisc) : epiblast / hypoblast
  • 84.
  • 85.
  • 86.
  • 87.
  • 88.
  • 89. กลุ่มเซลล์ทางด้านบนมีการแบ่งตัว อย่างรวดเร็ว และเคลื่อนที่แผ่ลงคลุม เซลล์ทางด้านล่าง พร้อมกันนั้นตรง บริเวณที่จะเกิดเกิดเป็น blastopore จะมีการบุ๋มตัวของกลุ่มเซลล์เหล่านี้ กลุ่มเซลล์ที่เคลื่อนที่จะลงมาจาก ด้านบนและม้วนตัวผ่านตรง blastopore เข้าสู่ภายใน ทาให้ได้เป็น เอมบริโอที่มีเนื้อ 3 ชั้น ช่องว่างภายใน ที่เกิดขึ้นใหม่ คือ archenteron (gastrocoel) Gastrulation ของกบ
  • 90.
  • 91.
  • 92. Gastrulation ของไก่ ระยะ gastrulationกลุ่มเซลล์ epiblast ด้านขวาและซ้ายจะเคลื่อนที่เข้าสู่แนวกลาง เรียกว่า primitive streak และกลุ่มเซลล์จะม้วนตัวเข้าไปข้างใน โดยกลุ่มเซลล์ทางด้านหน้าสุดของ primitive streak ที่เรียกว่า Hensen’s node ม้วนตัวเข้าไปก่อนเกิดเป็นแท่ง notochord บางกลุ่ม เจริญเป็นชั้น mesoderm บางกลุ่มเคลื่อนที่ลงไปด้านล่างเกิดเป็น endoderm และกลุ่มเซลล์ที่อยู่ ด้านนอกเกิดเป็น ectoderm
  • 93.
  • 94.
  • 95.
  • 96.
  • 97.
  • 98.
  • 99.
  • 100.
  • 101.
  • 102.
  • 103.
  • 104.
  • 105.
  • 106.
  • 107. สรุป : Gastrulation เม่นทะเล กบ ไก่ คน Invagination ingression Invagination / involution / epiboly Invagination / Involution / epiboly Invagination / involution / epiboly Delamination (inner cell mass) : epiblast / hypoblast Delamination (blastodisc) : epiblast / hypoblast
  • 108. Embryonic development : Organogenesis การเกิดอวัยวะต่างๆ จากเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (ectoderm/mesoderm/endoderm) •neutral tube และ notochord เป็นอวัยวะแรกที่เกิดขึ้นในกบและสัตว์พวก chordate อื่นๆ (ระบบ อวัยวะแรกในการพัฒนาเอ็มบริโอ คือ ระบบประสาท) •dorsal mesoderm (เหนือ archenteron) รวมกันเป็นแท่งโครงสร้างเกิดเป็น notochord •ectoderm เหนือ notochord หนาตัวขึ้นเกิดเป็น neutral plate แล้วบุ๋มลงไปเป็น neutral tube ซึ่ง ต่อไปจะเจริญเป็น brain, spinal cord ส่วนอวัยวะอื่นๆ เกิดขึ้นตามมาภายหลัง
  • 110.
  • 111.
  • 112.
  • 113.
  • 114.
  • 115. Ectoderm ระบบปกคลุมร่างกาย (หนังกาพร้า, ผม, เล็บ). ระบบประสาท (สมอง, ไขสันหลัง, เรตินา, pituitary gland), สารเคลือบฟัน (enamel), adrenal medulla, เลนส์ตา ,กระจกตา Mesoderm ระบบหมุนเวียนและน้าเหลือง, ระบบขับถ่าย, ระบบสืบพันธุ์, adrenal cortex,กล้ามเนื้อ และกระดูก, notochord, หนังแท้, เนื้อฟัน, เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (เส้นเอ็น) Endoderm Parathyroid gland, thyroid gland, ต่อมทอนซิล, ต่อมไทมัส, ตับ, ตับอ่อน, ทางเดิน อาหาร, ทางเดินอากาศ, กระเพาะปัสสาวะ Organogenesis เมื่อกระบวนการ gastrulation เสร็จสิ้นลง เอมบริโอเข้าสู่ขั้นที่เตรียมพร้อมที่จะเติบโตอย่าง อิสระ เนื้อเยื่อต่างๆจะเรียงตัวตามตาแหน่งที่จะปรากฏในขั้นเต็มวัย จับกลุ่มกันขึ้นเป็นเนื้อเยื่อและ อวัยวะตามตาแหน่งที่เฉพาะเจาะจง และเริ่มอย่างมีอิสระแต่มีการประสานงานกัน มีการจับกลุ่มกัน ของเซลล์ขึ้นเป็นรูปร่าง
  • 118.
  • 119.
  • 121. สรุป: กระบวนการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอของสัตว์ • ไข่เมื่อได้รับการผสมแล้วจะกลายเป็นไซโกต (Zygote) แล้วมีการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซีส ไซโกตจะ มีการเปลี่ยนแปลง ต่อเนื่องกัน 4 ระยะ คือ • 1. CLEAVAGE : เริ่มจากไซโกตแบ่งตัวจาก 1 → 2 → 4 → 8 ... จนกระทั้งเซลล์มาเกาะกันเป็นก้อน กลมๆ เรียกก้อนกลมๆนี้ว่า โมรูลา (MORULA) มีลักษณะคล้ายลูกน้อยหน่า แต่ละเซลล์ เรียกว่า blastomere • 2. Blastulation : BLASTULA เป็นตัวอ่อนในระยะที่มีการจัดเรียงตัวของเซลล์ภายในเพื่อให้ได้ช่องว่าง ในตัวอ่อนเรียกช่องว่างนี้ว่า BLASTOCOEL และเรียกชั้นเซลล์ที่ล้อมช่องว่างว่า BLASTODERM
  • 122. สรุป: กระบวนการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอของสัตว์ • 3. Gastrulation: GASTRULAเป็นตัวอ่อนที่ต่อจากระยะ BLASTULAคือ เซลล์แบ่งตัวแล้วเคลื่อนที่ เข้าข้างในเห็นตัวอ่อนเป็นรูปถ้วย ซึ่งดูคล้ายมีผนัง 2 ชั้น คือ ชั้นนอกและชั้นในและในตอนนี้จะเห็นมีช่องว่าง 2 ช่อง คือ BLASTOCOELและ ARCHENTERONซึ่งช่อง ARCHENTERONต่อไปจะเจริญไปเป็น ทางเดินอาหาร ต่อมาจะเกิดเนื้อเยื่อแทรกระหว่าง เนื้อเยื่อชั้นนอกและเนื้อเยื่อชั้นในเนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นใหม่นี้คือ เนื้อเยื่อชั้นกลางในตอนท้ายระยะนี้GASTRULAจะมีการสร้าง notochord ขึ้น • 4. Organogenesis คือ กระบวนบวนการที่เนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ ชั้นนอก (ectoderm) ชั้นกลาง (mesoderm) ชั้นใน (endoderm) เปลี่ยนแปลง (. DIFFERENTIATION)ไปเป็นโครงสร้างอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย โดย ระบบอวัยวะแรกที่พัฒนาขึ้น คือ ระบบประสาท (nervous system)
  • 123. DIFFERENTIATION • Ectoderm (เนื้อเยื่อชั้นนอก)เปลี่ยนแปลงไปเป็น • ผิวหนัง ขน เขา เล็บ เกล็ด กีบเท้าสัตว์ • ระบบประสาท (สมอง,ไขสันหลัง) • ต่อมใต้สมองส่วนหน้าและส่วนกลาง • สารเคลือบฟัน ต่อมน้าลาย • ต่อมหมวกไตชั้นใน ต่อมใต้สมองส่วนท้าย • Mesoderm (เนื้อเยื่อชั้นกลาง)เปลี่ยนแปลงไปเป็น • ระบบโครงกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ • ระบบหมุนเวียนโลหิต (หัวใจ เส้นเลือด เลือด ม้าม) • ระบบขับถ่าย (ไต) - ระบบสืบพันธุ์ (อัณฑะ รังไข่) • Endoderm (เนื้อเยื่อชั้นใน) เปลี่ยนแปลงไปเป็น • ระบบทางเดินอาหาร (หลอดอาหาร,กระเพาะอาหาร , ลาไส้ , ตับ , ตับอ่อน) • ระบบหายใจ (หลอดลม , ปอด) - ต่อมทอนซิล หูส่วนกลาง ต่อมไทรอยด์ • ต่อมพาราไทรอยด์ อัลแลนตอยด์ ถุงไข่แดง • กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ • เซลล์ที่จะเจริญเป็นเซลล์สืบพันธุ์ (primordial germ cell)
  • 128.
  • 131. การเจริญหลังระยะเอ็มบริโอ (post embryonic development) • ในสัตว์บางชนิดเมื่อเอมบริโอเจริญมากขึ้นจนครบกาหนดแล้ว จะเจริญเป็นตัวเต็มวัยเลย • สัตว์บางชนิดจะผ่านระยะที่เรียกว่า larva ซึ่งเริ่มตั้งแต่เอมบริโอฝักเป็นตัวจะกระทั่งมีการ เปลี่ยนแปลง metamorphosis เกิดขึ้น เช่น ลูกอ๊อดของกบ แล้วจึงเจริญเป็นตัวเต็มวัย • สาหรับในคน การเจริญระยะหลังเอมบริโอส่วนใหญ่เป็นการเติบโตที่มีการเพิ่มขนาด ปริมาตร น้าหนัก อัตราการเติบโตของส่วนต่างๆของร่างกายจะไม่เท่ากัน
  • 132. การเจริญเติบโตหลังระยะเอ็มบริโอของสัตว์อื่นๆ(Metamorphosis) 1. Ametamorphosis การเจริญเติบโตที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเป็นขั้นๆ ในระหว่าง เจริญเติบโตตัวอ่อนจะมีลักษณะรูปร่างเหมือนตัวเต็มวัยทุกประการเพียงแต่มีขนาดเล็กกว่าสัตว์มีกระดูกสันหลัง (ยกเว้น สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า) ดาวทะเล ไส้เดือนดิน หนอนตัวแบน ฯลฯ 2. Metamorphosis การเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเป็นขั้น ๆ ในระหว่างเจริญเติบโตตัว อ่อนจะมีลักษณะรูปร่างแตกต่างจากตัวเต็มวัย สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า แมลง • การเจริญเติบโตของแมลง จะแบ่งได้ 4 ลักษณะ คือ • 1) Ametamorphosis การเจริญเติบโตที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเป็นขั้น ๆ ในระหว่าง เจริญเติบโต ตัวอ่อนจะมีลักษณะรูปร่างเหมือนตัวเต็มวัยทุกประการเพียงแต่มีขนาดเล็กกว่า ได้แก่ แมลงสอง ง่าม แมลงหางดีด • 2) Gradual Metamorphosis เมตามอร์โฟซีสแบบค่อยเป็นค่อยไป คือ แมลงที่มีการเปลี่ยนแปลง รูปร่างทีละน้อย มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพียง 3 ขั้น ได้แก่ ตั๊กแตน จิ้งหรีด ปลวก แมลงสาบ • 3) Incomplete Metamorphosis เมตามอร์โฟซีสแบบไม่สมบูรณ์ คือ แมลงที่มีการ เปลี่ยนแปลงรูปร่าง ไม่ครบขั้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพียง 3 ขั้น ได้แก่ แมลงปอ ชีปะขาว • 4) Complete Metamorphosis เมตามอร์โฟซีสแบบสมบูรณ์ คือ แมลงที่มีการเปลี่ยนแปลง รูปร่างครบ 4 ขั้น ได้แก่ ยุง ผีเสื้อ มด ต่อ ผึ้ง เต่าทอง ฯลฯ
  • 133.
  • 135.
  • 136.
  • 137.
  • 138. การวัดอัตราการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต 1. การนับจานวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้น วิธีนี้กระทาได้ยาก ไม่สะดวก 2. การวัดความสูง เป็นเพียงการคาดคะเนการเติบโต เพราะความสูงอาจไม่เพิ่มในอัตราส่วนเดียวกันกับ มวล โดยเฉพาะพืชที่เจริญกันอย่างหนาแน่นมาก ๆ 3. การวัดมวลทั้งหมดของสิ่งมีชีวิต นิยมใช้มากที่สุด แต่ไม่ใช่เกณฑ์ที่ดีที่สุดเพราะน้าหนักที่เพิ่มขึ้นอาจ เนื่องมาจากปริมาตรของของเหลวที่เพิ่มขึ้นในร่างกาย 4. การวัดน้าหนักแห้งหรือน้าหนักคงที่เป็นเกณฑ์วัดการเติบโตดีที่สุด เพราะน้าหนักแห้งเป็นน้าหนักของ มวลอินทรีย์ที่เกิดจากการเติบโตที่แม้จริงเพราะน้าหนักแห้งมาจากการสร้างไซโทพลาซึมของเซลล์
  • 139. กราฟแสดงการเติบโตของสิ่งมีชีวิต มี 3 ลักษณะ คือ 1. กราฟรูปตัวเอส (s – shaped curve) พบในสัตว์ทั่ว ๆ ไป ยกเว้น อาร์โทรพอดและพบในพืช ล้มลุก โดยการแบ่งการเติบโตเป็น 3 ระยะ คือ 1. ระยะ I มีอัตราการเติบโตต่า (lag phase) 2. ระยะ II มีอัตราการเติบโตสูงสุด (log phase) 3. ระยะ III มีอัตราการเติบโตต่าสุด (stationary phase) 2. กราฟรูปตัวเอสต่อเนื่อง พบในไม้ยืนต้นที่มีเนื้อไม้ ซึ่งมีการเจริญเติบโตในแต่ละฤดูกาลไม่ เท่ากัน โดยในฤดูน้ามากจะมีอัตราการเติบโตสูง ส่วนฤดูแล้งจะมีอัตราการเติบโตต่า 3. กราฟรูปขั้นบันได พบในอาร์โทรพอดทุกชนิด ซึ่งมีการลอกคราบเพื่อการเติบโต
  • 140. s – shaped curve กราฟรูปตัวเอสต่อเนื่องกราฟรูปขั้นบันได
  • 141.
  • 142. พัฒนาการ-ของทารกในครรภ์ช่วง9เดือนภายในครรภ์มารดา • พัฒนาการทารกในครรภ์ นั้นเริ่มนับตั้งแต่วันแรกของการมีประจาเดือนครั้งสุดท้าย แม้ คุณหมอจะบอกคุณว่าตั้งครรภ์ได้ 1 เดือน แต่ความเป็นจริงคือ 2 สัปดาห์หลังจากการ ปฏิสนธิ การตั้งครรภ์โดยปกตินั้นมีระยะเวลาเฉลี่ยคือ 40 สัปดาห์ • 1 เดือนแรก (3 สัปดาห์นับจากวันแรกของประจาเดือนครั้งสุดท้าย) เป็นช่วงเวลาที่ไข่ได้ ผสมกับอสุจิกลายเป็นตัวอ่อน โดยไข่ที่ได้รับการผสมแล้วจะเคลื่อนตัวช้าๆ ผ่านท่อนาไข่ มายังโพรงมดลูก ขณะเคลื่อนตัวก็จะมีการแบ่งเซลล์เพิ่มจานวนมากขึ้นเรื่อยๆ จะกระทั่ง ถึงโพรงมดลูกไข่จะมีลักษณะเป็นลูกกลม ประกอบไปด้วยเซลล์ราว 100 เซลล์ และยังคง เจริญเติบโตต่อไป ไข่ที่ผ่านการผสมแล้วจะฝังตัวลงในเยื่อบุโพรงมดลูกซึ่งมีลักษณะนุ่ม และหนา จนเมื่อยึดเกาะติดมั่นคงดีแล้วจึงถือได้ว่าการปฏิสนธิเป็นไปอย่างสมบูรณ์ • ช่วงเดือนที่ 2 (เริ่มสังเกตเห็นทารกชัดเจน) เมื่อไข่ที่ผสมแล้วยึดเกาะติดฝังตัวลงในเยื่อบุ โพรงมดลูกเรียบร้อยดีแล้ว ช่วงเดือนที่ 2 ของพัฒนาการทารกในครรภ์นี้ทารกเริ่ม มองเห็นเป็นตัวแล้ว การพัฒนาการของทารกในครรภ์สังเกตได้อย่างชัดเจนจากหัวของ ทารกที่จะโตกว่าส่วนอื่น รูปหน้า มือและเท้า ปรากฎให้เห็น ช่วงปลายเดือนถ้าอัลตรา ซาวด์จะเห็นการเคลื่อนไหวและจับการเต้นหัวใจได้ ทั้งมองเห็นสายรกโดยรกนี้ทาหน้าที่ เสมือนเป็นปอดแลกเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์กับออกซิเจนจากคุณแม่ และยังเป็น เสมือนสายใยที่คอยลาเลียงอาหารจากคุณแม่สู่ทารกในครรภ์อีกด้วย
  • 143.
  • 144. พัฒนาการ-ของทารกในครรภ์ช่วง9เดือนภายในครรภ์มารดา • ช่วงเดือนที่ 3 (หัวใจจะเป็นรูปเป็นร่างเต็มที่ ) ในเดือนที่ 3 โครงสร้างใบหน้าของทารก เริ่มสมบูรณ์ แต่เปลือกตายังปิดอยู่ การทางานของระบบสมอง และกล้ามเนื้อเริ่มมี ความสัมพันธ์กัน กล้ามเนื้อต่างๆ มีการเจริญเติบโต แขนขาเริ่มยืดออก และเคลื่อนไหว ได้ ข้อต่างๆ เริ่มเชื่อมต่อกัน นิ้วมือนิ้วเท้าสมบูรณ์ และเริ่มงอได้ ปลายนิ้วมีเล็บ ทารกจะ หัดดูดนิ้ว และเริ่มกลืนน้าคร่าได้ โดยตัวทารกนั้นจะลอยอยู่ในน้าคร่าภายมดลูก ซึ่ง น้าคร่านี้เองทาหน้าที่ปกป้องและห่อหุ้มทารกไม่ให้ได้รับความกระทบกระเทือน • ข้อพึงระมัดระวัง : ช่วงมีครรภ์ 3 เดือนแรกนี้ มีอัตราเสี่ยงในการแท้งค่อนข้างสูง ต้อง ดูแลตัวเองอย่างมาก และระมัดระวังเรื่องยาที่รับประทาน ถ้ามีความจาเป็นต้องใช้ยาควร ปรึกษาแพทย์ก่อน • ช่วงเดือนที่ 4 (การเติบโตของทารกที่ใกล้จะสมบูรณ์) เดือนที่ 4 ของการพัฒนาทารกใน ครรภ์ แขนและข้อต่อต่างๆ พัฒนาอย่างสมบูรณ์ กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงขึ้น ทารก สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างกระฉับกระเฉง แต่คุณแม่อาจจะยังไม่รู้สึกว่าลูกเคลื่อนไหว เริ่มมีขนอ่อนปกคลุมตามส่วนต่างๆ ของร่างกายทารก สามารถได้ยินเสียงหัวใจเต้น เริ่ม มีไตที่ทางานได้เหมือนผู้ใหญ่ นอกจากนี้ทารกยังมีจานวนเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ มากกว่าเดือนที่แล้วถึง 3 เท่า สามารถเตะ งอนิ้วมือนิ้วเท้า กลอกตาได้อวัยวะเพศพัฒนา มากขึ้นจนสามารถบอกได้ว่าเป็นเพศใด
  • 145.
  • 147.
  • 148. พัฒนาการของทารกในครรภ์ช่วง9เดือนภายในครรภ์มารดา • ช่วงเดือนที่ 5 ทารกเริ่มรู้สึกกับสิ่งแวดล้อมภายนอกได้ เดือนที่ 5 พัฒนาการของทารกในครรภ์ จะมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วระยะนี้คุณ แม่จะเริ่มรู้สึกแล้วว่าทารกดิ้นหรือมีการเคลื่อนไหวเป็นระยะๆโดยฟันจะถูกสร้าง ขึ้นมาแต่จะอยู่ใต้ขากรรไกรเริ่มมีผมบนศีรษะกล้ามเนื้อต่างๆมีความแข็งแรงมากขึ้น ทารกเคลื่อนไหวมากขึ้นลาตัวทารกช่วงนี้ยาวประมาณ 9 นิ้ว และร่างกายจะผลิตสาร สีขาวข้นที่เรียกว่า เวอร์นิกซ์ ขึ้นมาเคลือบเพื่อปกป้องผิว เส้นผม คิ้วและขนตาเริ่ม งอกเริ่มพัฒนาประสาทสัมผัสคือ รับรู้รส ได้กลิ่น และได้ยิน ตายังปิดอยู่แต่รับรู้แสง สว่างจ้าได้ ดังนั้นเวลาคุณพูดแกจะได้ยิน หรือเวลาที่คุณลูบท้องแกก็จะรู้สึกเช่นกัน ช่วงปลายเดือนนั้นทารกยังเริ่มถ่ายปัสสาวะลงสู่น้าคร่าได้อีกด้วย • ช่วงเดือนที่ 6 การตอบสนองของทารกชัดเจน ร่างกายของทารกเริ่มเติบ โตช้ากว่าเดิมเพื่อให้อวัยวะภายใน เช่น ปอด ระบบย่อย อาหารและระบบภูมิคุ้มกันได้พัฒนาอย่างเต็มที่ที่น่าอัศจรรย์ คือ ทารกสามารถ ควบคุมการเคลื่อนไหวทาให้คุณแม่รู้สึกได้โดยเฉพาะตอนนอนพักทารกสามารถได้ยิน เสียงหัวใจเต้น เสียงพูด เสียงดนตรี และสามารถตอบสนองการกระตุ้นของแม่ ทารก ในช่วงนี้อาจจะดูผอมบางเนื่องจากมีไขมันสะสมอยู่ใต้ผิวหนังน้อย
  • 149. พัฒนาการของทารกในครรภ์ช่วง9เดือนภายในครรภ์มารดา • ช่วงเดือนที่ 7 พัฒนาการพร้อมออกสู่โลกกว้าง ทารกในครรภ์เดือนที่ 7 มีการสร้างไขมาปกคลุมผิวหนัง ลาตัว เพื่อความ อบอุ่น และป้องกันผิวหนังจากน้า ปอดของทารกพัฒนาอย่างสมบูรณ์ เปลือกตาเริ่มเปิด และนัยน์ตาพัฒนาไปมากจนมองเห็นแสงที่ผ่านมาทาง หน้าทองแม่ได้ เสียงดังๆทาให้ทารกเคลื่อนไหว และการเต้นของหัวใจ เปลี่ยนไปตามเสียงและแสงไฟ ต่อมรับรสของทารกพัฒนาไปมาก ถ้าทารก เกิดคลอดออกมาช่วงเวลานี้จะมีโอกาสรอดค่อนข้างสูง เพราะอวัยวะสาคัญ ทั้งหลาย • ช่วงเดือนที่ 8 ทารกกลับตัวพร้อมออกมาลืมตาดูโลก เดือนที่ 8 แห่ง พัฒนาการของทารก ทารกจะมีขนาด และสัดส่วนใกล้เคียงกับเด็กแรกเกิด มีความแข็งแรงมากขึ้น ในช่วงนี้ทารกจะเริ่มกลับหัวเข้าสู่อุ้งเชิงกราน การ ดิ้นของทารกจะสามารถสังเกตเห็นได้จากหน้าทองของแม่ ช่วงนี้ก่อนคลอด หนึ่งเดือนคุณแม่อาจมีอาการมดลูกบีบรัดตัวซึ่งเป้นอาการที่ เรียกว่า เจ็บ ท้องหลอก การหดตัวรัดตัวนี้ก็เพื่อดันตัวทารก มาประชิดปากมดลุกเพื่อ เตรียมพร้อมที่จะคลอด
  • 150. พัฒนาการของทารกในครรภ์ช่วง9เดือนภายในครรภ์มารดา • ช่วงเดือนที่ 9 การเตรียมตัวเป็นคุณแม่ ในเดือนนี้ทารกจะอยู่ในท่าที่พร้อมจะคลอด เล็บมีการเจริญเติบโต และยาวครอบคลุมปลายนิ้ว ผมบน ศีรษะมีความยาวประมาณ 1-2 นิ้ว ถ้าเป็นครรภ์แรกศีรษะของทารกจะเคลื่อนเข้าไปอยู่ในอุ้งเชิงกราน ดังนั้นคุณแม่อาจคลอดตอนไหนก็ได้ในช่วงนี้ ทารกส่วนใหญ่จะคลอดตามกาหนดหรือช้าไป 2 สัปดาห์ หลังกาหนด
  • 151.
  • 152. การคลอดก่อนกาหนด (PretermLabor) • คือภาวะปากมดลูกเปิดที่เป็นผลมาจากการหดและขยายตัวของมดลูกในช่วงก่อนสัปดาห์ที่ 37 ของ การตั้งครรภ์ ซึ่งการตั้งครรภ์แบบครบกาหนดคลอดจะใช้เวลา37-40 สัปดาห์ การคลอดก่อนกาหนด จะส่งผลกระทบต่อทั้งมารดาและอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนต่อทารกได้ เช่น พบปัญหาเกี่ยวกับ กล้ามเนื้อที่ทาหน้าที่ดูดและกลืน มีเลือดออกในสมอง มีความเสี่ยงต่อการเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบและ ติดเชื้อ รวมไปถึงปัญหาในการทางานของไต เป็นต้น
  • 153. สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการคลอดก่อนกาหนด • มีประวัติการคลอดก่อนกาหนด * มีประวัติการแท้งลูก • ตั้งครรภ์แฝดหรือมีจานวนบุตรในครรภ์มากกว่า 1 คน • ตั้งครรภ์ตอนอายุต่ากว่า 18 ปีหรือมากกว่า 40 ปี ขึ้นไป • มีปัญหาเกี่ยวกับมดลูก มดลูกหรือปากมดลูกมีรูปร่างผิดปกติ หรือเคยตรวจพบชิ้นเนื้อที่ปากมดลูก • มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ เช่น ครรภ์เป็นพิษ หรือครรภ์เป็นพิษอย่างรุนแรง • มีเลือดออกที่ช่องคลอดระหว่างตั้งครรภ์ * มีความพิการเกิดขึ้นกับทารกในครรภ์ • ได้รับการดูแลในช่วงก่อนการคลอดน้อยเกินไปหรือไม่เคยฝากครรภ์ • ระยะการตั้งครรภ์จากบุตรคนที่ผ่านมาน้อยกว่า 6 เดือน * มีการสูบบุหรี่หรือใช้ยาเสพติด • มีการติดเชื้อ เช่น การติดเชื้อมะเร็งปากมดลูก สเตรปโตคอคคัสกรุ๊ปบี เทริโคโมแนส หรือช่องคลอดอักเสบจาก เชื้อพยาธิ รวมถึงการติดเชื้อจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น หนองในแท้ หนองในเทียม ซิฟิลิส • มีการใช้ยาคุมกาเนิดที่มีส่วนประกอบของ Diethylstilbestrol ระหว่างตั้งครรภ์ • มีประวัติของโรคโลหิตจาง โรคเบาหวาน โรคความดันเลือดสูง หรือโรคเหงือก • มีปัญหาเรื่องน้าหนักตัวมากเกินไปหรือน้อยเกินไป ก่อนหรือในช่วงการตั้งครรภ์ • เกิดการตั้งครรภ์ในระหว่างที่ใช้ห่วงอนามัย * มีความผิดปกติในน้าคร่า เช่น มีน้าคร่ามากเกินไป • ความเครียด ยกของหนัก หรือได้รับบาดเจ็บในระหว่างตั้งครรภ์
  • 154.
  • 155. การคลอด(Parturition) • การตั้งครรภ์ในคน กินเวลาประมาณ 270 วัน นับตั้งแต่การผสมของไข่ หรือ 284 วัน นับตั้งแต่ วันแรกของประจาเดือนครั้งสุดท้าย ในระยะสุดท้ายของการตั้งครรภ์ มดลูกจะบีบตัวเป็นครั้ง คราว และการบีบตัวนี้จะเกิดบ่อยขึ้น ในระยะนี้ กล้ามเนื้อมดลูกจะมีความไวในการตอบสนองต่อ ออกซิโทซิน (oxcytocin) มากขึ้น เมื่อเริ่มเจ็บท้อง ศีรษะของเด็กที่ดันขยายส่วนล่างของ มดลูก จะมีผลกระตุ้นให้มีการขับออกซิโทซินออกมามากขึ้น มีผลทาให้มดลูกบีบตัวแรงขึ้น ทา ให้เกิดการคลอดได้
  • 156.
  • 157.
  • 158.
  • 159.
  • 160.
  • 161.
  • 162.
  • 163. ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ • 1. ครรภ์เป็นพิษ หรือที่เรียกว่า Toxemia of Pregnancy มักมีอาการเมื่อตั้งครรภ์ได้ 5-6 เดือน ขึ้นไป จนกระทั่งหลังคลอดหนึ่งสัปดาห์ สาเหตุยังไม่ทราบแน่ชัด มักพบในครรภ์แรกครรภ์แฝด ครรภ์ ไข่ปลาอุกและในผู้หญิงที่เคยเป็นเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูงหรือโรคไตอยู่ก่อนภาวะครรภ์ เป็นพิษแบ่งเป็นสองชนิด ชนิดแรกผู้ป่ วยมีอาการบวมความดันโลหิตสูงและตรวจพบโปรตีนหรือไข่ ขาวในปัสสาวะอีกชนิดเป็นแบบร้ายแรงโดยจะมีอาการชักหรือหมดสติร่วมด้วยซึ่งเป็นอันตรายถึงกับ เสียชีวิตได้ • 2. ฝาแฝดตามปกติร่างกายของคนเรามีการตั้งครรภ์และคลอดทารกคราวละ 1 คน แต่บางกรณีร่างกาย ของคนเราอาจมีโอกาสตั้งครรภ์และคลอดทารกครั้งละมากกว่า 1 คน เรียกว่า “ ฝาแฝด” ซึ่งถือเป็น ความผิดปกติของการตั้งครรภ์แบบหนึ่ง ฝาแฝดมี 2 ประเภท คือ แฝดร่วมไข่ และ แฝดต่างไข่ • 3. การท้องนอกมดลูก มีบางครั้งที่เหตุการณ์ของการตั้งครรภ์ไม่ได้เป็นตามปกติกล่าวคือภายหลังการ ผสม ไข่ที่ถูกผสมไม่ อย่างไรก็ตามการตั้งครรภ์นอกมดลูกที่พบบ่อยที่สุดคือการตั้งครรภ์ที่ท่อนาไข่ สาหรับการตั้งครรภ์ที่รังไข่หรือช่องท้องพบได้น้อยมากได้เดินกลับมาฝังที่มดลูกบางรายฝังที่ท่อนาไข่ เลย เรียกว่า การตั้งครรภ์ที่ท่อนาไข่ บางรายไข่ที่ผสมแล้วกลับเดินทางต่อไปฝังตัวที่รังไข่ เรียกว่า การ ตั้งครรภ์ที่รังไข่ หรือบางรายไข่ที่ผสมแล้วหลุดจากท่อนาไข่แล้วไปฝังอยู่ในช่องท้องเรียกว่า การ ตั้งครรภ์ในช่องท้อง การตั้งครรภ์ต่างๆเหล่านี้คือการตั้งครรภ์นอกมดลูกหรือท้องนอกมดลูกทั้งสิ้น
  • 164. สาวมาด เมกะแดนซ์ ครรภ์เป็นพิษ หามส่งไอซียู การท้องนอกมดลูก
  • 165. ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ • 4. รกเกาะต่า ภาวะตกเลือดในสตรี ในช่วงท้าย ๆของการตั้งครรภ์ หรือการคลอด ส่วนใหญ่จะมาจากสาเหตุของ รกเกาะต่า ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องระวังและอาจเกิดได้ประมาณ 1ใน 200 การตั้งครรภ์ ภาวะรกเกาะต่า หรือ placenta previa (placenta=รก) หมายถึงภาวะ ที่การเกาะของรก เกาะต่าลงจากปกติที่อยู่สูงขึ้นไป ในมดลูก บางครั้ง เกาะต่าลงมาถึงปากช่องคลอด และทาให้เกิดปัญหา คือเลือดออกในช่วงที่ปากช่องคลอด ขยายตัว คือช่วงครึ่งหลัง (3-8 เดือน)ของการตั้งครรภ์ และถ้าเป็นมาก อาจทาให้ตกเลือด เด็กไม่สามารถคลอด ตามปกติ ต้องผ่า เพราะมีรกขวางอยู่
  • 166. การผ่าท้องทาคลอด(Caesareansection) หรือซี-เซกชัน(C-section)หรือซีซาร์ (Caesar) เป็นหัตถการทางศัลยศาสตร์กระทาโดยการผ่าที่บริเวณส่วน ท้องของมารดา(ผ่าท้องและผ่ามดลูก)เพื่อให้ทารกในครรภ์ คลอดมักทาเมื่อการคลอดทางช่องคลอดอาจเสี่ยงอันตรายต่อ สุขภาพหรือชีวิตของมารดาหรือเด็กแม้ในปัจจุบันจะมีการผ่า ท้องทาคลอดตามความประสงค์ของมารดามากขึ้นองค์การ อนามัยโลกแนะนาว่าอัตราการผ่าท้องทาคลอดควรทาต่อเมื่อมี ความจาเป็นทางการแพทย์เท่านั้นโดยปกติแล้วการผ่าท้องทา คลอดจะใช้เวลาประมาณ45นาทีถึงหนึ่งชั่วโมง
  • 167.
  • 168. ท้องลม หรือ ท้องหลอกเป็นภาษาพูด เพื่อให้เข้าใจง่าย ภาษาอังกฤษ คือ Blighted ovum หรือ Anembryonic pregnancy หมายถึง มีการตั้งครรภ์ในโพรงมดลูก แต่ไม่มีตัวทารก ในถุงการตั้งครรภ์ ในการตั้งครรภ์ปกติ เมื่อไข่ของฝ่ ายหญิงได้รับการปฏิสนธิกับเชื้ออสุจิของฝ่ ายชายที่ท่อนา ไข่ และค่อย ๆ เคลื่อนเข้าไปฝังตัวในโพรงมดลูก พร้อม ๆ กับไข่ที่ผสมแล้วมีการแบ่งเซลล์เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จน เป็นทารก แต่หากมีความผิดปกติจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เซลล์ที่เกิดจากการปฏิสนธิ ไม่สามารถ เจริญเติบโตไปเป็นตัวทารกในครรภ์ได้ หรือทาให้ทารกเสียชีวิตตั้ง แต่อายุครรภ์น้อยๆ ก็จะเกิดเป็น ‘ท้อง ลม หรือ ท้องหลอก อุบัติการณ์ที่แท้จริงของ ‘ท้องลม’ ไม่ทราบแน่ชัด เนื่องจากสตรีตั้งครรภ์อาจตั้งท้องลม และแท้งบุตรไปก่อนที่จะพบแพทย์ อย่างไรก็ตามพบว่า ประมาณ 50% ของการแท้งเองในไตรมาสที่ 1 (3 เดือนแรก) ของการตั้งครรภ์เกิดจากการตั้งท้องลม สาเหตุที่ทาให้เกิดท้องลม คือ 1.ความผิดปกติของโครโมโซมของไข่หรืออสุจิ ที่อาจเกิดเองตามธรรมชาติ หรือจากโรคต่างๆ 2.ความผิดปกติของการแบ่งเซลล์หลังจากที่ ได้รับการผสมแล้ว ซึ่งอาจจะมีสารพิษอย่างใด อย่างหนึ่งไปมีผลต่อกระบวนการนี้
  • 169. ครรภ์ไข่ปลาอุก (Molar pregnancy หรือ Hydatidiform mole) หมายถึง การตั้งครรภ์ที่ผิดปกติชนิดหนึ่งที่มี อาการเริ่มแรกเหมือนการตั้งครรภ์ทั่วไป คือ ประจาเดือน ขาดและมีอาการแพ้ท้อง (บางรายอาจมีอาการแพ้ท้องอย่าง รุนแรง คือ มีอาการคลื่นไส้อาเจียนมากกว่าปกติหลายเท่า) มีเลือดออกทางช่องคลอด แต่สีเลือดที่ออกมาจะไม่ใช่สีแดง สด แต่จะเป็นสีน้าตาลคล้า ๆ คล้ายเลือดเก่า (อาจจะออก เพียงเล็กน้อยหรือออกมากก็ได้ ซึ่งการมีเลือดออกในครรภ์ ไข่ปลาอุกนี้ก็เป็นการแท้งชนิดหนึ่งนั่นเอง)นอกจากจะมี เลือดออกมาแล้ว บางครั้งยังอาจมีเม็ดกลม ๆ ใส ๆ คล้ายกับ ไข่ปลาอุกหลุดปนออกมาทางช่องคลอดด้วย การตั้งครรภ์ชนิดนี้ส่วนใหญ่แล้วมักจะไม่มีตัวเด็กเนื่องจากตัวเด็ก ไม่เจริญเติบโตตั้งแต่อายุได้ 3-5 สัปดาห์แล้ว แต่ส่วนที่ออกมาให้เห็น เป็นเม็ด ๆ นั้น คือส่วนของเนื้อรกที่มีการเจริญผิดปกติจนกลายเป็นเนื้องอกคล้ายถุงน้าอยู่เต็มไปหมดภายในโพรงมดลูก ส่วนมากจะเป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้าย (Benign tumor) ที่ไม่มีอันตรายร้ายแรง มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นประมาณร้อย ละ 2 ที่อาจกลายเป็นเนื้อร้ายหรือมะเร็งเยื่อรก (Choriocarcinoma) ซึ่งอาจลุกลามและแพร่กระจายตามกระแส เลือดไปทั่วร่างกายได้ โดยโรคครรภ์ไข่ปลาอุกนี้มักเกิดขึ้นในระยะแรก ๆ ของการตั้งครรภ์หรือในช่วงประมาณสัปดาห์ที่ 10-16 ของการตั้งครรภ์
  • 170. การมีลูกแฝด(Twins) • เกิดจากการแบ่งเซลล์ ของไข่ที่ได้รับการผสมแล้วผิดปกติ หรือเกิดจากการสุกของไข่ ผิดปกติ ฝาแฝด แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. ฝาแฝดแท้ (Identical Twins) เกิดจากไข่ใบเดียวผสมกับอสุจิตัวเดียว แต่เมื่อมี การแบ่งเซลล์แล้ว เกิดแยก ออกเป็น 2 กลุ่ม ฝังตัวอยู่ในผนังมดลูกที่เดียวกัน ยีนเหมือนกัน เด็กเพศเดียวกัน หน้าเหมือนกัน 2. ฝาแฝดเทียม (Fraternal Twins) เกิดจากไข่ 2 ใบและอสุจิ 2 ตัวผสมกัน ฝังตัว ในผนังมดลูกคนละฝั่งกัน รก และถุงหุ้มตัวอ่อนแยกจากกัน แต่ละส่วนจะแบ่งเซลล์ด้วย ตัวเอง ยีนต่างกัน เด็กจะไม่ติดกัน อาจเป็นเพศเดียวกัน หรือ ต่างเพศ กันก็ได้
  • 171. สรุป : การเกิดฝาแฝด (Twin formation) มี 2 ประเภท คือ ฝาแฝดร่วมไข่ และฝาแฝดต่างไข่ 1. แฝดร่วมไข่ เป็นฝาแฝดที่เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์ไข่ 1 ใบ และอสุจิ 1 ตัว ขณะที่กาลัง เจริญเติบโตเอ็มบริโอมีการแบ่งเซลล์ เช่น จาก 1 เป็น 2 และแยกขาดออกจากัน แต่ละส่วนจะเจริญเติบโตเป็น ทารกที่มีอวัยวะครบสมบูรณ์จนกระทั่งคลอด แฝดประเภทนี้จะเป็นเพศเดียวกันเสมอมีรูปร่างลักษณะเหมือนกัน และถ้าได้รับการเลี้ยงดูในสภาพแวดล้อเดียวกันจะมีอุปนิสัยและความสามารถที่คล้ายกันมาก ในกรณีที่เอ็มบริโอ แบ่งตัว ออกเป็น 2 แต่ไม่แยกออกจากกัน เมื่อทารกเจริญเติบโตจะได้ทารกตัวติดกัน 2. แฝดต่างไข่ เป็นแฝดที่เกิดจากมีไข่สุกมากกว่า 1 ใบ ไข่แต่ละใบจะมีโอกาสเข้าผสมกับตัวอสุจิ แต่ละตัวและเกิดการปฏิสนธิในเวลาใกล้เคียงกัน จะได้เอ็มบริโอ เจริญเติบโตอยู่ภายในมดลูกเดียวกัน แต่แยกรก กันและทารกจะคลอดออกมาในเวลาใกล้เคียงกัน ฝาแฝดชนิดนี้อาจเป็นเพศเดียวกันหรือต่างเพศกันก็ได้ ส่วน หน้าตาและลักษณะทางพันธุกรรมจะมีลักษณะคล้ายกัน
  • 172.
  • 174.
  • 175. What is this twin type ?
  • 176. การแท้ง (Abortion) การแท้งบุตรหมายถึงการตั้งครรภ์ไม่สามารถดาเนินต่อ ทาให้เด็กออกมาก่อนกาหนดภายใน 20 สัปดาห์ของการการตั้งครรภ์ จากการศึกษาพบว่าร้อยละ 10-25 ของการตั้งครรภ์มีการแท้งโดยที่ไม่รู้ตัว การแท้งส่วนใหญ่จะเกิดในช่วง 13 สัปดาห์ของการตั้งครรภ์ ดังนั้นช่วงนี้เป็นช่วงที่คุณแม่ต้อง ดูแลตัวเอง โดยการลดความเสี่ยงของการแท้ง ภาวะสิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนถึงกาหนดคลอดตามปกติ เนื่องจากการตายของตัวอ่อนหรือทารก แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. การแท้งเอง (Spontaneous Abortion) เกิดจากความผิดปกติของตัวอ่อนเอง พบประมาณ 1 ใน 3 ของหญิงตั้งครรภ์ 2. การทาแท้งเพื่อการรักษา (Therapeutic Abortion) เป็นวิธีการทาเพื่อรักษาชีวิตของแม่ที่มีปัญหาด้านสุขภาพทางกาย หรือจิตใจ หรือเมื่อพบความผิดปกติของตัวอ่อน 3. การทาแท้งเพื่อการคุมกาเนิด ซึ่งเป็นการทาแท้งที่ใช้วิธี แตกต่างกันตามอายุทารก เช่น ช่วง 3 เดือนแรกใช้วิธีการดูดออก หลังจาก 3 เดือนขึ้นไป ใช้วิธีการถ่างขยายปากมดลูก และดูดออก เป็นต้น