SlideShare a Scribd company logo
รายงานโครงการ ผีเสื้อ : มากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา
กลุ่ม ผีเสื้อผจญภัย
(ประเด็นศึกษา: ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น)
รายชื่อสมาชิก
1.เด็กหญิงวิไลลักษณ์ ศุภนัด ม.3 6.เด็กหญิงอัญชิตา เจริญนนท์ ม.3
2.เด็กหญิงสุรางค์รัตน์ ภูโสภา ม.3 7.เด็กหญิงมัลลิกา ทาสุนา ม.2
3.นางสาวจุฬามาศ สิมลี ม.3 8.เด็กหญิงพิมพกานต์ สวัสดิ์ผล ม.2
4.เด็กหญิงปณิตา อาจสุนทร ม.3 9.เด็กชายธีรศักดิ์ จันทิศ ม.2
5.นางสาวรมณีย์ ทุมสิทธิ์ ม.3 10.เด็กชายนนท์ชัย ปัญญาบุตร ม.2
ครูที่ปรึกษาโครงการ : นางธีร์กัญญา พลนันท์ และนายศิริวุฒิ บัวสมาน
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานโครงการ ผีเสื้อ : มากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา
กลุ่ม ผีเสื้อผจญภัย
(ประเด็นศึกษา: ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น)
รายชื่อสมาชิก
1.เด็กหญิงวิไลลักษณ์ ศุภนัด ม.3
2.เด็กหญิงสุรางค์รัตน์ ภูโสภา ม.3
3.นางสาวจุฬามาศ สิมลี ม.3
4.เด็กหญิงปณิตา อาจสุนทร ม.3
5.นางสาวรมณีย์ ทุมสิทธิ์ ม.3
6.เด็กหญิงอัญชิตา เจริญนนท์ ม.3
7.เด็กหญิงมัลลิกา ทาสุนา ม.2
8.เด็กหญิงพิมพกานต์ สวัสดิ์ผล ม.2
9.เด็กชายธีรศักดิ์ จันทิศ ม.2
10.เด็กชายนนท์ชัย ปัญญาบุตร ม.2
ครูที่ปรึกษาโครงการ : นางธีร์กัญญา พลนันท์
นายศิริวุฒิ บัวสมาน
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
รายงาน เรื่อง “ผีเสื้อ : มากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา” (ประเด็นศึกษา: ความหลากหลาย
ทางชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น) นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายของผีเสื้อ
ความสัมพันธ์ของผีเสื้อในระบบนิเวศดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัด
ร้อยเอ็ด โดยนักสารวจกลุ่มผีเสื้อผจญภัย โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัด
ร้อยเอ็ด ในโครงการนักสารวจแห่งท้องทุ่งปีที่ 7 ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร จัดทาขึ้น
เพื่อรายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้ 4 ขั้นตอนของนักสารวจแห่งท้องทุ่ง ได้แก่
ขั้นค้นหา ขั้นสารวจ ขั้นอนุรักษ์ และขั้นแบ่งปัน
นักสารวจกลุ่มผีเสื้อผจญภัย ขอขอบพระคุณ ท่านพัชรินทร์ หยาดไธสง ผู้อานวยการโรงเรียน
ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ที่อนุญาตและอานวยความสะดวกในการศึกษา ขอขอบพระคุณ คุณครูธีร์กัญญา
พลนันท์ และคุณครูศิริวุฒิ บัวสมาน ซึ่งเป็นครูที่ปรึกษาให้คาแนะนาในการเรียนรู้เกี่ยวกับผีเสื้อ คณะ
ผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณะคุณครูโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยาทุกท่าน
ที่ให้กาลังใจในการสารวจ ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตรที่ให้การ
อบรม ดูแลและให้คาแนะนา ให้กาลังใจในการทางานนักสารวจอย่างสม่าเสมอ ขอขอบพระคุณนายก
องค์การบริหารส่วนตาบลสวนจิก คุณทองรัก สุทธิบาก กานันตาบลสวนจิก และคุณจรูญ ศรีทอง
ผู้ใหญ่บ้านสวนจิก ที่อนุญาตให้เข้าศึกษาในดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก ขอขอบพระคุณคุณ
เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้ที่ 2 จังหวัดขอนแก่นที่ให้การอบรมในโครงการ ค่ายนักกีฏวิทยาป่าไม้
ขอขอบพระคุณคุณเกรียงไกร สุวรรณภักดิ์ ที่ให้คาแนะนาเกี่ยวกับชื่อผีเสื้อ และขอขอบคุณทุกท่านที่
เกี่ยวข้องมา ณ โอกาสนี้
หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ คงมีประโยชน์หรือเป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับผีเสื้อใน
ท้องถิ่นต่อไป และหวังว่าคงมีผู้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
คณะผู้จัดทา
31 พฤศจิกายน 2558
ก
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
1. บทคัดย่อโครงการ 1
2. ที่มาและความสาคัญ 1
3. วัตถุประสงค์ 2
4. พื้นที่ดาเนินโครงการ 2
5. แผนการดาเนินงาน 5 เดือน 2
6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ 3
7. สรุปผลการดาเนินงาน 5
บรรณานุกรม 8
ภาคผนวก 9
- ภาคผนวก ก ภาพประกอบกระบวนการเรียนรู้ของนักสารวจฯ 4 ขั้นตอน 10-25
- ภาคผนวก ข อุปกรณ์ เครื่องมือ และแบบบันทึก 26-34
- ภาคผนวก ค ผลการศึกษา 35-66
- ภาคผนวก ง ผลงานนักเรียน ความรู้สึก ความประทับใจ 67-99
- ภาคผนวก จ ตัวอย่างหนังสือราชการ 100-167
ข
1. บทคัดย่อโครงการ “ผีเสื้อ : มากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา”
จากการที่กลุ่มผีเสื้อผจญภัย โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ได้ทาการสารวจผีเสื้อในดอนปู่ตา
สาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยวิธีแถบทางเดินสารวจผีเสื้อ (line
transect) ตามทางเดินในดอนปู่ตาฯ ในระหว่างเดือนสิงหาคม-ตุลาคม พ.ศ. 2558 เฉพาะช่วงกลางวัน
เก็บตัวอย่างโดยใช้สวิงโฉบและนับจานวน ตั้งแต่เวลา 10.00 – 12.00 น. (เดือนละ 1 ครั้ง) ปรากฏว่า
พบผีเสื้อกลางวัน จานวนทั้งสิ้น 5 วงศ์ 14 ชนิด 48 ตัว โดยวงศ์ที่พบจานวนชนิดผีเสื้อกลางวัน
มากที่สุด คือ วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) คิดเป็นร้อยละ 35.71 ส่วนชนิดผีเสื้อกลางวันที่พบมาก
ที่สุด คือ ผีเสื้อจรกาหนอนยี่โถ ผีเสื้อกะทกรกธรรมดา และผีเสื้อหางติ่งธรรมดา ตามลาดับ โดยแปลง
สารวจที่พบจานวนชนิดและจานวนผีเสื้อมากที่สุด คือ แปลงที่ 1 ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อยละ 78.57 และพบ
ผีเสื้อกลางคืน (Moths) ที่พบได้ในเวลากลางวัน จานวนทั้งสิ้น 4 วงศ์ 6 ชนิด 120 ตัว โดยวงศ์ที่พบจานวน
ชนิดผีเสื้อกลางคืนมากที่สุด คือ วงศ์ GEOMETRIDAE คิดเป็นร้อยละ 50.00 ของจานวนชนิดผีเสื้อกลางคืน
ทั้งหมด ส่วนชนิดผีเสื้อกลางคืนที่พบมากที่สุด คือ มอทราบปีกแหลม
พบความสัมพันธ์ของผีเสื้อในระบบนิเวศดอนปู่ ตาฯ 3 รูปแบบ คือ 1) ในระยะหนอนเป็น
ผู้บริโภคพืช (ศัตรูพืช) 2) ได้ประโยชน์ร่วมกันกับพืช โดยผีเสื้อได้น้าหวานจากดอกไม้และช่วยผสมเกสร
ให้กับพืช 3) เป็นผู้ถูกล่าโดยผู้ล่า เช่น นก แมงมุม และถูกเบียนโดยแตนเบียนในระยะหนอนและระยะ
ดักแด้เป็นต้น และพบว่า ผีเสื้อเป็นดัชนีบ่งชี้ถึงความหลากหลายของต้นไม้ ถ้ามีผีเสื้อหลากหลายชนิด แสดง
ว่ามีพืชอาหารหลากหลายชนิดเช่นกัน เพราะหนอนผีเสื้อแต่ละชนิดกินพืชอาหารแตกต่างกันและในระยะ
เต็มวัยผีเสื้อสามารถดูดน้าหวานจากดอกไม้ได้หลายชนิด ในขั้นอนุรักษ์ ได้จัดทาสวนอาหารหนอนและ
ผีเสื้อในโรงเรียนโดยปลูกพืชอาหารหนอนและผีเสื้อ จานวน 31 ชนิด และยังนากล้าไม้ไปปลูกที่ดอนปู่ตาฯ
สาหรับขั้นแบ่งปัน ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงและผ่าน Facebook จัดทา webpage ชื่อ
“ผีเสื้อผจญภัย” จัดทาหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กเกี่ยวกับผีเสื้อให้ผู้สนใจอ่านในห้องสมุดโรงเรียน ฟ้อนรา
2. ที่มาและความสาคัญ :
จากการที่รุ่นพี่กลุ่ม “พลพรรครักษ์ดอนปู่ตา” ได้ศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตเบื้องต้นใน
ดอนปู่ตา พบว่า มีสิ่งมีชีวิตมากมาก เช่น ต้นไม้ เห็ด และแมลง แต่ยังไม่ได้ศึกษาว่ามีแมลงชนิดใดบ้าง ซึ่ง
พวกเราก็มีความคิด ความสนใจในเรื่องของแมลงอยู่แล้ว ดังนั้น จึงรวมกลุ่มกันและได้ประชุมกันว่าจะศึกษา
เกี่ยวกับแมลงอะไร และได้มติว่าจะศึกษาเกี่ยวกับ “ผีเสื้อ” พวกเราจึงตั้งกลุ่มชื่อว่า “ผีเสื้อผจญภัย” เพื่อ
ศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อและความสัมพันธ์ของผีเสื้อในระบบนิเวศดอนปู่ตาฯ และช่วยกันอนุรักษ์
1
3. วัตถุประสงค์ :
1) เพื่อศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อในป่าดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอ
ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของผีเสื้อในระบบนิเวศดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอ
ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
3) เพื่อให้เกิดความรัก ความหวงแหน สร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ผีเสื้อ ต้นไม้และทรัพยากร
ธรรมชาติในท้องถิ่น
4. พื้นที่ดาเนินโครงการ :
ดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
5. แผนการดาเนินงาน 5 เดือน (ก.ค.-พ.ย. 2558) :
ตารางที่ 1.1 แผนการดาเนินงาน 5 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
1.ประชุมหาประเด็นและวางแผนการทาโครงการ
2.สืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผีเสื้อ
3. เรียนรู้เกี่ยวกับผีเสื้อที่ศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้ที่ 2 ขอนแก่น
4. เตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ แบบบันทึกการสารวจผีเสื้อ
5.ลงพื้นที่สารวจเบื้องต้นและวางแปลงสารวจ
6. ลงพื้นที่สารวจ บันทึกข้อมูล เก็บตัวอย่าง จาแนกชนิด อบแห้ง
และสรุปผลการสารวจ
7. ประชุมสรุปผลการสารวจและผลการศึกษาทั้งหมด
8.จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ผีเสื้อโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
9. ประชุมโครงการเพื่อทาการอนุรักษ์และแบ่งปัน
10. จัดทาป้ายอนุรักษ์ ปลูกพืชอาหารหนอนและแมลง
11. จัดทาสมุดเล่มเล็ก,แต่งเพลง,สรภัญญะ, เว็บเพจ
12. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับผีเสื้อในโรงเรียนและชุมชน
13.จัดทารายงานและรูปเล่มโครงการและส่งมอบให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง
2
6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ :
ขั้นที่ 1 การค้นหา
1.1 กลุ่มเรามีการปรึกษาสมาชิกในกลุ่มและครูที่ปรึกษา โดยมีการตกลงว่าต้องการศึกษาเกี่ยวกับ
อะไร (ผีเสื้อ)
1.2 มีการลงพื้นที่จริง เพื่อสารวจเกี่ยวกับผีเสื้อเบื้องต้นในดอนปู่ตา
1.3 ประชุมสมาชิกในกลุ่มระดมความคิดเห็นในการคัดเลือกพื้นที่เป้ าหมายและประเด็นที่เหมาะสม
และน่าสนใจที่สุด
1.4 ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมในประเด็นที่เกี่ยวกับผีเสื้อจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น เอกสาร
อินเทอร์เน็ตและอื่นๆ
ขั้นที่ 2 การสารวจ
2.1เมื่อได้รับอนุญาตให้เข้าสารวจแล้ว จึงลงพื้นที่สารวจภาคสนาม (เดือนละครั้ง) โดยสารวจ
เกี่ยวกับผีเสื้อที่มีอยู่ในดอนปู่ตา โดยการบันทึกและเก็บตัวอย่างผีเสื้อที่พบพร้อมบันทึกข้อมูลอย่างละเอียด
2.2 นาข้อมูลจากการสารวจมาวิเคราะห์สรุปผลและอภิปรายผล เพื่อประเมินความสอดคล้องของ
ข้อมูลที่รวบรวมได้รวมถึงตรวจสอบขอมูลจากการสารวจเพื่อเป็นหลักฐานในการอธิบายถึงผลการสารวจ
2.3 เขียนรายงานผลการสารวจ
3
ขั้นที่ 3 การอนุรักษ์
3.1 อนุรักษ์โดยการแต่งบทสรภัญญะเกี่ยวกับการอนุรักษ์ผีเสื้อในดอนปู่ตา
3.2 จัดทาสวนอาหารหนอนและผีเสื้อในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
3.3 นากล้าไม้ป่าท้องถิ่นที่เป็นพืชอาหารของผีเสื้อมาปลูกในบริเวณดอนปู่ตา
ขั้นที่ 4 การแบ่งปัน
4.1 จัดส่งรายงานผลการศึกษา สรภัญญะการอนุรักษ์ผีเสื้อในดอนปู่ตาให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เช่น โรงเรียน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้รับทราบข้อมูลต่างๆ ที่กลุ่มผีเสื้อผจญภัยได้สารวจและ
ค้นพบ
4.2 แลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้จากการดาเนินโครงการฯ กับเพื่อนๆ ครูอาจารย์เพื่อ
รณรงค์ให้เกิดความร่วมมือ ช่วยกันอนุรักษ์และดูแลในรูปแบบต่อไปนี้
4.2.1การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงและถ่าย Facebook กลุ่มผีเสื้อผจญภัย
4.2.2 นาเสนอข้อมูลการศึกษาโดยจัดทา Fan page "ผีเสื้อ:มากมายสีสันสานสัมพันธ์ใน
ดอนปู่ตา"
4.3 จัดทาหนังสือการ์ตูนเล่มเล็ก เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผีเสื้อในระบบนิเวศและดอนปู่ตาให้
ผู้ที่สนใจ
4.4 จัดสร้างพิพิธภัณฑ์ผีเสื้อในโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับผู้ที่สนใจ
4
7. สรุปผลการดาเนินงาน :
จากการที่กลุ่มผีเสื้อผจญภัย โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ได้ทาการสารวจผีเสื้อในดอนปู่ตา
สาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สารวจโดยวิธีแถบทางเดินสารวจผีเสื้อ
( line transect / butterfly transect ) ตามทางเดินในดอนปู่ตาฯ โดยกาหนดความกว้างแถบซ้ายขวาเท่ากัน คือ
ซ้าย 5 เมตร และขวา 5 เมตร ความยาวแถบเท่ากับ 200 เมตร โดยวางแปลงสารวจ จานวน 2 แปลง คือ
แปลงที่ 1 ป่าดิบชื้น และแปลงที่ 2 ป่าเต็งรัง (มีขนาดเท่ากัน คือ (5+5)เมตร x 200 เมตร = 2000 ตารางเมตร)
ใช้สวิงแถบละ 1 อันในการเก็บตัวอย่าง เดินสารวจในสองแถบสารวจจับผีเสื้อทุกตัวที่พบในแถบสารวจ
รัศมีข้างละ 5 เมตร และนับจานวน สารวจในช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม พ.ศ. 2558 เฉพาะช่วงกลางวัน
ตั้งแต่เวลา 10.00 – 12.00 น. (เดือนละ 1 ครั้ง) ปรากฏว่า
พบผีเสื้อกลางวัน จานวนทั้งสิ้น 5 วงศ์ 14 ชนิด 48 ตัว ได้แก่ วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่
(NYMPHALIDAE) 4 ชนิด 21 ตัว วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) 5 ชนิด 17 ตัว วงศ์ผีเสื้อขาว-
เหลือง (PIERIDAE) 3 ชนิด 8 ตัว วงศ์ผีเสื้อสีน้าเงิน (LYCAENIDAE) 1 ชนิด 1 ตัว และวงศ์ผีเสื้อบินเร็ว
(HESPERIIDAE) 1 ชนิด 1 ตัว โดยวงศ์ที่พบจานวนชนิดผีเสื้อกลางวันมากที่สุด คือ วงศ์ผีเสื้อหางติ่งและ
วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ ส่วนชนิดผีเสื้อกลางวันที่พบมากที่สุด คือ ผีเสื้อจรกาหนอนยี่โถ ผีเสื้อกะทกรกธรรมดา
และผีเสื้อหางติ่งธรรมดา ตามลาดับ โดยแปลงสารวจที่พบจานวนชนิดและจานวนผีเสื้อมากที่สุด คือ แปลง
ที่ 1 ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อยละ 78.57 ของจานวนชนิดผีเสื้อกลางวันทั้งหมด และคิดเป็นร้อยละ 60.42 ของ
จานวนผีเสื้อกลางวันทั้งหมด
พบผีเสื้อกลางคืน (Moths) ที่พบได้ในเวลากลางวัน จานวนทั้งสิ้น 4 วงศ์ 6 ชนิด 120 ตัว ได้แก่
วงศ์ GEOMETRIDAE 3 ชนิด 110 ตัว วงศ์ NOCTUIDAE 1 ชนิด 6 ตัว วงศ์ CRAMBIDAE 1 ชนิด 1
ตัว และวงศ์ URANIIDAE 1 ชนิด 3 ตัว โดยวงศ์ที่พบจานวนชนิดผีเสื้อกลางคืนมากที่สุด คือ วงศ์
GEOMETRIDAE คิดเป็นร้อยละ 50.00 ของจานวนชนิดผีเสื้อกลางคืนทั้งหมด ตามลาดับ ส่วนชนิดผีเสื้อ
กลางคืนที่พบมากที่สุด คือ มอทราบปีกแหลม มอทลายเสือแถบกว้าง และมอทค้างคาว ตามลาดับ โดย
แปลงสารวจที่พบจานวนผีเสื้อกลางคืนมากที่สุด คือ แปลงที่ 1 ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อยละ 52.50 ของจานวน
ผีเสื้อกลางคืนทั้งหมด (ข้อมูลดังตารางที่ 1 และในภาคผนวก ค)
พบผีเสื้อในแปลงทางเดินสารวจที่ 1 (ป่าดิบแล้ง) มากกว่า แปลงทางเดินสารวจที่ 2 แต่ไม่แตกต่าง
กันมากนัก
5
ตารางที่ 1 สรุปผลการสารวจผีเสื้อกลางวันในดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก
อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
ที่ วงศ์ ชนิด จานวน (ตัว) หมายเหตุ
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
1 NYMPHALIDAE 4 28.57 21 43.75 ผีเสื้อกลางวัน
2 PAPILIONIDAE 5 35.71 17 35.42 ผีเสื้อกลางวัน
3 PIERIDAE 3 21.43 8 16.67 ผีเสื้อกลางวัน
4 LYCAENIDAE 1 7.14 1 2.08 ผีเสื้อกลางวัน
5 HESPERIIDAE 1 7.14 1 2.08 ผีเสื้อบินเร็ว
รวม 14 100 48 100
ที่ วงศ์ ชนิด จานวน (ตัว) หมายเหตุ
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
1 GEOMETRIDAE 3 50.00 110 91.67 ผีเสื้อกลางคืน
2 NOCTUIDAE 1 16.67 6 5.00 ผีเสื้อกลางคืน
3 CRAMBIDAE 1 16.67 1 0.83 ผีเสื้อกลางคืน
4 URANIIDAE 1 16.67 3 2.50 ผีเสื้อกลางคืน
รวม 6 100 120 100
6
จากการศึกษาวงจรชีวิตของผีเสื้อกะทกรกธรรมดา พบว่า ระยะไข่  ตัวหนอน ใช้เวลา 5 วัน
ระยะตัวหนอนดักแด้ ใช้เวลา 21 วัน ระยะดักแด้ ตัวเต็มวัย ใช้เวลา 13 วัน
และจากการศึกษาวงจรชีวิตของผีเสื้อหางตุ้มจุดชมพู พบว่า ระยะไข่  ตัวหนอน ใช้เวลา 6 วัน ระยะ
ตัวหนอนดักแด้ ใช้เวลา 14 วัน ระยะดักแด้ ตัวเต็มวัย ใช้เวลา 7 วัน
พบความสัมพันธ์ของผีเสื้อในระบบนิเวศดอนปู่ ตาฯ 3 รูปแบบ คือ 1) ในระยะหนอนเป็น
ผู้บริโภคพืช (ศัตรูพืช) 2) ได้ประโยชน์ร่วมกันกับพืช โดยผีเสื้อได้น้าหวานจากดอกไม้และช่วยผสมเกสร
ให้กับพืช 3) เป็นผู้ถูกล่าโดยผู้ล่า เช่น นก แมงมุม และถูกเบียนโดยแตนเบียนในระยะหนอนและระยะ
ดักแด้เป็นต้น และพบว่า ผีเสื้อเป็นดัชนีบ่งชี้ถึงความหลากหลายของต้นไม้ ถ้ามีผีเสื้อหลากหลายชนิด แสดง
ว่ามีพืชอาหารหลากหลายชนิดเช่นกัน เพราะหนอนผีเสื้อแต่ละชนิดกินพืชอาหารแตกต่างกันและในระยะ
เต็มวัยผีเสื้อสามารถดูดน้าหวานจากดอกไม้ได้หลายชนิด
ในขั้นอนุรักษ์ ได้จัดทาสวนอาหารหนอนและผีเสื้อในโรงเรียนและได้ปลูกพืชอาหารหนอนและ
ผีเสื้อ จานวน 31 ชนิด ได้แก่ กระเช้าสีดา กระโดน กล้วย กัลปพฤกษ์ กุ่มบก เข็ม ขนุน ขี้เหล็ก จาปา
ชะอม แดง ติ้ว น้อยหน่า ฝรั่ง พุทรา มะกรูด มะกล่าต้น มะค่าโมง มะตูม มะนาว มะม่วง มะสัง
รางจืด คูน เสาวรส หวาย ส้มโอ บานบุรีเหลือง ชบา พุด และกุหลาบ เป็นต้น และยังนากล้าไม้ไปปลูก
ที่ดอนปู่ตาฯ
สาหรับขั้นแบ่งปัน ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงและผ่าน Facebook กลุ่มนักสารวจ ศ.
พ.ว. และกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา และคุณเกรียงไกร สุวรรณภักดิ์ นาเสนอข้อมูลการศึกษาเกี่ยวกับผีเสื้อ
โดยจัดทา webpage ชื่อ “ผีเสื้อผจญภัย” จัดทาหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กเกี่ยวกับผีเสื้อให้ผู้สนใจอ่านใน
ห้องสมุดโรงเรียน ฟ้ อนราเพลงผีเสื้อตอมดอกไม้ แสดงตัวอย่างผีเสื้อในงานประเมินสถานศึกษาดีเด่นเพื่อ
รับรางวัลพระราชทาน และจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ผีเสื้อ ที่ห้องปฏิบัติการธรรมชาติวิทยา โรงเรียนศรีสมเด็จ
พิมพ์พัฒนาวิทยา เป็นต้น
7
29%
36%
21%
7%
7%
NYMPHALIDAE
PAPILIONIDAE
PIERIDAE
LYCAENIDAE
HESPERIIDAE
50%
16%
17%
17%
GEOMETRIDAE
NOCTUIDAE
CRAMBIDAE
URANIIDAE
บรรณานุกรม
เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. 2555. Photographic Guide to Moths in Thailland. สมุทรปราการฯ: BNEC.
64 หน้า.
__________________. 2556. Thailland Butterfly Guide. กรุงเทพฯ: สารคดี. 336 หน้า.
__________________. 2540. ผีเสื้อ. กรุงเทพฯ: สารคดี 149 หน้า.
จารุจินต์ นภีตะภัฏ และเกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. 2544. คู่มือดูผีเสื้อในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: วนา.
320 หน้า.
นิดดา หงษ์วิวัฒน์. 2554. ผีเสื้อแสนสวย. กรุงเทพฯ: คติ. 176 หน้า.
พิสุทธิ์ เอกอานวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สาคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง
แอนด์พับลิชชิ่ง. 592 หน้า.
__________________.2552. ผีเสื้อกลางวัน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 33 หน้า.
ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.2542. บทปฏิบัติการกีฏวิทยาเบื้องต้น.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ลินคอร์น โปรโมชั่น. 266 หน้า.
มูลนิธิมหาวิทยาลัยมมหิดล. 2548. สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 5 สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน. กรุงเทพฯ:
อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 192 หน้า.
วิโรจน์ เกสรบัว และประนอม จันทรโณทัย. 2554. พรรณไม้โคกภูตากา. ขอนแก่น:
โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. 131 หน้า.
สราวุธ คลอวุฒิมันต์, พัชนี วิชิตพันธุ์ และประภา โซ๊ะสลาม. 2555. ปฏิบัติการนิเวศวิทยา. กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 212 หน้า.
สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช.2557. คู่มือผีเสื้อเขตสงวนชีวมณฑลห้วยทาก จังหวัดลาปาง.
กรุงเทพฯ: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช. 178 หน้า.
สุจิตรา กลิ่นเกษร, บรรณาธิการ.2555. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม 7.
พิมพ์ครั้งที่ 8.กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. 192หน้า.
8
ภาคผนวก
“พวกเราค้นหา สารวจ อนุรักษ์ และแบ่งปัน เพื่อให้รับรู้
เห็นความสาคัญ ตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์
เพื่อให้ช่วยกันอนุรักษ์ผีเสื้อ ต้นไม้
และทรัพยากรธรรมชาติ
ในดอนปู่ ตาฯ
ให้คงอยู่คู่ชุมชนและลูกหลานตลอดไป”

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
Blackrab Chiba
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
Sircom Smarnbua
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
พัน พัน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
Thitaree Samphao
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
ธนัชพร ส่งงาน
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
Female'PiAtip BoOn Paeng
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
krulef1805
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
NoeyWipa
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 

What's hot (20)

แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 

Viewers also liked

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
Sircom Smarnbua
 
วงจรผีเสือ
วงจรผีเสือวงจรผีเสือ
วงจรผีเสือsutthirat
 
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำสื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำsavokclash
 
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อPresentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อfonrin
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์krutitirut
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขแผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขkrutitirut
 
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัยงานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัยsavokclash
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์krutitirut
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)Slitip Pimkad
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
ชัชจิรา จำปาทอง
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาAttaporn Ninsuwan
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
krutitirut
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 

Viewers also liked (17)

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
 
วงจรผีเสือ
วงจรผีเสือวงจรผีเสือ
วงจรผีเสือ
 
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำสื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
 
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อPresentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขแผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
 
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัยงานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 

Similar to รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด

รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
Sircom Smarnbua
 
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
Sircom Smarnbua
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
chirapa
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพโปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
tanasak sornprom
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
cherdpr1
 
Mini book animal group 10
Mini book animal group 10Mini book animal group 10
Mini book animal group 10
PhodsathornBhupraser
 
Minibookanimalgroup10
Minibookanimalgroup10Minibookanimalgroup10
Minibookanimalgroup10
PhodsathornBhupraser
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
พัน พัน
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
kkrunuch
 
Mosquito kraben snake
Mosquito kraben snakeMosquito kraben snake
Mosquito kraben snake
lilyatc
 

Similar to รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด (20)

รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
 
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพโปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
โปสเตอร์ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
เห็ดพิษ
เห็ดพิษเห็ดพิษ
เห็ดพิษ
 
Mini book animal group 10
Mini book animal group 10Mini book animal group 10
Mini book animal group 10
 
Minibookanimalgroup10
Minibookanimalgroup10Minibookanimalgroup10
Minibookanimalgroup10
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
Insect
InsectInsect
Insect
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
Mosquito kraben snake
Mosquito kraben snakeMosquito kraben snake
Mosquito kraben snake
 

More from Sircom Smarnbua

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
Sircom Smarnbua
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
Sircom Smarnbua
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
Sircom Smarnbua
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
Sircom Smarnbua
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Sircom Smarnbua
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Sircom Smarnbua
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
Sircom Smarnbua
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
Sircom Smarnbua
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
Sircom Smarnbua
 

More from Sircom Smarnbua (20)

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด

  • 1. รายงานโครงการ ผีเสื้อ : มากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา กลุ่ม ผีเสื้อผจญภัย (ประเด็นศึกษา: ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น) รายชื่อสมาชิก 1.เด็กหญิงวิไลลักษณ์ ศุภนัด ม.3 6.เด็กหญิงอัญชิตา เจริญนนท์ ม.3 2.เด็กหญิงสุรางค์รัตน์ ภูโสภา ม.3 7.เด็กหญิงมัลลิกา ทาสุนา ม.2 3.นางสาวจุฬามาศ สิมลี ม.3 8.เด็กหญิงพิมพกานต์ สวัสดิ์ผล ม.2 4.เด็กหญิงปณิตา อาจสุนทร ม.3 9.เด็กชายธีรศักดิ์ จันทิศ ม.2 5.นางสาวรมณีย์ ทุมสิทธิ์ ม.3 10.เด็กชายนนท์ชัย ปัญญาบุตร ม.2 ครูที่ปรึกษาโครงการ : นางธีร์กัญญา พลนันท์ และนายศิริวุฒิ บัวสมาน โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. รายงานโครงการ ผีเสื้อ : มากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา กลุ่ม ผีเสื้อผจญภัย (ประเด็นศึกษา: ความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น) รายชื่อสมาชิก 1.เด็กหญิงวิไลลักษณ์ ศุภนัด ม.3 2.เด็กหญิงสุรางค์รัตน์ ภูโสภา ม.3 3.นางสาวจุฬามาศ สิมลี ม.3 4.เด็กหญิงปณิตา อาจสุนทร ม.3 5.นางสาวรมณีย์ ทุมสิทธิ์ ม.3 6.เด็กหญิงอัญชิตา เจริญนนท์ ม.3 7.เด็กหญิงมัลลิกา ทาสุนา ม.2 8.เด็กหญิงพิมพกานต์ สวัสดิ์ผล ม.2 9.เด็กชายธีรศักดิ์ จันทิศ ม.2 10.เด็กชายนนท์ชัย ปัญญาบุตร ม.2 ครูที่ปรึกษาโครงการ : นางธีร์กัญญา พลนันท์ นายศิริวุฒิ บัวสมาน โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. คานา รายงาน เรื่อง “ผีเสื้อ : มากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา” (ประเด็นศึกษา: ความหลากหลาย ทางชีวภาพและระบบนิเวศในท้องถิ่น) นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายของผีเสื้อ ความสัมพันธ์ของผีเสื้อในระบบนิเวศดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัด ร้อยเอ็ด โดยนักสารวจกลุ่มผีเสื้อผจญภัย โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัด ร้อยเอ็ด ในโครงการนักสารวจแห่งท้องทุ่งปีที่ 7 ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร จัดทาขึ้น เพื่อรายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้ 4 ขั้นตอนของนักสารวจแห่งท้องทุ่ง ได้แก่ ขั้นค้นหา ขั้นสารวจ ขั้นอนุรักษ์ และขั้นแบ่งปัน นักสารวจกลุ่มผีเสื้อผจญภัย ขอขอบพระคุณ ท่านพัชรินทร์ หยาดไธสง ผู้อานวยการโรงเรียน ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ที่อนุญาตและอานวยความสะดวกในการศึกษา ขอขอบพระคุณ คุณครูธีร์กัญญา พลนันท์ และคุณครูศิริวุฒิ บัวสมาน ซึ่งเป็นครูที่ปรึกษาให้คาแนะนาในการเรียนรู้เกี่ยวกับผีเสื้อ คณะ ผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณะคุณครูโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยาทุกท่าน ที่ให้กาลังใจในการสารวจ ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตรที่ให้การ อบรม ดูแลและให้คาแนะนา ให้กาลังใจในการทางานนักสารวจอย่างสม่าเสมอ ขอขอบพระคุณนายก องค์การบริหารส่วนตาบลสวนจิก คุณทองรัก สุทธิบาก กานันตาบลสวนจิก และคุณจรูญ ศรีทอง ผู้ใหญ่บ้านสวนจิก ที่อนุญาตให้เข้าศึกษาในดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก ขอขอบพระคุณคุณ เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้ที่ 2 จังหวัดขอนแก่นที่ให้การอบรมในโครงการ ค่ายนักกีฏวิทยาป่าไม้ ขอขอบพระคุณคุณเกรียงไกร สุวรรณภักดิ์ ที่ให้คาแนะนาเกี่ยวกับชื่อผีเสื้อ และขอขอบคุณทุกท่านที่ เกี่ยวข้องมา ณ โอกาสนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ คงมีประโยชน์หรือเป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับผีเสื้อใน ท้องถิ่นต่อไป และหวังว่าคงมีผู้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น คณะผู้จัดทา 31 พฤศจิกายน 2558 ก
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข 1. บทคัดย่อโครงการ 1 2. ที่มาและความสาคัญ 1 3. วัตถุประสงค์ 2 4. พื้นที่ดาเนินโครงการ 2 5. แผนการดาเนินงาน 5 เดือน 2 6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ 3 7. สรุปผลการดาเนินงาน 5 บรรณานุกรม 8 ภาคผนวก 9 - ภาคผนวก ก ภาพประกอบกระบวนการเรียนรู้ของนักสารวจฯ 4 ขั้นตอน 10-25 - ภาคผนวก ข อุปกรณ์ เครื่องมือ และแบบบันทึก 26-34 - ภาคผนวก ค ผลการศึกษา 35-66 - ภาคผนวก ง ผลงานนักเรียน ความรู้สึก ความประทับใจ 67-99 - ภาคผนวก จ ตัวอย่างหนังสือราชการ 100-167 ข
  • 5. 1. บทคัดย่อโครงการ “ผีเสื้อ : มากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ ตา” จากการที่กลุ่มผีเสื้อผจญภัย โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ได้ทาการสารวจผีเสื้อในดอนปู่ตา สาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยวิธีแถบทางเดินสารวจผีเสื้อ (line transect) ตามทางเดินในดอนปู่ตาฯ ในระหว่างเดือนสิงหาคม-ตุลาคม พ.ศ. 2558 เฉพาะช่วงกลางวัน เก็บตัวอย่างโดยใช้สวิงโฉบและนับจานวน ตั้งแต่เวลา 10.00 – 12.00 น. (เดือนละ 1 ครั้ง) ปรากฏว่า พบผีเสื้อกลางวัน จานวนทั้งสิ้น 5 วงศ์ 14 ชนิด 48 ตัว โดยวงศ์ที่พบจานวนชนิดผีเสื้อกลางวัน มากที่สุด คือ วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) คิดเป็นร้อยละ 35.71 ส่วนชนิดผีเสื้อกลางวันที่พบมาก ที่สุด คือ ผีเสื้อจรกาหนอนยี่โถ ผีเสื้อกะทกรกธรรมดา และผีเสื้อหางติ่งธรรมดา ตามลาดับ โดยแปลง สารวจที่พบจานวนชนิดและจานวนผีเสื้อมากที่สุด คือ แปลงที่ 1 ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อยละ 78.57 และพบ ผีเสื้อกลางคืน (Moths) ที่พบได้ในเวลากลางวัน จานวนทั้งสิ้น 4 วงศ์ 6 ชนิด 120 ตัว โดยวงศ์ที่พบจานวน ชนิดผีเสื้อกลางคืนมากที่สุด คือ วงศ์ GEOMETRIDAE คิดเป็นร้อยละ 50.00 ของจานวนชนิดผีเสื้อกลางคืน ทั้งหมด ส่วนชนิดผีเสื้อกลางคืนที่พบมากที่สุด คือ มอทราบปีกแหลม พบความสัมพันธ์ของผีเสื้อในระบบนิเวศดอนปู่ ตาฯ 3 รูปแบบ คือ 1) ในระยะหนอนเป็น ผู้บริโภคพืช (ศัตรูพืช) 2) ได้ประโยชน์ร่วมกันกับพืช โดยผีเสื้อได้น้าหวานจากดอกไม้และช่วยผสมเกสร ให้กับพืช 3) เป็นผู้ถูกล่าโดยผู้ล่า เช่น นก แมงมุม และถูกเบียนโดยแตนเบียนในระยะหนอนและระยะ ดักแด้เป็นต้น และพบว่า ผีเสื้อเป็นดัชนีบ่งชี้ถึงความหลากหลายของต้นไม้ ถ้ามีผีเสื้อหลากหลายชนิด แสดง ว่ามีพืชอาหารหลากหลายชนิดเช่นกัน เพราะหนอนผีเสื้อแต่ละชนิดกินพืชอาหารแตกต่างกันและในระยะ เต็มวัยผีเสื้อสามารถดูดน้าหวานจากดอกไม้ได้หลายชนิด ในขั้นอนุรักษ์ ได้จัดทาสวนอาหารหนอนและ ผีเสื้อในโรงเรียนโดยปลูกพืชอาหารหนอนและผีเสื้อ จานวน 31 ชนิด และยังนากล้าไม้ไปปลูกที่ดอนปู่ตาฯ สาหรับขั้นแบ่งปัน ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงและผ่าน Facebook จัดทา webpage ชื่อ “ผีเสื้อผจญภัย” จัดทาหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กเกี่ยวกับผีเสื้อให้ผู้สนใจอ่านในห้องสมุดโรงเรียน ฟ้อนรา 2. ที่มาและความสาคัญ : จากการที่รุ่นพี่กลุ่ม “พลพรรครักษ์ดอนปู่ตา” ได้ศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตเบื้องต้นใน ดอนปู่ตา พบว่า มีสิ่งมีชีวิตมากมาก เช่น ต้นไม้ เห็ด และแมลง แต่ยังไม่ได้ศึกษาว่ามีแมลงชนิดใดบ้าง ซึ่ง พวกเราก็มีความคิด ความสนใจในเรื่องของแมลงอยู่แล้ว ดังนั้น จึงรวมกลุ่มกันและได้ประชุมกันว่าจะศึกษา เกี่ยวกับแมลงอะไร และได้มติว่าจะศึกษาเกี่ยวกับ “ผีเสื้อ” พวกเราจึงตั้งกลุ่มชื่อว่า “ผีเสื้อผจญภัย” เพื่อ ศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อและความสัมพันธ์ของผีเสื้อในระบบนิเวศดอนปู่ตาฯ และช่วยกันอนุรักษ์ 1
  • 6. 3. วัตถุประสงค์ : 1) เพื่อศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อในป่าดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอ ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของผีเสื้อในระบบนิเวศดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอ ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 3) เพื่อให้เกิดความรัก ความหวงแหน สร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ผีเสื้อ ต้นไม้และทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่น 4. พื้นที่ดาเนินโครงการ : ดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 5. แผนการดาเนินงาน 5 เดือน (ก.ค.-พ.ย. 2558) : ตารางที่ 1.1 แผนการดาเนินงาน 5 เดือน รายละเอียดกิจกรรม ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. 1.ประชุมหาประเด็นและวางแผนการทาโครงการ 2.สืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผีเสื้อ 3. เรียนรู้เกี่ยวกับผีเสื้อที่ศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้ที่ 2 ขอนแก่น 4. เตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ แบบบันทึกการสารวจผีเสื้อ 5.ลงพื้นที่สารวจเบื้องต้นและวางแปลงสารวจ 6. ลงพื้นที่สารวจ บันทึกข้อมูล เก็บตัวอย่าง จาแนกชนิด อบแห้ง และสรุปผลการสารวจ 7. ประชุมสรุปผลการสารวจและผลการศึกษาทั้งหมด 8.จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ผีเสื้อโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 9. ประชุมโครงการเพื่อทาการอนุรักษ์และแบ่งปัน 10. จัดทาป้ายอนุรักษ์ ปลูกพืชอาหารหนอนและแมลง 11. จัดทาสมุดเล่มเล็ก,แต่งเพลง,สรภัญญะ, เว็บเพจ 12. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับผีเสื้อในโรงเรียนและชุมชน 13.จัดทารายงานและรูปเล่มโครงการและส่งมอบให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 2
  • 7. 6. วิธีการดาเนินงาน 4 ขั้นตอนนักสารวจ : ขั้นที่ 1 การค้นหา 1.1 กลุ่มเรามีการปรึกษาสมาชิกในกลุ่มและครูที่ปรึกษา โดยมีการตกลงว่าต้องการศึกษาเกี่ยวกับ อะไร (ผีเสื้อ) 1.2 มีการลงพื้นที่จริง เพื่อสารวจเกี่ยวกับผีเสื้อเบื้องต้นในดอนปู่ตา 1.3 ประชุมสมาชิกในกลุ่มระดมความคิดเห็นในการคัดเลือกพื้นที่เป้ าหมายและประเด็นที่เหมาะสม และน่าสนใจที่สุด 1.4 ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมในประเด็นที่เกี่ยวกับผีเสื้อจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น เอกสาร อินเทอร์เน็ตและอื่นๆ ขั้นที่ 2 การสารวจ 2.1เมื่อได้รับอนุญาตให้เข้าสารวจแล้ว จึงลงพื้นที่สารวจภาคสนาม (เดือนละครั้ง) โดยสารวจ เกี่ยวกับผีเสื้อที่มีอยู่ในดอนปู่ตา โดยการบันทึกและเก็บตัวอย่างผีเสื้อที่พบพร้อมบันทึกข้อมูลอย่างละเอียด 2.2 นาข้อมูลจากการสารวจมาวิเคราะห์สรุปผลและอภิปรายผล เพื่อประเมินความสอดคล้องของ ข้อมูลที่รวบรวมได้รวมถึงตรวจสอบขอมูลจากการสารวจเพื่อเป็นหลักฐานในการอธิบายถึงผลการสารวจ 2.3 เขียนรายงานผลการสารวจ 3
  • 8. ขั้นที่ 3 การอนุรักษ์ 3.1 อนุรักษ์โดยการแต่งบทสรภัญญะเกี่ยวกับการอนุรักษ์ผีเสื้อในดอนปู่ตา 3.2 จัดทาสวนอาหารหนอนและผีเสื้อในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 3.3 นากล้าไม้ป่าท้องถิ่นที่เป็นพืชอาหารของผีเสื้อมาปลูกในบริเวณดอนปู่ตา ขั้นที่ 4 การแบ่งปัน 4.1 จัดส่งรายงานผลการศึกษา สรภัญญะการอนุรักษ์ผีเสื้อในดอนปู่ตาให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงเรียน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้รับทราบข้อมูลต่างๆ ที่กลุ่มผีเสื้อผจญภัยได้สารวจและ ค้นพบ 4.2 แลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้จากการดาเนินโครงการฯ กับเพื่อนๆ ครูอาจารย์เพื่อ รณรงค์ให้เกิดความร่วมมือ ช่วยกันอนุรักษ์และดูแลในรูปแบบต่อไปนี้ 4.2.1การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงและถ่าย Facebook กลุ่มผีเสื้อผจญภัย 4.2.2 นาเสนอข้อมูลการศึกษาโดยจัดทา Fan page "ผีเสื้อ:มากมายสีสันสานสัมพันธ์ใน ดอนปู่ตา" 4.3 จัดทาหนังสือการ์ตูนเล่มเล็ก เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผีเสื้อในระบบนิเวศและดอนปู่ตาให้ ผู้ที่สนใจ 4.4 จัดสร้างพิพิธภัณฑ์ผีเสื้อในโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับผู้ที่สนใจ 4
  • 9. 7. สรุปผลการดาเนินงาน : จากการที่กลุ่มผีเสื้อผจญภัย โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ได้ทาการสารวจผีเสื้อในดอนปู่ตา สาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สารวจโดยวิธีแถบทางเดินสารวจผีเสื้อ ( line transect / butterfly transect ) ตามทางเดินในดอนปู่ตาฯ โดยกาหนดความกว้างแถบซ้ายขวาเท่ากัน คือ ซ้าย 5 เมตร และขวา 5 เมตร ความยาวแถบเท่ากับ 200 เมตร โดยวางแปลงสารวจ จานวน 2 แปลง คือ แปลงที่ 1 ป่าดิบชื้น และแปลงที่ 2 ป่าเต็งรัง (มีขนาดเท่ากัน คือ (5+5)เมตร x 200 เมตร = 2000 ตารางเมตร) ใช้สวิงแถบละ 1 อันในการเก็บตัวอย่าง เดินสารวจในสองแถบสารวจจับผีเสื้อทุกตัวที่พบในแถบสารวจ รัศมีข้างละ 5 เมตร และนับจานวน สารวจในช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม พ.ศ. 2558 เฉพาะช่วงกลางวัน ตั้งแต่เวลา 10.00 – 12.00 น. (เดือนละ 1 ครั้ง) ปรากฏว่า พบผีเสื้อกลางวัน จานวนทั้งสิ้น 5 วงศ์ 14 ชนิด 48 ตัว ได้แก่ วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (NYMPHALIDAE) 4 ชนิด 21 ตัว วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) 5 ชนิด 17 ตัว วงศ์ผีเสื้อขาว- เหลือง (PIERIDAE) 3 ชนิด 8 ตัว วงศ์ผีเสื้อสีน้าเงิน (LYCAENIDAE) 1 ชนิด 1 ตัว และวงศ์ผีเสื้อบินเร็ว (HESPERIIDAE) 1 ชนิด 1 ตัว โดยวงศ์ที่พบจานวนชนิดผีเสื้อกลางวันมากที่สุด คือ วงศ์ผีเสื้อหางติ่งและ วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ ส่วนชนิดผีเสื้อกลางวันที่พบมากที่สุด คือ ผีเสื้อจรกาหนอนยี่โถ ผีเสื้อกะทกรกธรรมดา และผีเสื้อหางติ่งธรรมดา ตามลาดับ โดยแปลงสารวจที่พบจานวนชนิดและจานวนผีเสื้อมากที่สุด คือ แปลง ที่ 1 ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อยละ 78.57 ของจานวนชนิดผีเสื้อกลางวันทั้งหมด และคิดเป็นร้อยละ 60.42 ของ จานวนผีเสื้อกลางวันทั้งหมด พบผีเสื้อกลางคืน (Moths) ที่พบได้ในเวลากลางวัน จานวนทั้งสิ้น 4 วงศ์ 6 ชนิด 120 ตัว ได้แก่ วงศ์ GEOMETRIDAE 3 ชนิด 110 ตัว วงศ์ NOCTUIDAE 1 ชนิด 6 ตัว วงศ์ CRAMBIDAE 1 ชนิด 1 ตัว และวงศ์ URANIIDAE 1 ชนิด 3 ตัว โดยวงศ์ที่พบจานวนชนิดผีเสื้อกลางคืนมากที่สุด คือ วงศ์ GEOMETRIDAE คิดเป็นร้อยละ 50.00 ของจานวนชนิดผีเสื้อกลางคืนทั้งหมด ตามลาดับ ส่วนชนิดผีเสื้อ กลางคืนที่พบมากที่สุด คือ มอทราบปีกแหลม มอทลายเสือแถบกว้าง และมอทค้างคาว ตามลาดับ โดย แปลงสารวจที่พบจานวนผีเสื้อกลางคืนมากที่สุด คือ แปลงที่ 1 ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อยละ 52.50 ของจานวน ผีเสื้อกลางคืนทั้งหมด (ข้อมูลดังตารางที่ 1 และในภาคผนวก ค) พบผีเสื้อในแปลงทางเดินสารวจที่ 1 (ป่าดิบแล้ง) มากกว่า แปลงทางเดินสารวจที่ 2 แต่ไม่แตกต่าง กันมากนัก 5
  • 10. ตารางที่ 1 สรุปผลการสารวจผีเสื้อกลางวันในดอนปู่ ตาสาธารณประโยชน์ตาบลสวนจิก อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด ที่ วงศ์ ชนิด จานวน (ตัว) หมายเหตุ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ 1 NYMPHALIDAE 4 28.57 21 43.75 ผีเสื้อกลางวัน 2 PAPILIONIDAE 5 35.71 17 35.42 ผีเสื้อกลางวัน 3 PIERIDAE 3 21.43 8 16.67 ผีเสื้อกลางวัน 4 LYCAENIDAE 1 7.14 1 2.08 ผีเสื้อกลางวัน 5 HESPERIIDAE 1 7.14 1 2.08 ผีเสื้อบินเร็ว รวม 14 100 48 100 ที่ วงศ์ ชนิด จานวน (ตัว) หมายเหตุ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ 1 GEOMETRIDAE 3 50.00 110 91.67 ผีเสื้อกลางคืน 2 NOCTUIDAE 1 16.67 6 5.00 ผีเสื้อกลางคืน 3 CRAMBIDAE 1 16.67 1 0.83 ผีเสื้อกลางคืน 4 URANIIDAE 1 16.67 3 2.50 ผีเสื้อกลางคืน รวม 6 100 120 100 6
  • 11. จากการศึกษาวงจรชีวิตของผีเสื้อกะทกรกธรรมดา พบว่า ระยะไข่  ตัวหนอน ใช้เวลา 5 วัน ระยะตัวหนอนดักแด้ ใช้เวลา 21 วัน ระยะดักแด้ ตัวเต็มวัย ใช้เวลา 13 วัน และจากการศึกษาวงจรชีวิตของผีเสื้อหางตุ้มจุดชมพู พบว่า ระยะไข่  ตัวหนอน ใช้เวลา 6 วัน ระยะ ตัวหนอนดักแด้ ใช้เวลา 14 วัน ระยะดักแด้ ตัวเต็มวัย ใช้เวลา 7 วัน พบความสัมพันธ์ของผีเสื้อในระบบนิเวศดอนปู่ ตาฯ 3 รูปแบบ คือ 1) ในระยะหนอนเป็น ผู้บริโภคพืช (ศัตรูพืช) 2) ได้ประโยชน์ร่วมกันกับพืช โดยผีเสื้อได้น้าหวานจากดอกไม้และช่วยผสมเกสร ให้กับพืช 3) เป็นผู้ถูกล่าโดยผู้ล่า เช่น นก แมงมุม และถูกเบียนโดยแตนเบียนในระยะหนอนและระยะ ดักแด้เป็นต้น และพบว่า ผีเสื้อเป็นดัชนีบ่งชี้ถึงความหลากหลายของต้นไม้ ถ้ามีผีเสื้อหลากหลายชนิด แสดง ว่ามีพืชอาหารหลากหลายชนิดเช่นกัน เพราะหนอนผีเสื้อแต่ละชนิดกินพืชอาหารแตกต่างกันและในระยะ เต็มวัยผีเสื้อสามารถดูดน้าหวานจากดอกไม้ได้หลายชนิด ในขั้นอนุรักษ์ ได้จัดทาสวนอาหารหนอนและผีเสื้อในโรงเรียนและได้ปลูกพืชอาหารหนอนและ ผีเสื้อ จานวน 31 ชนิด ได้แก่ กระเช้าสีดา กระโดน กล้วย กัลปพฤกษ์ กุ่มบก เข็ม ขนุน ขี้เหล็ก จาปา ชะอม แดง ติ้ว น้อยหน่า ฝรั่ง พุทรา มะกรูด มะกล่าต้น มะค่าโมง มะตูม มะนาว มะม่วง มะสัง รางจืด คูน เสาวรส หวาย ส้มโอ บานบุรีเหลือง ชบา พุด และกุหลาบ เป็นต้น และยังนากล้าไม้ไปปลูก ที่ดอนปู่ตาฯ สาหรับขั้นแบ่งปัน ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงและผ่าน Facebook กลุ่มนักสารวจ ศ. พ.ว. และกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา และคุณเกรียงไกร สุวรรณภักดิ์ นาเสนอข้อมูลการศึกษาเกี่ยวกับผีเสื้อ โดยจัดทา webpage ชื่อ “ผีเสื้อผจญภัย” จัดทาหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กเกี่ยวกับผีเสื้อให้ผู้สนใจอ่านใน ห้องสมุดโรงเรียน ฟ้ อนราเพลงผีเสื้อตอมดอกไม้ แสดงตัวอย่างผีเสื้อในงานประเมินสถานศึกษาดีเด่นเพื่อ รับรางวัลพระราชทาน และจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ผีเสื้อ ที่ห้องปฏิบัติการธรรมชาติวิทยา โรงเรียนศรีสมเด็จ พิมพ์พัฒนาวิทยา เป็นต้น 7 29% 36% 21% 7% 7% NYMPHALIDAE PAPILIONIDAE PIERIDAE LYCAENIDAE HESPERIIDAE 50% 16% 17% 17% GEOMETRIDAE NOCTUIDAE CRAMBIDAE URANIIDAE
  • 12. บรรณานุกรม เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. 2555. Photographic Guide to Moths in Thailland. สมุทรปราการฯ: BNEC. 64 หน้า. __________________. 2556. Thailland Butterfly Guide. กรุงเทพฯ: สารคดี. 336 หน้า. __________________. 2540. ผีเสื้อ. กรุงเทพฯ: สารคดี 149 หน้า. จารุจินต์ นภีตะภัฏ และเกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. 2544. คู่มือดูผีเสื้อในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: วนา. 320 หน้า. นิดดา หงษ์วิวัฒน์. 2554. ผีเสื้อแสนสวย. กรุงเทพฯ: คติ. 176 หน้า. พิสุทธิ์ เอกอานวย. 2553. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สาคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง. 592 หน้า. __________________.2552. ผีเสื้อกลางวัน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 33 หน้า. ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.2542. บทปฏิบัติการกีฏวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ลินคอร์น โปรโมชั่น. 266 หน้า. มูลนิธิมหาวิทยาลัยมมหิดล. 2548. สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 5 สมุนไพรพื้นบ้านอีสาน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 192 หน้า. วิโรจน์ เกสรบัว และประนอม จันทรโณทัย. 2554. พรรณไม้โคกภูตากา. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. 131 หน้า. สราวุธ คลอวุฒิมันต์, พัชนี วิชิตพันธุ์ และประภา โซ๊ะสลาม. 2555. ปฏิบัติการนิเวศวิทยา. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 212 หน้า. สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช.2557. คู่มือผีเสื้อเขตสงวนชีวมณฑลห้วยทาก จังหวัดลาปาง. กรุงเทพฯ: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช. 178 หน้า. สุจิตรา กลิ่นเกษร, บรรณาธิการ.2555. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม 7. พิมพ์ครั้งที่ 8.กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. 192หน้า. 8
  • 14. “พวกเราค้นหา สารวจ อนุรักษ์ และแบ่งปัน เพื่อให้รับรู้ เห็นความสาคัญ ตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ เพื่อให้ช่วยกันอนุรักษ์ผีเสื้อ ต้นไม้ และทรัพยากรธรรมชาติ ในดอนปู่ ตาฯ ให้คงอยู่คู่ชุมชนและลูกหลานตลอดไป”