SlideShare a Scribd company logo
การเกิดปฏิกิริยา (reaction) คือ การ
เปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นไปเป็น
สารผลิตภัณฑ์
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
สารตั้งต้น (reactant)  ผลิตภัณฑ์ (productant)
เช่น สาร A + B  C + D
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (rate of chemical
reaction) คือ การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ
สารตั้งต้นหรือสารผลิตภัณฑ์ในหนึ่งหน่วยเวลา
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
4
หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
• หน่วยอัตราการเกิดปฏิกิริยา ขึ้นอยู่กับหน่วยปริมาณสารและ
หน่วยเวลา
หน่วยปริมาณสารขึ้นอยู่กับสถานะของสาร เช่น
• ของแข็ง ใช้หน่วยมวล ได้แก่ กรัม(g) กิโลกรัม(kg)
• ของเหลวและแก๊ส ใช้หน่วยปริมาตร ได้แก่ ลิตร(L) ลูกบาศก์
เดซิเมตร(dm3) ลูกบาศก์เซนติเมตร(cm3)
• สารละลาย ใช้หน่วยความเข้มข้น ได้แก่ mol/dm3
หน่วยเวลา ได้แก่ วินาที(s) นาที(min) ชั่วโมง(hr)
• หน่วยอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ใช้กันมากคือ mol/dm3.s หรือ
mol/s
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
5
การเขียนความสัมพันธ์ของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
จากความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
เมื่อพิจารณาปฏิกิริยาระหว่างสารตั้งต้น A กับ B
เกิดสารผลิตภัณฑ์C และ D ดังสมการ
A + B  C + D
สามารถเขียนความสัมพันธ์อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ได้ดังนี้
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
6
A + B  C + D
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
7
เมื่อ
r แทน อัตราการเกิดปฏิกิริยา
 แทน การเปลี่ยนแปลง
[ ] แทน ความเข้มข้นของสาร(mol/dm3) หรือแทนปริมาณสารเป็น mol
t แทน เวลา
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
8
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
9
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
10
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
สมการเคมีใดที่เลขสัมประสิทธิ์แสดงจานวนโมล
ของสารตั้งต้น หรือสารผลิตภัณฑ์มีค่าไม่เท่ากันและ
มีค่ามากกว่า 1 การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาใน
หน่วย mol/s จะต้องนาเลขสัมประสิทธิ์ของสาร
แต่ละตัวมาเป็นตัวหารของอัตราการเปลี่ยนแปลง
นั้นด้วย ดังตัวอย่าง
11
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
N2(g) + 3H2(g)  2NH3(g)
อัตราการเกิดปฏิกิริยา = อัตราการลดลงของ N2
= 1/3 อัตราการลดลงของ H2
= 1/2 อัตราการเกิด NH3
12
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
ปฏิกิริยาเคมีดังสมการ
Mg(s) + 2HCl(aq)  MgCl2(aq) + H2(g)
สามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ได้อย่างไรบ้าง
และเขียนความสัมพันธ์ของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
ได้อย่างไร
13
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
ประเภทของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย(Average rate)
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง
(Instantaneous rate)
14
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
1.อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย(Average rate)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย หมายถึงปริมาณของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมด
หรือปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงทั้งหมดต่อเวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยานั้น
15
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
2.อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
หมายถึง ปริมาณของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
หรือปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ในหนึ่งหน่วยเวลา
ที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยานั้น
ในช่วงนั้น
ช่วงเวลา
ในช่วงนั้น
ช่วงเวลา
16
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
หมายถึง ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง ณ ขณะใดขณะหนึ่ง
หรือปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ณ ขณะใดขณะหนึ่ง
ต่อเวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาในช่วงนั้น
ซึ่งอัตราการเกิดปฏิกิริยาชนิดนี้หาได้จากค่าความชันของกราฟเท่านั้น
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง(Instantaneous rate)
17
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
การคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากสมการเคมี
N2(g) + 3H2(g)  2NH3(g)
อัตราการเกิดปฏิกิริยา = อัตราการลดลงของ N2
= 1/3 อัตราการลดลงของ H2
= 1/2 อัตราการเกิด NH3
อัตราการลดลงของ N2 = 1/3 เท่าของอัตราการลดลงของ H2
อัตราการลดลงของ H2 = 3 เท่าของอัตราการลดลงของ N2
อัตราการลดลงของ N2 = 1/2 เท่าของอัตราการเกิด NH3
อัตราการลดลงของ H2 = 3/2 เท่าของอัตราการเกิด NH3
อัตราการเกิด NH3 = 2 เท่าของอัตราการลดลงของ N2
อัตราการเกิด NH3 = 2/3 เท่าของอัตราการลดลงของ H2
หรือ
18
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
ปฏิกิริยา 2A +3B  1/4 C + 4D จงหา
ตัวอย่าง 1
1. อัตราการเพิ่มของ D เป็นกี่เท่าของอัตราการเกิด C
ตอบ 16 เท่า
2. อัตราการเพิ่มของ D เป็นกี่เท่าของอัตราการลดลงของ
A และ B ตอบ 2 เท่า และ 4/3 เท่า ตามลาดับ
3. อัตราการเพิ่มของ C เป็นกี่เท่าของอัตราการเกิด D
ตอบ 1/16 เท่า
19
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
ถ้าอัตราการเพิ่มของ X เป็น 3 เท่าของอัตราการ
ลดลงของ Y และเป็น 1/2 เท่าของอัตราการลดลงของ
Z และเป็น 1/3เท่าของอัตราการเพิ่ม H2
จงเขียนสมการแสดงความ สัมพันธ์ของปฏิกิริยานี้
ตัวอย่าง 2
ตอบ
20
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
การคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากสมการเคมี
N2(g) + 3H2(g)  2NH3(g)
อัตราการเกิดปฏิกิริยา = อัตราการลดลงของ N2
= 1/3 อัตราการลดลงของ H2
= 1/2 อัตราการเกิด NH3
21
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
ตัวอย่าง 3
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ทาปฏิกิริยากับไอโอไดด์ไอออน
ในสารละลายกรด ดังสมการ
H2O2(l) + 2H+(aq) + 3I- (aq)  I3
- (aq) + 2H2O (l)
อัตราการลดลงของ I- เท่ากับ 3.0×10-4 mol / s จงหา
1. อัตราการลดลงของ H2O2 เป็นกี่ mol/s
2. อัตราการลดลงของ H+ เป็นกี่ mol/s
3. เมื่อปฏิกิริยาดาเนินไป 5 วินาที H2O เป็นกี่ g
22
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
ตัวอย่าง 3
H2O2(l) + 2H+(aq) + 3I- (aq)  I3
- (aq) + 2H2O (l)
อัตราการลดลงของ I- เท่ากับ 3.0×10-4 mol / s จงหา
1. อัตราการลดลงของ H2O2 เป็นกี่ mol/s
วีธีคิด
23
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
ตัวอย่าง 3
H2O2(l) + 2H+(aq) + 3I- (aq)  I3
- (aq) + 2H2O (l)
อัตราการลดลงของ I- เท่ากับ 3.0×10-4 mol / s จงหา
2. อัตราการลดลงของ H+ เป็นกี่ mol/s
วีธีคิด
24
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
ตัวอย่าง 3
H2O2(l) + 2H+(aq) + 3I- (aq)  I3
- (aq) + 2H2O (l)
อัตราการลดลงของ I- เท่ากับ 3.0×10-4 mol / s จงหา
3.เมื่อปฏิกิริยาดาเนินไป 5 วินาที จะเกิด H2O กี่ g
วีธีคิด
25
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
26
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
27
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
28
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
29
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
1. เมื่อใส่โลหะอะลูมิเนียม (Al ) จานวน 10.8 g ลงใน
สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น0.5 mol/dm3 จานวน
200 cm3 จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ
2Al + 6HCl → 2AlCl3 + 3H2
จับเวลาทันทีที่ใส่โลหะอะลูมิเนียมในสารละลายกรด
ไฮโดรคลอริก หลังจากเวลาผ่านไป 10 s พบว่า
โลหะอะลูมิเนียมยังเหลืออยู่ 8.1 g
จงคานวณหาอัตราการเกิดแก๊ส H2 และอัตราการ
เกิดปฏิกิริยา ( Al มีมวลอะตอม = 27)
การบ้าน
30
วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
2. จงคานวณหาอัตราการเกิดแก๊ส N2O4 ของปฏิกิริยา
ต่อไปนี้ 2NO2(g) N2O4(g) กาหนดให้อัตราการ
ลดลงของ NO2 = 0.0592 mol/s
การบ้าน

More Related Content

What's hot

Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
Preeyapat Lengrabam
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
พัน พัน
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
oraneehussem
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
Preeyapat Lengrabam
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
krulef1805
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสJariya Jaiyot
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
Pinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 

Viewers also liked

อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
Jirapakorn Buapunna
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
BELL N JOYE
 
พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bonds
BELL N JOYE
 
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
BELL N JOYE
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
Sircom Smarnbua
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
BELL N JOYE
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีjirat266
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
BELL N JOYE
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
Sircom Smarnbua
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
สรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายสรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลาย
Kittepot
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
Coco Tan
 

Viewers also liked (15)

อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 
พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bonds
 
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
สรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายสรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลาย
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 

Similar to 1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พัน พัน
 
1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2yaowaluk
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000Awirut619
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 

Similar to 1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (6)

2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 

More from Sircom Smarnbua

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
Sircom Smarnbua
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
Sircom Smarnbua
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
Sircom Smarnbua
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
Sircom Smarnbua
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
Sircom Smarnbua
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
Sircom Smarnbua
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
Sircom Smarnbua
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
Sircom Smarnbua
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558
Sircom Smarnbua
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
Sircom Smarnbua
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6 1 2558
Sircom Smarnbua
 

More from Sircom Smarnbua (20)

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม5 1 2558
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6 1 2558
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

  • 1.
  • 2. การเกิดปฏิกิริยา (reaction) คือ การ เปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นไปเป็น สารผลิตภัณฑ์ วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน สารตั้งต้น (reactant)  ผลิตภัณฑ์ (productant) เช่น สาร A + B  C + D
  • 3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (rate of chemical reaction) คือ การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ สารตั้งต้นหรือสารผลิตภัณฑ์ในหนึ่งหน่วยเวลา วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 4. 4 หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยา • หน่วยอัตราการเกิดปฏิกิริยา ขึ้นอยู่กับหน่วยปริมาณสารและ หน่วยเวลา หน่วยปริมาณสารขึ้นอยู่กับสถานะของสาร เช่น • ของแข็ง ใช้หน่วยมวล ได้แก่ กรัม(g) กิโลกรัม(kg) • ของเหลวและแก๊ส ใช้หน่วยปริมาตร ได้แก่ ลิตร(L) ลูกบาศก์ เดซิเมตร(dm3) ลูกบาศก์เซนติเมตร(cm3) • สารละลาย ใช้หน่วยความเข้มข้น ได้แก่ mol/dm3 หน่วยเวลา ได้แก่ วินาที(s) นาที(min) ชั่วโมง(hr) • หน่วยอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ใช้กันมากคือ mol/dm3.s หรือ mol/s วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 5. 5 การเขียนความสัมพันธ์ของอัตราการเกิดปฏิกิริยา จากความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยา เมื่อพิจารณาปฏิกิริยาระหว่างสารตั้งต้น A กับ B เกิดสารผลิตภัณฑ์C และ D ดังสมการ A + B  C + D สามารถเขียนความสัมพันธ์อัตราการเกิดปฏิกิริยา ได้ดังนี้ วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 6. 6 A + B  C + D วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 7. 7 เมื่อ r แทน อัตราการเกิดปฏิกิริยา  แทน การเปลี่ยนแปลง [ ] แทน ความเข้มข้นของสาร(mol/dm3) หรือแทนปริมาณสารเป็น mol t แทน เวลา วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 10. 10 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน สมการเคมีใดที่เลขสัมประสิทธิ์แสดงจานวนโมล ของสารตั้งต้น หรือสารผลิตภัณฑ์มีค่าไม่เท่ากันและ มีค่ามากกว่า 1 การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาใน หน่วย mol/s จะต้องนาเลขสัมประสิทธิ์ของสาร แต่ละตัวมาเป็นตัวหารของอัตราการเปลี่ยนแปลง นั้นด้วย ดังตัวอย่าง
  • 11. 11 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน N2(g) + 3H2(g)  2NH3(g) อัตราการเกิดปฏิกิริยา = อัตราการลดลงของ N2 = 1/3 อัตราการลดลงของ H2 = 1/2 อัตราการเกิด NH3
  • 12. 12 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน ปฏิกิริยาเคมีดังสมการ Mg(s) + 2HCl(aq)  MgCl2(aq) + H2(g) สามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ได้อย่างไรบ้าง และเขียนความสัมพันธ์ของอัตราการเกิดปฏิกิริยา ได้อย่างไร
  • 13. 13 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน ประเภทของอัตราการเกิดปฏิกิริยา 1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย(Average rate) 2. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง 3. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous rate)
  • 14. 14 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน 1.อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย(Average rate) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย หมายถึงปริมาณของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมด หรือปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงทั้งหมดต่อเวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยานั้น
  • 15. 15 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน 2.อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หมายถึง ปริมาณของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ในหนึ่งหน่วยเวลา ที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยานั้น ในช่วงนั้น ช่วงเวลา ในช่วงนั้น ช่วงเวลา
  • 16. 16 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน หมายถึง ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง ณ ขณะใดขณะหนึ่ง หรือปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ต่อเวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาในช่วงนั้น ซึ่งอัตราการเกิดปฏิกิริยาชนิดนี้หาได้จากค่าความชันของกราฟเท่านั้น 3. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง(Instantaneous rate)
  • 17. 17 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน การคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากสมการเคมี N2(g) + 3H2(g)  2NH3(g) อัตราการเกิดปฏิกิริยา = อัตราการลดลงของ N2 = 1/3 อัตราการลดลงของ H2 = 1/2 อัตราการเกิด NH3 อัตราการลดลงของ N2 = 1/3 เท่าของอัตราการลดลงของ H2 อัตราการลดลงของ H2 = 3 เท่าของอัตราการลดลงของ N2 อัตราการลดลงของ N2 = 1/2 เท่าของอัตราการเกิด NH3 อัตราการลดลงของ H2 = 3/2 เท่าของอัตราการเกิด NH3 อัตราการเกิด NH3 = 2 เท่าของอัตราการลดลงของ N2 อัตราการเกิด NH3 = 2/3 เท่าของอัตราการลดลงของ H2 หรือ
  • 18. 18 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน ปฏิกิริยา 2A +3B  1/4 C + 4D จงหา ตัวอย่าง 1 1. อัตราการเพิ่มของ D เป็นกี่เท่าของอัตราการเกิด C ตอบ 16 เท่า 2. อัตราการเพิ่มของ D เป็นกี่เท่าของอัตราการลดลงของ A และ B ตอบ 2 เท่า และ 4/3 เท่า ตามลาดับ 3. อัตราการเพิ่มของ C เป็นกี่เท่าของอัตราการเกิด D ตอบ 1/16 เท่า
  • 19. 19 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน ถ้าอัตราการเพิ่มของ X เป็น 3 เท่าของอัตราการ ลดลงของ Y และเป็น 1/2 เท่าของอัตราการลดลงของ Z และเป็น 1/3เท่าของอัตราการเพิ่ม H2 จงเขียนสมการแสดงความ สัมพันธ์ของปฏิกิริยานี้ ตัวอย่าง 2 ตอบ
  • 20. 20 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน การคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากสมการเคมี N2(g) + 3H2(g)  2NH3(g) อัตราการเกิดปฏิกิริยา = อัตราการลดลงของ N2 = 1/3 อัตราการลดลงของ H2 = 1/2 อัตราการเกิด NH3
  • 21. 21 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน ตัวอย่าง 3 ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ทาปฏิกิริยากับไอโอไดด์ไอออน ในสารละลายกรด ดังสมการ H2O2(l) + 2H+(aq) + 3I- (aq)  I3 - (aq) + 2H2O (l) อัตราการลดลงของ I- เท่ากับ 3.0×10-4 mol / s จงหา 1. อัตราการลดลงของ H2O2 เป็นกี่ mol/s 2. อัตราการลดลงของ H+ เป็นกี่ mol/s 3. เมื่อปฏิกิริยาดาเนินไป 5 วินาที H2O เป็นกี่ g
  • 22. 22 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน ตัวอย่าง 3 H2O2(l) + 2H+(aq) + 3I- (aq)  I3 - (aq) + 2H2O (l) อัตราการลดลงของ I- เท่ากับ 3.0×10-4 mol / s จงหา 1. อัตราการลดลงของ H2O2 เป็นกี่ mol/s วีธีคิด
  • 23. 23 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน ตัวอย่าง 3 H2O2(l) + 2H+(aq) + 3I- (aq)  I3 - (aq) + 2H2O (l) อัตราการลดลงของ I- เท่ากับ 3.0×10-4 mol / s จงหา 2. อัตราการลดลงของ H+ เป็นกี่ mol/s วีธีคิด
  • 24. 24 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน ตัวอย่าง 3 H2O2(l) + 2H+(aq) + 3I- (aq)  I3 - (aq) + 2H2O (l) อัตราการลดลงของ I- เท่ากับ 3.0×10-4 mol / s จงหา 3.เมื่อปฏิกิริยาดาเนินไป 5 วินาที จะเกิด H2O กี่ g วีธีคิด
  • 29. 29 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน 1. เมื่อใส่โลหะอะลูมิเนียม (Al ) จานวน 10.8 g ลงใน สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น0.5 mol/dm3 จานวน 200 cm3 จะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ 2Al + 6HCl → 2AlCl3 + 3H2 จับเวลาทันทีที่ใส่โลหะอะลูมิเนียมในสารละลายกรด ไฮโดรคลอริก หลังจากเวลาผ่านไป 10 s พบว่า โลหะอะลูมิเนียมยังเหลืออยู่ 8.1 g จงคานวณหาอัตราการเกิดแก๊ส H2 และอัตราการ เกิดปฏิกิริยา ( Al มีมวลอะตอม = 27) การบ้าน
  • 30. 30 วิชาเคมี3 (ว30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน 2. จงคานวณหาอัตราการเกิดแก๊ส N2O4 ของปฏิกิริยา ต่อไปนี้ 2NO2(g) N2O4(g) กาหนดให้อัตราการ ลดลงของ NO2 = 0.0592 mol/s การบ้าน