SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
โครงงานสังคมศึกษา
เรื่อง บุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย
คณะผู้จัดทา
นางสาวสุภานัน พาบัว
นางสาวสุพพัตรา คงป้ อม
นางสาวมัทนา จาปาโพธิ์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
อาจารย์ธนิสร ยางคา
ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2556
โรงเรียนวังน้าเขียวพิทยาคม
องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา
ก
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานสังคมศึกษา เรื่อง บุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย
เป็นการศึกษามาตรฐานโฮมสเตย์ไทยซึ่งคณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษาที่บ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี
อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา
และโครงงานชิ้นนี้อยู่ในรายวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1
ในการศึกษาทาโครงงานในครั้งนี้
คณะผู้จัดทาต้องขอขอบคุณโรงเรียนวังน้าเขียวพิทยาคมและขอขอบคุณท่านผู้อานวยการสถานศึกษา
นาย มนู สินจังหรีด อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ กฤตย์ คงสิม อาจารย์ปุณยาพร ประทวนชัย
และอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ ธนิสร ยางคา ที่ได้ให้คาแนะนาแก่คณะผู้จัดทา
ทั้งนี้ก็ต้องขอขอบคุณนายอินทร์ มูลพิมาย ประธานกลุ่ม
เจ้าของสถานที่ที่ให้คณะผู้จัดทาไปศึกษาที่ให้ความอนุเคราะห์ในการทาโครงงานในครั้งนี้และขอขอบคุณ
ผู้ปกครองของคณะผู้จัดทาทุกท่าน ที่ให้กาลังใจและการสนับสนุนในการจัดทาโครงงานครั้งนี้
คณะผู้จัดทา
ข
บทคัดย่อ
ชื่อโครงงานบุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวสุภานัน พาบัว
2.นางสาวสุพพัตรา คงป้อม
3.นางสาวมัทนา จาปาโพธิ์
ระดับชั้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2555
ครูที่ปรึกษา อาจารย์ ธนิสร ยางคา
โรงเรียน วังน้าเขียวพิทยาคม
โครงงานรายวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒธนธรรม ประเภทสารวจ เรื่อง บุไทรโฮมสเตย์
มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย จัดทาขึ้นศึกษาว่าบุไทรโฮมสเตย์ ได้มาตรฐานโฮมสเตย์ไทยหรือไม่
และเพื่อส่งเสริมให้กลุ่มคนรุ่นใหม่ได้รู้จักภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในปัจจุบันซึ่งเกิดจากการอนุรักษ์สืบทอ
ดกันมาของคนในท้องถิ่นนั้นๆ โดยขั้นตอนการศึกษาได้ทาการสารวจพื้นที่
ที่จะศึกษาด้วยการสอบถามและสืบค้นข้อมูล ได้ดาเนินการสารวจในเดือนสิงหาคม-
เดือนกันยายน จากการศึกษาครั้งนี้ต้องการที่จะศึกษาความเป็นมาของบุไทรโฮมสเตย์
และในแต่ละที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นอย่างไร มีขั้นตอนการผลิตอย่างไร
และประโยชน์ของผลิตภัณฑ์นั้นๆคืออะไร
เมื่อเริ่มออกสารวจสถานที่ต่างๆตามที่ต้องการจะศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลเรียบร้อยแล้วก็มีการสืบค้
นข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจากการสารวจ เช่น
จากเอกสารจากเว็บไซด์ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
เมื่อรวบรวมข้อมูลครบถ้วนแล้วจากนั้นจึงนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเรียบเรียงเนื้อหาและสรุปผลการสา
รวจต่อไป
จากการทาโครงงาน บุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ได้รับมาตรฐานโฮมสเตย์ไทยปี
พ.ศ. 2547 , 2549 ,2551 และปี พ.ศ. 2554
ในการจัดทาโครงงานครั้งนี้ได้ประสบปัญหาและอุปสรรคมากมายเช่น
ในช่วงนี้เป็นฤดูฝนการออกเดินทางสารวจจึงไม่สะดวกมากนัก ทั้งสถานที่
ที่ไปศึกษาเป็นบริเวณแหล่งท่องเที่ยวจึงทาให้การติดต่อต้องใช้เวลา
อีกทั้งปัญหาของพาหนะที่ต้องใช้ในการเดินทางไม่ค่อยสะดวก
รวมถึงด้านทุนทรัพย์ที่ต้องใช้ก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ต้องพบเจอ
ดังนั้นคณะผู้จัดทาโครงงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการดาเนินการศึกษาในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์
และแนวทางการดาเนินชีวิตของผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย
อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมอาชีพที่เป็นมิตรต่อธรรมชาติได้อีกด้วย
สารบัญ
เรื่อง หน้า
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
บทที่ 1 บทนา
- ที่มาและความสาคัญ
- วัตถุประสงค์
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- ขอบเขตการศึกษา
- ระยะเวลาดาเนินการ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีดาเนินการ
บทที่ 4 ผลการศึกษา
บทที่ 5 สรุป
ภาคผนวก
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
ในปัจจุบันการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) กาลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น
ทั้งในกลุ่มชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ มีการจัดกิจกรรม การท่องเที่ยวในแหล่งชุมชน
เพื่อศึกษาเรียนรู้วิถีชีวิต วัฒนธรรม หัตถกรรมของท้องถิ่น
โดยมีโฮมสเตย์ที่มีความหมายมากกว่าการเป็นที่พัก เนื่องจากเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวอย่างหนึ่ง
ซึ่งยึดเอารูปแบบ ที่พักเป็นศูนย์กลางและจัดให้มีกิจกรรมในด้านต่างๆ ตามความต้องการของ
นักท่องเที่ยว อย่างหนึ่ง ซึ่งยึดเอารูปแบบที่พักเป็นศูนย์กลาง และจัดให้มีกิจกรรมในด้านต่างๆ
ตามความต้องการของนักท่องเที่ยว รวมอยู่ด้วย
การจัดทาโครงงานนี้ ผู้จัดทาทุกคนเป็นคนที่อาศัยอยู่ในบ้านบุไทร
และมีความรู้ความเข้าใจสภาพท้องถิ่นของตนเอง
และมีความตระหนักในความสาคัญของกิจกรรมโฮมสเตย์ จึงได้คิดทาโครงงานนี้ขึ้นมา
เพื่อที่จะนาความรู้ที่ได้นี้เผยแพร่กับชุมชนที่เกี่ยวข้องต่อไป
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของบุไทรโฮมสเตย์
2.เพื่อศึกษาแหล่งการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในบ้านบุไทร
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้ทราบเกี่ยวกับโฮมสเตย์ และมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย
2.เกิดความสามัคคีของหมู่คณะ
3.ได้ทางานร่วมกับเพื่อนๆเพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
4.รู้จักวางแผนการทาโครงงาน
ขอบเขตการศึกษา
- บุไทรโฮมสเตย์ บ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา
นิยามศัพท์เฉพาะ
โฮมสเตย์ (Homestay) หมายถึง การท่องเที่ยวรูปแบบหนึ่ง
ที่นักท่องเที่ยวจะต้องพักรวมกับเจ้าของบ้านชายคาเดียวกัน
โดยมีห้องพักหรือพื้นที่ใช้สอยภายในบ้านเหลือ สามารถนามาดัดแปลงให้นักท่องเที่ยวได้พักชั่วคราว
ซึ่งมีจานวนไม่เกิน 4 ห้อง มีผู้พักรวมกันไม่เกิน 20 คน โดยมีค่าตอบแทน
และการจัดสิ่งอานวยความสะดวกตามสมควร อันเป็นลักษณะเป็นการประกอบกิจการเพื่อ
2
หารายได้เสริม ซึ่งเป็นไปตามบทคาว่านิยาม “โรงแรม” แห่งพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547
และได้ขึ้นทะเบียนกับกรมการท่องเที่ยว ตามหลักเกณฑ์ที่กรมการท่องเที่ยวกาหนด
บุไทรโฮมสเตย์ หมายถึง บ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว
จังหวัดนครราชสีมา
ระยะเวลาดาเนินการ
เดือนกรกฎาคม - เดือนกันยายน พ.ศ.2556
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
จากการทาโครงงานสังคมศึกษา เรื่องบุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ครั้งนี้
คณะผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1. ความหมายของโฮมสเตย์
2. ประวัติความเป็นมาของบุไทรโฮมสเตย์
โฮมสเตย์ (Homestay) หมายถึง การท่องเที่ยวรูปแบบหนึ่ง
ที่นักท่องเที่ยวจะต้องพักรวมกับเจ้าของบ้านชายคาเดียวกัน
โดยมีห้องพักหรือพื้นที่ใช้สอยภายในบ้านเหลือ สามารถนามาดัดแปลงให้นักท่องเที่ยวได้พักชั่วคราว
ซึ่งมีจานวนไม่เกิน 4 ห้อง มีผู้พักรวมกันไม่เกิน 20 คน โดยมีค่าตอบแทน
และการจัดสิ่งอานวยความสะดวกตามสมควร
อันเป็นลักษณะเป็นการประกอบกิจการเพื่อหารายได้เสริม ซึ่งเป็นไปตามบทคาว่านิยาม “โรงแรม”
แห่งพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 และได้ขึ้นทะเบียนกับกรมการท่องเที่ยว
ตามหลักเกณฑ์ที่กรมการท่องเที่ยวกาหนด
ประวัติความเป็นมาของบุไทรโฮมสเตย์
บุไทรโฮมสเตย์ มีที่มาจากเมื่อปี 2543 กลุ่มเกษตรกรบ้านสุขสมบูรณ์ ตาบลไทยสามัคคี
อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ได้ติดต่อเข้ามายังมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เพื่อขอความช่วยเหลือด้านวิชาการเพาะเห็ดหอม
ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีได้ค้นพบวิธีการกระตุ้นเห็ดหอมให้ออกดอก ในที่ไม่หนาวเย็นมากนัก
มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทาโครงการพัฒนาการผลิตเห็ดหอมเพื่อการค้า โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.ธวัชชัย ทีฆชุณหเถียร เป็นนักวิจัย เมื่อโครงการก้าวหน้าไปถึง 3 ปี
คณาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ได้มองเห็นศักยภาพทางด้านธรรมชาติ การเกษตร
และการท่องเที่ยวของตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว
จึงได้เลือกตาบลไทยสามัคคีเป็นพื้นที่เป้าหมายในโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเศรษฐ
กิจฐานราก ของประเทศตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ในปี 2545
โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวตาบลไทยสามัคคี จึงเริ่มต้นขึ้นในปี 2545
ด้วยการทาความเข้าใจระหว่างทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการทางานร่วมกับชุมชน
จากนั้นก็มีการสัมมนาวิเคราะห์พื้นที่และเข้าไปในพื้นที่จริงเพื่อเก็บข้อมูลเพิ่มเติม
เพื่อเป็นการระดมสมองกาหนดแนวทางการพัฒนาจนออกมาเป็นแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
การประชุมหารือกันเป็นไปอย่างต่อเนื่องทั้งในชุมชนและกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จนกระทั่ง เมื่อวันที่
20 มกราคม 2545 จังหวัดนครราชสีมา ได้มีคาสั่งแต่งตั้ง
คณะทางานโครงการพัฒนาการท่องเที่ยวตาบลไทยสามัคคี
ประกอบด้วยหน่วยงานตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมาถึงระดับ
4
ตาบลและหมู่บ้าน
ในระหว่างปี 2546 โครงการฯ ได้มีบทบาทสาคัญในการประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ
ผู้ประกอบการและชุมชน เพื่อเสริมความรู้และประสบการณ์ให้แก่ชุมชน
โดยการจัดอบรมด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวรวม 3 หลักสูตร และดูงานด้านโฮมสเตย์ 2 แห่ง
จากการศึกษาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของชุมชนและความต้องการของชุมชน พบว่า
การให้บริการท่องเที่ยวยังขาดการบริการที่พักแบบโฮมสเตย์ที่จัดการโดยชุมชน
ซึ่งกาลังเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว และสามารถเพิ่มรายได้เป็นอาชีพเสริมให้แก่ชาวบ้าน
และมีกลุ่มชุมชนที่สนใจให้บริการดังกล่าว ในที่สุดบ้านพักจานวน 10 หลังคาเรือน
ของกลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร ได้รับการปรับปรุงภายใต้การสนับสนุนของโครงการ
จนกลายเป็นเรือนพักโฮมสเตย์ ซึ่งมี พิธีเปิดโดยอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เมื่อวันที่ 24
ตุลาคม 2546 บุไทรโฮมสเตย์ได้เปิดรับรองแขกครั้งแรกซึ่งเป็นชาวอาเซียนจานวน 40 คน เมื่อวันที่
24-25 ตุลาคม 2546 และพร้อมสาหรับนักท่องเที่ยวในงานเบญจมาศบานในม่านหมอกปี 2547
ในปีงบประมาณ 2546 สานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
ได้ดาเนินการพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพมาตรฐานการจัดการที่พักแบบสัมผัสวัฒนธรรมชนบทหรือโฮมสเตย์
(Home Stay) ขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพโฮมสเตย์ไทย
และได้จัดตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินประจาจังหวัด
เพื่อเข้าประเมินคุณภาพโฮมสเตย์ตามที่ชุมชนโฮมสเตย์ขอรับการประเมินเข้ามา จากนั้น
ผู้วิจัยจากคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
และพนักงานสานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา
เข้าตรวจประเมินโฮมสเตย์ที่ประสงค์จะขอรับการประเมินร่วมกัน
เพื่อมอบตราสัญลักษณ์มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ซึ่งจากการสารวจ พบว่า ทั่วประเทศมีมากกว่า 104
แห่ง เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2547 คณะกรรมการได้เข้าตรวจประเมินบุไทรโฮมสเตย์ พบว่า
บุไทรโฮมสเตย์เป็นหนึ่งในโฮมสเตย์ 16 แห่ง ที่มีคุณภาพตามตัวชี้วัด
และได้รับตราสัญลักษณ์มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ปี 2548-2549 นอกจากนี้ ยังได้รับการยกย่องเป็น 1 ใน
5 โฮมสเตย์ต้นแบบอีกด้วย ซึ่งมี พิธีมอบตราสัญลักษณ์ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2547 ณ โรงแรมเรดิสัน
กรุงเทพฯ
กลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ามูล
กลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ามูล อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา มีสมาชิกประมาณ 500 คน ใน 5
ตาบล ของอาเภอวังน้าเขียว และมีสมาชิกจากบ้านบุไทรประมาณ 60 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.
ช่วยกันเป็นหูเป็นตาดูแลรักษาสภาพแวดล้อมของอุทยานแห่งชาติป่าสงวนและธรรมชาติ เช่น
ดูแลปกป้องการล่าสัตว์ป่า การป้องกันไฟป่า และการทาลายสิ่งแวดล้อม ลด ละ เลิก
การใช้สารพิษทางการเกษตร ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ 2.
สนับสนุนการดาเนินชีวิตแบบยั่งยืนหรือเกษตรพอเพียง 3. ส่งเสริมการออมทรัพย์และประหยัด
สมาชิกต้องถือหุ้นอย่างน้อย 1 หุ้น ๆ ละ 100 บาท ทุกวันที่ 5 ของเดือนจะมีกิจกรรมฝากเงินออม
โดยกลุ่มจะมีเงินกู้ดอกเบี้ยถูกให้แก่สมาชิก
บุไทรโฮมสเตย์
กลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูล บ้านบุไทร อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ก่อตั้งขึ้น
5
เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2546 โดยการรวมตัวของสมาชิกกลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร โดยมีนายอินทร์
มูลพิมาย เป็นประธานกลุ่มโฮมสเตย์ ภายใต้การสนับสนุนทางวิชาการของโครงการพัฒนาการท่องเที่ยว
ตาบลไทยสามัคคี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
และโครงการให้การรับรองคุณภาพสถานประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว อาเภอวังน้าเขียว
จังหวัดนครราชสีมา โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และวิทยาลัยนครราชสีมา ทั้งนี้
โดยการสนับสนุนการวิจัยจากสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
หลังจากนายอินทร์ มูลพิมาย ได้เข้ารับการอบรมการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศ
และดูงานโฮมสเตย์กับโครงการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จึงได้สารวจตนเองและหมู่บ้านบุไทร
พบว่า มีความพร้อมในเรื่องโฮมสเตย์และการท่องเที่ยวไม่แพ้โฮมสเตย์ที่ได้ไปดูงานมา อีกทั้ง
มีความมั่นใจในการดาเนินการและสนับสนุนของโครงการ
และหากโครงการไม่ประสบผลสาเร็จก็ยังได้ประโยชน์ในเรื่องของคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากความสะอาด
ถูกสุขลักษณะของบ้านเรือนที่อยู่อาศัย
วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร มีดังนี้
1. ให้บริการที่พักแก่นักท่องเที่ยวในการสัมผัสวิถีชีวิตและวัฒนธรรมชนบท
2. เป็นการดาเนินการเพื่อให้เกิดรายได้เสริมแก่ชุมชน
3. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนในชนบท
4. เพื่อส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของอาเภอวังน้าเขียว
5. เพื่อดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นให้ยั่งยืน
6.
เพื่อพัฒนาคนโดยใช้การรวมกลุ่มเป็นสื่อในการปลูกฝังให้มีคุณธรรมและสร้างธรรมรัฐให้เกิดในท้องถิ่น
เพื่อพัฒนาคุณภาพโฮมสเตย์ไทย ในปีงบประมาณ 2546 สานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
ได้ดาเนินการพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพมาตรฐานการจัดการที่พักแบบสัมผัสวัฒนธรรมชนบทหรือโฮมสเตย์
(Home Stay) ขึ้น และได้จัดตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินประจาจังหวัด
เพื่อเข้าประเมินคุณภาพโฮมสเตย์ตามที่ชุมชนโฮมสเตย์ขอรับการประเมินเข้ามา จากนั้น
ผู้วิจัยจากคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
และพนักงานสานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา
เข้าตรวจประเมินโฮมสเตย์ที่ประสงค์จะขอรับการประเมินร่วมกัน
เพื่อมอบตราสัญลักษณ์มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ซึ่งจากการสารวจ พบว่า ทั่วประเทศมีมากกว่า 104
แห่ง เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2547 คณะกรรมการได้เข้าตรวจประเมินบุไทรโฮมสเตย์ พบว่า
บุไทรโฮมสเตย์เป็นหนึ่งในโฮมสเตย์ 16 แห่ง ที่มีคุณภาพตามตัวชี้วัด
และได้รับตราสัญลักษณ์มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ปี 2548-2549 นอกจากนี้ ยังได้รับการยกย่องเป็น 1 ใน
5 โฮมสเตย์ต้นแบบอีกด้วย ซึ่งมีพิธีมอบตราสัญลักษณ์ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2547 ณ โรงแรมเรดิสัน
กรุงเทพ
การพัฒนาและรูปแบบการจัดการที่เป็นเอกลักษณ์ของบุไทรโฮมสเตย์
บุไทรโฮมสเตย์ ได้มีการพัฒนาขึ้นตามหลักวิชาการ
โดยมีนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยในจังหวัดนครราชสีมา
และหน่วยราชการในชุมชนให้การสนับสนุนโดยการพัฒนา และการจัดการได้อิง
6
ดัชนีวัดคุณภาพมาตรฐานโฮมสเตย์ไทยที่พัฒนาโดยสานักพัฒนาการท่องเที่ยว
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ปี 2546 เป็นหลัก ซึ่งมีมาตรฐานคุณภาพ 8 ด้าน รวม 43 ตัวชี้วัด
ได้แก่
1. ด้านที่พัก มี 7 ตัวชี้วัด
2. ด้านอาหารและโภชนาการ มี 6 ตัวชี้วัด
3. ด้านความปลอดภัย มี 5 ตัวชี้วัด
4. ด้านการจัดการ มี 8 ตัวชี้วัด
5. ด้านกิจกรรมท่องเที่ยว มี 6 ตัวชี้วัด
6. ด้านสิ่งแวดล้อม มี 4 ตัวชี้วัด
7. ด้านมูลค่าเพิ่ม มี 4 ตัวชี้วัด
8. ด้านการส่งเสริมการตลาด มี 3 ตัวชี้วัด
อย่างไรก็ตาม ถ้าพูดถึงกลยุทธ์ด้านการตลาด
การบริการหรือผลิตภัณฑ์จะต้องมีเอกลักษณ์ความโดดเด่น แปลก
และแตกต่างจากของผู้ประกกอบการรายอื่น ๆ เช่นเดียวกับบุไทรโฮมสเตย์ ซึ่งจะขอกล่าวถึงจุดเด่น
และเอกลักษณ์ของบุไทรโฮมสเตย์ในแต่ละด้านของตัวชี้วัดคุณภาพมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ดังนี้
1. ด้านที่พัก
บ้านพักของบุไทรโฮมสเตย์ มีจานวนรวมทั้งสิ้น 10 หลังคาเรือน และทั้ง 10 หลังคาเรือน
ได้ผ่านการตรวจประเมินมาตรฐานโฮมสเตย์ไทยของกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬาในปี 2547 บ้านพักทั้ง
10 หลังคาเรือน เป็นบ้านพักของชาวบ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว
จังหวัดนครราชสีมา ตั้งอยู่ใกล้กัน เพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการ และประสานดูแลแขก
สาหรับบ้านโฮมสเตย์นั้น ถึงแม้ว่าเจ้าบ้านและสมาชิกทั้งหมดอาศัยอยู่ในบ้านตามปกติ
แต่จะมีการจัดให้มีสัดส่วนที่เหมาะสมสาหรับนักท่องเที่ยว
ส่วนใหญ่จะจัดห้องส่วนตัวให้เป็นห้องนอนของนักท่องเที่ยว จัดให้มีเตียงหรือฟูก เครื่องนอน และมุ้ง
ให้นักท่องเที่ยว มีการเปลี่ยนผ้าปูที่นอน และปลอกหมอนทุกวัน
มีการดูแลเครื่องนอนอย่างดีให้มีความสะอาดไม่หมักหมม เช่น
นาออกผึ่งแดดให้มีกลิ่นแดดพอประมาณก่อนใช้ทุกวัน นอกจากนี้ ยังมีห้องน้าที่สะอาด
ซึ่งจะอยู่ภายในตัวบ้านหรือนอกบ้านก็ได้ รวมทั้ง เป็นบ้านที่มีสุขลักษณะที่ดี ได้แก่
ความสะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อย
บ้านพักของบุไทรโฮมสเตย์ มีโครงสร้างของบ้านที่แตกต่างกัน แบ่งได้ 3 แบบใหญ่ ๆ ได้แก่
1) บ้านไม้ทั้งหลัง มีลักษณะเป็นบ้านชนบทจริง ๆ ทาด้วยไม้ทั้งหลัง
บางบ้านตีฝาด้วยไม้กระดานไว้ห่าง ๆ อย่างง่าย ๆ บางทีไม่มีหน้าต่าง เพราะอากาศเย็นสบายทั้งปี
ทาให้มีบรรยากาศแปลกไปอีกแบบหนึ่ง
2) บ้านครึ่งปูนครึ่งไม้ ชั้นล่างเป็นปูน แต่ชั้นสองทาด้วยไม้ มีลักษณะเหมือนบ้านชนบททั่วไป
3) บ้านสมัยใหม่ เป็นบ้านที่สร้างด้วยปูนทั้งหลัง มีลักษณะเหมือนบ้านของชาวเมือง
แต่ยังคงมีรูปแบบของชนบทอยู่ด้วยบ้านที่มีลักษณะแตกต่างกันนี้เป็นข้อดีที่จะสามารถตอบสนองความ
ต้องการ
8
ของนักท่องเที่ยว ซึ่งแต่ละคนมีความชอบไม่เหมือนกัน บางคนชอบบ้านชนบทแท้ ๆ
บางคนชอบบ้านสมัยใหม่นอกจากนี้บ้านแต่ละหลังจะมีเอกลักษณ์ของมันเอง
อาจจะเนื่องจากลักษณะของเจ้าของบ้าน อาชีพเจ้าของบ้าน หรือโครงสร้างพิเศษของบ้านแต่ละหลัง
ซึ่งอาจจะเรียกได้ว่าบ้านทุกหลังมีเสน่ห์ของมันเอง
2. ด้านอาหารและโภชนาการ
เจ้าบ้านแต่ละหลังจะพิจารณาจัดทาอาหารพิเศษที่ตนเองมีความถนัดและปรุงได้อร่อย
มีเอกลักษณ์มาบริการนักท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม สามารถแบ่งประเภทของวัตถุดิบที่นามาปรุงอาหารได้
ดังนี้
1) พืชเก็บจากธรรมชาติไม่มีการเพาะปลูก ได้แก่ ผักกูด หน่อไม้ ผักหนาม และผักหวานป่า
2) พืชที่ปลูกอยู่ในท้องถิ่นและบริเวณบ้านของตนเอง เช่น บอน บุก และชะอม
3) พืชที่นาจากถิ่นอื่นมาปลูก และเป็นพืชที่มีอยู่ในท้องตลาดทั่วไป
แต่ก็เป็นชนิดที่พิเศษอยู่มาก เช่น ผักสลัด ข้าวโพดหวาน แครอท รูทบีท เห็ดหอม เห็ดยานางิ ผลไม้ต่าง
ๆ กระเทียมญี่ปุ่น หอมญี่ปุ่น และเสาวรส เป็นต้นจะเห็นได้ว่าวัตถุดิบทั้ง 3 ประเภท
จะเป็นอาหารสุขภาพและเป็นพวกที่ปลอดสารพิษ หรือไร้สารพิษ นามาเตรียมอย่างดี
ปรุงตามตาราของครอบครัว
และปรับรสชาติความเผ็ดและจัดจ้านของอาหารให้เหมาะสมตามกลุ่มนักท่องเที่ยว ทั้งนี้อาหารดังกล่าว
นักท่องเที่ยวไม่สามารถหารับประทานได้ตามภัตตาคารต่าง ๆ เช่น น้าพริกต่าง ๆ ยาผักกูด น้าเสาวรส
แกงบอน แกงบุก อาหารจากเห็ดหอม และเห็ดยานางิ เป็นต้น นอกจากอาหารที่ปรุงเองแล้ว
ในหมู่บ้านยังมีร้านอาหาร ซึ่งนักท่องเที่ยวจะไปใช้บริการได้ หรือกลุ่มผู้รับเหมาทาอาหาร เช่น
ร้านอาหารเมนูเห็ด ครัวเห็ดหอม ร้านขนมจีนชาววังประภาศรี ร้านก๋วยเตี๋ยว ร้านสเต็กจังเกิ้ล
ร้านไก่ย่างส้มตา ร้านขายกล้วยแขก ขนมกล้วย/ฟักทอง/ฟัก
ในหมู่บ้านและมินิมาร์ทขายอาหารขบเคี้ยวและเครื่องดื่มหลายแห่ง ซึ่งมีราคาปกติ
ให้บริการที่ยิ้มแย้มแจ่มใสเป็นกันเองกับนักท่องเที่ยว
ในกรณีที่มีการจัดเลี้ยงรวมเป็นหมู่คณะให้แก่นักท่องเที่ยวที่เป็นกลุ่มใหญ่
เพื่อไม่ให้เกิดความฉุกละหุกในการดูแลนักท่องเที่ยว
และเป็นการกระจายรายได้ให้แก่ชุมชนบุไทรโฮมสเตย์ จึงมีการจัดการอาหารในงานเลี้ยง 3 วิธีการ
ดังนี้คือ
วิธีที่ 1 เจ้าบ้านจะปรุงอาหารที่บ้านตนเอง
และนาอาหารมายังบริเวณที่จัดงานให้บริการเฉพาะแขกที่พักในบ้านของตนเองเท่านั้น
วิธีที่ 2
จะจัดให้กลุ่มแม่บ้านในหมู่บ้านหรือร้านค้าอาหารรับเหมาทาอาหารทั้งหมดตามความประสงค์ของนักท่อ
งเที่ยว เช่น อาจจะเป็น ไก่ย่าง ส้มตา อาหารเห็ด หรืออาหารพื้นบ้าน
วิธีที่ 3 รวมกลุ่มแม่บ้านโฮมสเตย์มาทาอาหารกันเอง ซึ่งวิธีที่ 3
จะเป็นวิธีสุดท้ายที่จะดาเนินการด้วยเหตุผลที่กล่าวข้างต้น
3. ด้านความปลอดภัย
โดยทั่ว ๆ ไป นักท่องเที่ยวจะคานึงถึงความปลอดภัยของตนเองและทรัพย์สินเป็นประการต้น
ๆ เช่น การป้องกันอุบัติเหตุ การเจ็บป่วยกะทันหัน หรือท้องเสียจากอาหารที่รับประทาน การสูญเสีย
9
ทรัพย์สินจากโจร ขโมย หรือทาสิ่งของมีค่าหายแล้วไม่ได้คืน โดยปกติแล้ว ชุมชนของบ้านบุไทร
ตาบลไทยสามัคคี เป็นชุมชนที่มีความสุข สงบ ปราศจากโจร ขโมย
อย่างไรก็ตามเพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดความไม่ปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว
บุไทรโฮมสเตย์ดูแลจัดระบบความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ดังนี้
1) มีการจัดเวรยามรักษาความปลอดภัยอยู่ที่หัวบ้านและท้ายบ้าน ตั้งแต่เวลา 19.00-24.00 น.
ตลอดทุกคืน โดยอาสาสมัครของชุมชน ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาชุมชน และลูกบ้าน รวม 15 คน
หมุนเวียนทาหน้าที่ โดยทางบุไทรโฮมสเตย์จะช่วยค่าใช้จ่ายเข้ากองกลาง 100 บาท/คืน
เฉพาะวันที่ที่แขกมาพัก หรือบริการอาหาร น้าดื่มตามสมควร อาสาสมัครดังกล่าว
ได้รับอนุญาตจากอาเภอและสถานีตารวจ ให้ทาหน้าที่ปกป้องรักษาความสงบในหมู่บ้าน
ซึ่งมีสิทธิ์จับขโมยส่งตารวจได้
2) เจ้าบ้านทุกบ้านมีหมายเลขโทรศัพท์ติดต่อสถานีตารวจและรถพยาบาล
3) มียาสามัญประจาบ้านอยู่ทุกหลังคาเรือน
4) มีการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากสาธารณสุขอาเภอ
5) กรณีนักท่องเที่ยวลืมสิ่งของมีค่าไว้ เจ้าบ้านจะนาส่งคืนเจ้าของทันทีโดยทางไปรษณีย์
6) มีระบบการรับฝากสิ่งของไว้ โดยมีแบบฟอร์มรับฝาก
และทุกบ้านมีตู้ล๊อคเก็บสิ่งของมีค่าที่รับฝากไว้อย่างดี
7) ในชุมชนมีสมุนไพร และวิธีใช้ตามภูมิปัญญาชาวบ้านอยู่เป็นจานวนมาก เช่น ว่านตะขาบ
ป้องกันตะขาบในบริเวณบ้านและถอนพิษตะขาบ นางพญาพันข้อรักษาโรคริดสีดวงทวาร
4. การจัดการ
การดาเนินกิจกรรมโฮมสเตย์
ต้องมีวิธีการจัดการเป็นอย่างดีและเป็นระบบในด้านการบริหารงาน
กลุ่มบุไทรโฮมสเตย์ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหาร
โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของสมาชิกและหลักประชาธิปไตย
ซึ่งคณะกรรมการแต่ละตาแหน่งจะมีบทบาทและหน้าที่ชัดเจน (ดูระเบียบกลุ่ม)
การรับนักท่องเที่ยวจะต้องมีการจองล่วงหน้าทางโทรศัพท์ เพื่อป้องกันความสับสนที่อาจจะเกิดขึ้นได้
จะต้องติดต่อจองกับประธานกลุ่มเพียงผู้เดียวเท่านั้น การจองต้องทราบวัน เวลาที่จะเข้าพัก 1
วันล่วงหน้าก่อนเดินทาง
และโทรศัพท์ติดต่อขณะเดินทางเพื่อให้ทราบเวลาที่แน่นอนที่จะเดินทางมาถึงจุดหมายด้วย
ซึ่งจะทาให้การจัดการต้อนรับโดยเฉพาะการเข้าพักเป็นกลุ่มใหญ่เป็นไปอย่างราบรื่น
เมื่อนักท่องเที่ยวเดินทางมาถึง จะมีการต้อนรับด้วยน้าเสาวรส และผลไม้ท้องถิ่นตามฤดูกาล
หรือข้าวโพดหวานทั้งต้มและย่าง โดยเจ้าบ้านทุกหลังจะมารอรับอย่างพร้อมหน้า
บางครั้งจะมีการจัดดนตรีพื้นบ้านต้อนรับด้วยก็ได้ จากนั้น
จะมีการลงทะเบียนผู้เข้าพักพร้อมชาระค่าใช้จ่ายที่เหลือด้วย
โดยจะมีแบบลงทะเบียนบันทึก ชื่อ ที่อยู่ ที่ชัดเจนพร้อมหมายเลขโทรศัพท์ของนักท่องเที่ยว
และสาเนาบัตรประชาชนเพื่อการติดต่อกันภายหลัง หรือกรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือไม่ปลอดภัยเกิดขึ้น
สาหรับการจัดนักท่องเที่ยวเข้าพัก กรณีมาเป็นกลุ่มใหญ่
จะจัดให้นักท่องเที่ยวชายและหญิงอยู่คนละบ้านไม่พักปะปนกัน
ซึ่งหากไม่มีกรณีเฉพาะจะไม่มีการเลือกบ้าน จะจัดให้อยู่เวียนตามคิวกันไป อย่างไรก็ตาม
หากนักท่องเที่ยวต้องการดูงานและพูดคุยกับเจ้าบ้านเฉพาะราย เช่น การเพาะเห็ดหอม
การทาผักอินทรีย์
10
การปลูกเบญจมาศ หรือสมุนไพร ก็สามารถเข้าพักในบ้านที่เจ้าบ้านประกอบกิจการนั้น ๆ ได้เช่นกัน
กรณีที่นักท่องเที่ยวมาเป็นกลุ่มเล็ก ๆ หรือ 1-2 ครอบครัว
นักท่องเที่ยวสามารถเลือกเข้าพักในบ้านที่ตนเองชอบ หรือบ้านของประธานเอง
จะมีการจัดการให้จานวนการต้อนรับนักท่องเที่ยวในแต่ละหลังเท่ากันในเวลา 1 ปี ทั้งนี้
จึงจะไม่เกิดการเสียเปรียบหรือได้เปรียบระหว่างบ้านแต่ละหลัง การเข้าพักเป็นกลุ่มใหญ่
จะใช้ลานบ้านของประธานกลุ่มเป็นสถานที่ต้อนรับ ทั้งนี้ จะมีศาลาชมหมอกที่รองรับการจัดรับรอง
และรับประทานอาหารได้ 70-80 คน และจะไม่จัดคนเข้าพักบ้านประธาน เนื่องจาก
ประธานจะต้องดูแลการจัดการต่าง ๆ อย่างใกล้ชิด จะไม่มีเวลามาดูแลนักท่องเที่ยวในบ้านของตนเอง
เมื่อเจ้าบ้านนานักท่องเที่ยวเข้าถึงบ้านตัวเองแล้ว
จะมีการแนะนาตนเองและบุคคลในครอบครัวให้รู้จักกัน แนะนาสถานที่ต่าง ๆ
และสิ่งอานวยความสะดวกในบ้าน และห้องพักของนักท่องเที่ยว พร้อมกับการ
เสริฟน้าและของว่างตามสมควร จากนั้น
จะมีการพูดคุยทาความคุ้นเคยและแจ้งให้นักท่องเที่ยวทราบถึงกฎระเบียบ สิ่งที่ทาได้
และทาไม่ได้ให้นักท่องเที่ยวทราบ เช่น การฝากสิ่งของมีค่า การบอกกล่าวก่อนออกจากบ้าน เป็นต้น
เมื่อกิจกรรมการพักและท่องเที่ยวเสร็จสิ้น
ก่อนเดินทางกลับเจ้าของบ้านจะขอให้นักท่องเที่ยวในบ้านตนเอง บันทึกความเห็น ชื่อ ที่อยู่
และเบอร์โทรศัพท์ลงในสมุดเยี่ยม สารวจสิ่งของที่อาจลืมไว้ และพานักท่องเที่ยวไปส่งยังจุดรวมพล ณ
บ้านประธานกลุ่ม เพื่อส่งนักท่องเที่ยวขึ้นรถ และเดินทางกลับ การแบ่งรายได้
ตามระเบียบกลุ่มจะหักเงินเข้ากองกลางร้อยละ 10 ของรายได้ทั้งหมด
เพื่อนามาปันผลและพัฒนากลุ่มต่อไป
5. ด้านกิจกรรมการท่องเที่ยว
กิจกรรมการท่องเที่ยวของอาเภอวังน้าเขียว เป็นการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศ
สิ่งที่นักท่องเที่ยวชอบคืออากาศ ของอาเภอวังน้าเขียวที่เย็นสบาย มีวิวภูเขาที่สวยงาม
และความเป็นมิตรของชาวบ้าน นักท่องเที่ยวจึงมักมาพักผ่อนหย่อนใจคลายเครียดเพื่อสัมผัสธรรมชาติ
มีกิจกรรมระหว่างครอบครัวหรือเพื่อนฝูง โดยนักท่องเที่ยวจะเลือกพักกับโฮมสเตย์ บ้านสวน โรงแรม
รีสอร์ท หรือกางเต็นท์นอนในอุทยานแห่งชาติทับลาน ที่อาเภอวังน้าเขียวจะไม่มีรีสอร์ทใหญ่ ๆ
หรือสนามกอล์ฟ เนื่องจาก เป็นที่อุทยานแห่งชาติไม่สามารถสร้างสิ่งก่อสร้างได้
ที่พักของนักท่องเที่ยวและสภาพทั่วไปจึงเป็นแบบชนบท เรียบง่าย เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวบางกลุ่ม
สถานที่ท่องเที่ยวของอาเภอวังน้าเขียวที่นักท่องเที่ยวสนใจไปเยี่ยมชม ได้แก่
แปลงปลูกเบญจมาศหลากหลายสายพันธุ์ สวนดอกหน้าวัว การประกอบการเกษตรอินทรีย์ ได้แก่
การปลูกผักและการทาสวนผลไม้อินทรีย์ การเพาะเห็ดหอม สวนองุ่น
นอกจากนั้นก็เป็นกิจกรรมในอุทยานแห่งชาติทับลานที่ 11 สวนห้อม อุทยานแห่งชาติทับลานที่ 13
มูลหลง มูลสามง่าม อุทยานป่าเขาภูหลวง ซึ่งสามารถกางเต็นท์นอนและมีกิจกรรมเดินป่า
ศึกษานิเทศก์ในป่า ซึ่งเริ่มมีสัตว์ป่ากลับคืนมา หลังจากที่มีการปลูกป่าและดูแลธรรมชาติมากขึ้น
โดยเฉพาะการเฝ้าดูกระทิงที่เขาแผงม้า และคลองปลากั้ง การศึกษาสมุนไพรในป่า นกนานาชนิดกว่า
200 ชนิด ตลอดจนการชมน้าตกต่าง ๆ
11
ในส่วนของบุไทรโฮมสเตย์นั้น จะมีบริการด้านการท่องเที่ยวและกิจกรรมบันเทิง
มีอัตราค่าบริการ ดังนี้
1) อาสาสมัครนาเที่ยวตามสถานที่เกษตร และอุทยานแห่งชาติ วันละ 300บาท/คน
2) ค่าดนตรีพื้นเมือง 200 บาท
3) การแสดงฟ้อนรา ชุดละ 500 บาท
4) การเล่าประวัติหมู่บ้าน 100 บาท
5) ค่านั่งรถอีแต๊กชมการเกษตรในหมู่บ้าน (การปลูกเบญจมาศ การเพาะเห็ดหอม
ผักปลอดสารพิษ) 100 บาท/เที่ยว
6) ค่าที่พัก คนละ 150 บาท/คืน
7) ค่าอาหาร คนละ 50-75 บาท/มื้อ และอาหารว่าง คนละ 25 บาท/มื้อ
6. ด้านสภาพแวดล้อม
ชุมชนบุไทรโฮมสเตย์ จะร่วมกันรักษาสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน
โดยการรักษาบริเวณบ้านให้สะอาดเรียบร้อย ปลูกต้นไม้ร่มรื่น รวมทั้งไม้ดอกไม้ใบ และผักสวนครัว
รั้วกินได้ ทาการตัดหญ้าตามริมถนนให้ดูเรียบร้อยอยู่เสมอ
ส่วนการกาจัดขยะจะจัดให้มีเข่งไว้ที่หน้าบ้านเพื่อคัดแยกขยะรีไซเคิลพวกพลาสติก เช่น
ขวดน้าพลาสติก และขยะที่จะนาไปทาปุ๋ยได้ ในชุมชนบุไทรจะมีกลุ่มมดแดง
ซึ่งเป็นกลุ่มเยาวชนอายุตั้งแต่ 5-15 ปี รวม 20 คน นาโดยคุณตารัตน์ ทองฉิมพลี
ทาหน้าที่ออกเก็บขยะในชุมชนทุกสัปดาห์ โดยกลุ่มโฮมสเตย์จะให้ค่าขนมคนละ 5-10 บาท/ครั้ง
ตามปริมาณที่เก็บได้
7. ด้านมูลค่าเพิ่ม
ในท้องถิ่นของวังน้าเขียว ยังไม่มีการพัฒนาด้านของที่ระลึกเพื่อจาหน่าย
แต่การสร้างมูลค่าเพิ่มเป็นไปในรูปแบบของการจาหน่ายของฝาก
ที่เป็นผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรแก่นักท่องเที่ยว เช่น ดอกเบญจมาศ ผลไม้ ผักปลอดสารพิษ เห็ดยานางิ
เห็ดหอมสด ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเห็ด เป็นต้น ซึ่งมีผลทาให้เกษตรกรจาหน่ายสินค่าเกษตรได้สูงขึ้น
โดยไม่ต้องมีค่าขนส่งและพ่อค้าคนกลาง
8. ด้านส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์
บุไทรโฮมสเตย์ได้รับการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์วังน้าเขียว ดอทคอม
(www.wangnamkheo.com) ที่พัฒนาโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
แผ่นปลิวที่นาเผยแพร่ตามร้านจาหน่ายอาหาร ที่พักของอาเภอวังน้าเขียว รายการโทรทัศน์ วารสาร
หนังสือพิมพ์ต่าง ๆ ที่มีสื่อมวลชนเข้ามาถ่ายทาและเขียนเรื่อง นอกนั้น จะเป็นปากต่อปาก
โดยกลุ่มเป้าหมายจะเป็น
1) ผู้ใหญ่วัยกลางคนที่มีอาชีพการงานดี พาครอบครัวมาสัมผัสธรรมชาติ
2) กลุ่มเกษตรกรที่สนใจการเกษตรของอาเภอวังน้าเขียว
12
3) นักศึกษาที่มาดูงานด้านการเกษตร
4) กลุ่มผู้สนใจดูงานด้านโฮมสเตย์ และ
5) กลุ่มประชาชนที่สนใจทั่วไป
ติดต่อสอบถาม
1. นายอินทร์ มูลพิมาย ประธานกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร โทรศัพท์ 0-1068-
6887
2. โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศอย่างยั่งยืน อาเภอวังน้าเขียว
จังหวัดนครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย ทีฆชุณหเถียร
หัวหน้าโครงการ ที่อยู่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 111 ถนนมหาวิทยาลัย ตาบลสุรนารี
อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท์และโทรสาร 0-4421-6652 และโทรสาร 0-4422-
4880
ระเบียบข้อบังคับกลุ่มโฮมสเตย์
กลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมรายได้ให้แก่ชุมช
นในแนวทางของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง และพึ่งพาตนเอง
อีกทั้งเป็นการสนับสนุนการท่องเที่ยวของอาเภอวังน้าเขียวอีกด้วย
เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างยั่งยืน ดาเนินงานได้คล่องตัวและมีประสิทธิภาพ
รวมทั้งเอื้อประโยชน์ต่อสมาชิกโดยรวม
จึงเห็นสมควรกาหนดระเบียบเกี่ยวกับการดาเนินงานของกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทรไว้
ดังนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า
"ระเบียบบริหารงานการดาเนินงานของกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร"
ข้อ 2 ที่ตั้งกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร หมู่ที่ 4 ตาบลไทยสามัคคี
อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา
ข้อ 3
วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทรให้บริการที่พักแก่นักท่องเที่ยวในการ
สัมผัสวิถีชีวิตและวัฒนธรรมในชนบท
1. เป็นการดาเนินการเพื่อให้เกิดรายได้เสริมแก่ชุมชน
2. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนในชนบท
3. เพื่อส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของอาเภอวังน้าเขียว
4.
เพื่อพัฒนาคนโดยใช้การรวมกลุ่มเป็นสื่อในการปลูกฝังให้มีคุณธรรมและสร้างธรรมรัฐให้เกิดในท้องถิ่นด้
วย
ข้อ 4 แหล่งที่มาของเงินทุน ประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังนี้
1. การระดมหุ้นของสมาชิก
2. ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ
3. เงินบริจาค
13
ข้อ 5 คุณสมบัติของสมาชิกกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร
1. ผู้สมัครต้องเป็นสมาชิกกลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร
2. ผู้สมัครต้องมีภูมิลาเนาอยู่ในบ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว
จังหวัดนครราชสีมา
3. ผู้สมัครต้องมีบ้านที่มั่นคงและแข็งแรงถูกสุขลักษณะ
4. ผู้สมัครเป็นสมาชิก ต้องมีอายุ 18 ปีขึ้นไป
ข้อ 6 การสมัครเข้าเป็นสมาชิก
การสมัครเป็นสมาชิกให้ผู้ประสงค์จะสมัครเป็นสมาชิกยื่นใบสมัครตามแบบการรับสมัครต่อเลข
านุการแล้วแจ้งให้คณะกรรมการพิจารณาต่อไป
ข้อ 7 สมาชิกขาดหรือพ้นสภาพจากการเป็นสมาชิก เมื่อ
1. ลาออก
2. ตาย
3. ขาดคุณสมบัติของการเป็นสมาชิก
4. ทาให้กลุ่มได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
5. ที่ประชุมใหญ่มีมติให้ออกด้วยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ของจานวนสมาชิกที่มาประชุม
ข้อ 8 การคิดค่าธรรมเนียมแรกเข้า
ค่าธรรมเนียมแรกเข้า รายละ 20 บาท
ข้อ 9 คณะกรรมการบริหารกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร ประกอบด้วย
1. นายอินทร์ มูลพิมาย ประธาน
2. นายดารงค์ ทองฉิมพลี รองประธาน
3. นางพิมพ์ผกา เฉื่อยกลาง เหรัญญิก
4. นางวิภา จันทร์คุ้ม ประชาสัมพันธ์
5. นางสาวรุ่งนภา จันทร์คุ้ม เลขานุการ
ข้อ 10 คณะกรรมการกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร มีอานาจหน้าที่ ดังนี้
1. บริหารจัดการกลุ่มฯ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุด
2. ออกระเบียบข้อบังคับหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารกลุ่มฯ
3. รับสมาชิกและจัดทาทะเบียนสมาชิก
4. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ตามที่คณะกรรมการกลุ่มกาหนดหรือมอบหมาย
ข้อ 11 ประธานกลุ่มฯ มีอานาจหน้าที่ ดังนี้
1. เรียกประชุมคณะกรรมการกลุ่ม
2. แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติงานอย่างหนึ่งอย่างใดตามมติ
หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
3. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามข้อบังคับและมติของคณะกรรมการ
ข้อ 12 ให้รองประธานทาหน้าที่แทนประธาน เมื่อประธานไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือเมื่อ
14
ประธานมอบหมายให้ทาหน้าที่แทน
ข้อ 13 เหรัญญิก มีหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ ดูแลรักษาเงินทุนและรายได้รวม ทั้งการจัดทาบัญชี
พร้อมทั้งควบคุมการใช้จ่ายเงินให้เป็นไปอย่างรอบคอบและเกิดประโยชน์สูงสุด
ข้อ 14 เลขานุการ มีหน้าที่ติดตามประสานงานทั่วไป นักประชุมกรรมการ
จดและทาบันทึกรายงานการประชุม ตลอดจนรายงานผลการดาเนินงานของกองทุน
ข้อ 15 ประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่ผลิตเอกสาร สิ่งพิมพ์ ให้ข่าวสารแก่สมาชิก และหน่วยงานอื่น
ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 16 การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก
และกรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงคะแนนหนึ่งคะแนนเสียง
ในกรณีเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงชี้ขาด
ข้อ 17 ระเบียบการเงิน
1. สมาชิกต้องถือหุ้นอย่างน้อย 1 หุ้น ๆ ละ 500 บาท
2. ดอกผลเงินบริจาคและกองทุนอื่น ให้ถือเป็นรายได้ของกลุ่ม
3. ให้ประธานและกรรมการอีก 2 คน เปิดบัญชีและมีอานาจเบิกจ่ายเงินโดยมีลายมือชื่อ 2 ใน
3 ร่วมกัน
4. การจ่ายเงินของกลุ่มให้ถือมติที่ประชุมเป็นสาคัญ
5. ต้องรายงานการเงินให้แก่ที่ประชุมใหญ่ทราบทุก 12 เดือน
ประกาศ ณ วันที่ 24 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2546
(นายอินทร์ มูลพิมาย)
ประธานกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร
15
แบบฟอร์มรับฝากทรัพย์สินและของมีค่าของผู้เข้าพักโฮมสเตย์
แบบฟอร์มรับฝากทรัพย์สินและของมีค่าของผู้เข้าพักโฮมสเตย์
บ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา
------------------------------------------------------------------------------
เขียนที่ ______________________________
วันที่ ____ เดือน ___________ พ.ศ. _______
ข้าพเจ้า นาย/นาง/นางสาว___________________________ นามสกุล ______________________
อยู่บ้านเลขที่ _______ หมู่ที่ _______ ตาบล __________________ อาเภอ __________________
จังหวัด ____________________อายุ _____ ปี บัตรประจาตัวประชาชนเลขที่ _________________
โทรศัพท์มือถือ ________________________ ซึ่งเป็นผู้เข้าพักโฮมสเตย์ ได้ฝากทรัพย์สินของมีค่ากับ
นาย/นาง/นางสาว ______________________ นามสกุล _________________________________
บ้านเลขที่ _______ หมู่ที่ ________ ตาบล _______________________อาเภอ _______________
จังหวัด___________________ อายุ _______ปี บัตรประจาตัวประชาชนเลขที่ ________________
ซึ่งเป็นเจ้าบ้านผู้ให้เข้าพักโฮมสเตย์ ดังรายการต่อไปนี้
1 __________________________________________________________
2 __________________________________________________________
3 __________________________________________________________
4 __________________________________________________________
5 __________________________________________________________
6 __________________________________________________________
7 __________________________________________________________
8 __________________________________________________________
9 __________________________________________________________
10 _________________________________________________________
(ได้ตรวจสอบสิ่งของแล้วมีจานวนตามรายการที่แจ้งไว้)
ลงชื่อ__________________________ ผู้ฝาก ลงชื่อ __________________________ผู้รับฝาก
(__________________________ ) (__________________________)
วันที่ _____ / ___________ / _______ วันที่ _____ / ____________ / _______
บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ/การศึกษา
1. ขั้นตอนการดาเนินงาน
ลาดับ กิจกรรม วัน/เดือน/ปี
1 รวมสมาชิกในกลุ่ม 4 กรกฎาคม 2556
2 กาหนดเรื่องที่จะศึกษา 5 กรกฎาคม 2556
3 แบ่งหน้าที่ออกสารวจตามสถานที่ต่างๆ 6 – 30 กรกฎาคม 2556
4 รวบรวมข้อมูล 1 กันยายน 2556
5 เรียบเรียงข้อมูล,จัดทารูปเล่ม 8 กันยายน 2556
6 สรุปผลการสารวจ 19 กันยายน 2556
2. อุปกรณ์
1.กล้องถ่ายภาพ 2.สมุดจดบันทึก
3.ปากกา 4.เครื่องบันทึกเสียง
5.ข้อมูลด้านสถานที่ 6.เครื่องมือสื่อสาร
บทที่ 4 ผลการศึกษา
จากการสารวจ และศึกษาบุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ผลการศึกษาเป็นดังนี้
18
19
20
21
22
แผนที่การเดินทาง
บทที่ 5
สรุปผลการศึกษา / ประโยชน์ / ข้อเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา
บุไทรโฮมสเตย์ เป็นโฮมสเตย์มาตรฐานไทยต้นแบบ
ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมรายได้ให้แก่ชุมชนในแนวทางของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง
และพึ่งพาตนเอง อีกทั้งเป็นการสนับสนุนการท่องเที่ยวของอาเภอวังน้าเขียวอีกด้วย
เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างยั่งยืน ดาเนินงานได้คล่องตัวและมีประสิทธิภาพ
รวมทั้งเอื้อประโยชน์ต่อสมาชิกโดยรวม
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ได้ทราบเกี่ยวกับโฮมสเตย์ และมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย
2. เกิดความสามัคคีของหมู่คณะ
3. ได้ทางานร่วมกับเพื่อนๆเพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
4. รู้จักวางแผนการทาโครงงาน
ข้อเสนอแนะ
ในการทาโครงงานครั้งนี้มีปัญหามากมายและคณะผู้จัดทาได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาได้อย่างราบรื่นและคณ
ะผู้จัดทาได้ร่วมมือกันในการทาโครงงานกันอย่างสามัคคีจึงทาให้โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ดี
24
แหล่งข้อมูลอ้างอิง
กรมการท่องเที่ยว
ลุงอินทร์ มูลพิมาย ประธานกลุ่มบุไทรโฮมสเตย์
คุณวิภา จันทร์คุ้ม : เบญจมาศสวน คุณวิภา
http://www.wnk.go.th
http://www.homestaythailand.org
http://www.thaigoodview.com/
http://www.wangnamkheo.com/benjawipa.htm
25
ภาคผนวก
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย

More Related Content

What's hot

โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงThanakorn Chanamai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4Sombom
 

What's hot (20)

โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 

Viewers also liked

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานBenjarin Puanloon
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)Iam Champooh
 
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์อนุชา โคยะทา
 
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษาโครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษาPanupong Srimuang
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นอนุชา โคยะทา
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนNatthawut Sutthi
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002Thidarat Termphon
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 

Viewers also liked (16)

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
โครงงาน53
โครงงาน53โครงงาน53
โครงงาน53
 
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
 
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษาโครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 

Similar to โครงงานสังคม ม.ปลาย

โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong14
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยThanawut Rattanadon
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolJiraporn
 
ปราสาทศีขรภูมิ
ปราสาทศีขรภูมิปราสาทศีขรภูมิ
ปราสาทศีขรภูมิJukkrapong Dasri
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
หม่อนไหม
หม่อนไหมหม่อนไหม
หม่อนไหมammtees
 
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...Mayko Chan
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันพัน พัน
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)Thakhantha
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 Thakhantha
 

Similar to โครงงานสังคม ม.ปลาย (20)

โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom school
 
ปราสาทศีขรภูมิ
ปราสาทศีขรภูมิปราสาทศีขรภูมิ
ปราสาทศีขรภูมิ
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
หม่อนไหม
หม่อนไหมหม่อนไหม
หม่อนไหม
 
Myteacher54
Myteacher54Myteacher54
Myteacher54
 
Myteacher54
Myteacher54Myteacher54
Myteacher54
 
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
 

More from ธนิสร ยางคำ

แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนธนิสร ยางคำ
 
ผลการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์
ผลการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์ผลการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์
ผลการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์ธนิสร ยางคำ
 
โครงการเรียนล่วงหน้ากับ ม.เกษตร
โครงการเรียนล่วงหน้ากับ ม.เกษตรโครงการเรียนล่วงหน้ากับ ม.เกษตร
โครงการเรียนล่วงหน้ากับ ม.เกษตรธนิสร ยางคำ
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์ธนิสร ยางคำ
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ธนิสร ยางคำ
 

More from ธนิสร ยางคำ (7)

โอเน็ต 1
โอเน็ต 1โอเน็ต 1
โอเน็ต 1
 
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
 
ผลการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์
ผลการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์ผลการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์
ผลการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์
 
Social onet[1]
Social onet[1]Social onet[1]
Social onet[1]
 
โครงการเรียนล่วงหน้ากับ ม.เกษตร
โครงการเรียนล่วงหน้ากับ ม.เกษตรโครงการเรียนล่วงหน้ากับ ม.เกษตร
โครงการเรียนล่วงหน้ากับ ม.เกษตร
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
 

โครงงานสังคม ม.ปลาย

  • 1. โครงงานสังคมศึกษา เรื่อง บุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย คณะผู้จัดทา นางสาวสุภานัน พาบัว นางสาวสุพพัตรา คงป้ อม นางสาวมัทนา จาปาโพธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ธนิสร ยางคา ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนวังน้าเขียวพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา
  • 2. ก กิตติกรรมประกาศ โครงงานสังคมศึกษา เรื่อง บุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย เป็นการศึกษามาตรฐานโฮมสเตย์ไทยซึ่งคณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษาที่บ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา และโครงงานชิ้นนี้อยู่ในรายวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ในการศึกษาทาโครงงานในครั้งนี้ คณะผู้จัดทาต้องขอขอบคุณโรงเรียนวังน้าเขียวพิทยาคมและขอขอบคุณท่านผู้อานวยการสถานศึกษา นาย มนู สินจังหรีด อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ กฤตย์ คงสิม อาจารย์ปุณยาพร ประทวนชัย และอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ ธนิสร ยางคา ที่ได้ให้คาแนะนาแก่คณะผู้จัดทา ทั้งนี้ก็ต้องขอขอบคุณนายอินทร์ มูลพิมาย ประธานกลุ่ม เจ้าของสถานที่ที่ให้คณะผู้จัดทาไปศึกษาที่ให้ความอนุเคราะห์ในการทาโครงงานในครั้งนี้และขอขอบคุณ ผู้ปกครองของคณะผู้จัดทาทุกท่าน ที่ให้กาลังใจและการสนับสนุนในการจัดทาโครงงานครั้งนี้ คณะผู้จัดทา
  • 3. ข บทคัดย่อ ชื่อโครงงานบุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวสุภานัน พาบัว 2.นางสาวสุพพัตรา คงป้อม 3.นางสาวมัทนา จาปาโพธิ์ ระดับชั้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2555 ครูที่ปรึกษา อาจารย์ ธนิสร ยางคา โรงเรียน วังน้าเขียวพิทยาคม โครงงานรายวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒธนธรรม ประเภทสารวจ เรื่อง บุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย จัดทาขึ้นศึกษาว่าบุไทรโฮมสเตย์ ได้มาตรฐานโฮมสเตย์ไทยหรือไม่ และเพื่อส่งเสริมให้กลุ่มคนรุ่นใหม่ได้รู้จักภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในปัจจุบันซึ่งเกิดจากการอนุรักษ์สืบทอ ดกันมาของคนในท้องถิ่นนั้นๆ โดยขั้นตอนการศึกษาได้ทาการสารวจพื้นที่ ที่จะศึกษาด้วยการสอบถามและสืบค้นข้อมูล ได้ดาเนินการสารวจในเดือนสิงหาคม- เดือนกันยายน จากการศึกษาครั้งนี้ต้องการที่จะศึกษาความเป็นมาของบุไทรโฮมสเตย์ และในแต่ละที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นอย่างไร มีขั้นตอนการผลิตอย่างไร และประโยชน์ของผลิตภัณฑ์นั้นๆคืออะไร เมื่อเริ่มออกสารวจสถานที่ต่างๆตามที่ต้องการจะศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลเรียบร้อยแล้วก็มีการสืบค้ นข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจากการสารวจ เช่น จากเอกสารจากเว็บไซด์ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เมื่อรวบรวมข้อมูลครบถ้วนแล้วจากนั้นจึงนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเรียบเรียงเนื้อหาและสรุปผลการสา รวจต่อไป จากการทาโครงงาน บุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ได้รับมาตรฐานโฮมสเตย์ไทยปี พ.ศ. 2547 , 2549 ,2551 และปี พ.ศ. 2554 ในการจัดทาโครงงานครั้งนี้ได้ประสบปัญหาและอุปสรรคมากมายเช่น ในช่วงนี้เป็นฤดูฝนการออกเดินทางสารวจจึงไม่สะดวกมากนัก ทั้งสถานที่ ที่ไปศึกษาเป็นบริเวณแหล่งท่องเที่ยวจึงทาให้การติดต่อต้องใช้เวลา อีกทั้งปัญหาของพาหนะที่ต้องใช้ในการเดินทางไม่ค่อยสะดวก รวมถึงด้านทุนทรัพย์ที่ต้องใช้ก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ต้องพบเจอ ดังนั้นคณะผู้จัดทาโครงงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการดาเนินการศึกษาในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ และแนวทางการดาเนินชีวิตของผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมอาชีพที่เป็นมิตรต่อธรรมชาติได้อีกด้วย
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ บทที่ 1 บทนา - ที่มาและความสาคัญ - วัตถุประสงค์ - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - ขอบเขตการศึกษา - ระยะเวลาดาเนินการ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดาเนินการ บทที่ 4 ผลการศึกษา บทที่ 5 สรุป ภาคผนวก
  • 5. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ ในปัจจุบันการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) กาลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น ทั้งในกลุ่มชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ มีการจัดกิจกรรม การท่องเที่ยวในแหล่งชุมชน เพื่อศึกษาเรียนรู้วิถีชีวิต วัฒนธรรม หัตถกรรมของท้องถิ่น โดยมีโฮมสเตย์ที่มีความหมายมากกว่าการเป็นที่พัก เนื่องจากเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวอย่างหนึ่ง ซึ่งยึดเอารูปแบบ ที่พักเป็นศูนย์กลางและจัดให้มีกิจกรรมในด้านต่างๆ ตามความต้องการของ นักท่องเที่ยว อย่างหนึ่ง ซึ่งยึดเอารูปแบบที่พักเป็นศูนย์กลาง และจัดให้มีกิจกรรมในด้านต่างๆ ตามความต้องการของนักท่องเที่ยว รวมอยู่ด้วย การจัดทาโครงงานนี้ ผู้จัดทาทุกคนเป็นคนที่อาศัยอยู่ในบ้านบุไทร และมีความรู้ความเข้าใจสภาพท้องถิ่นของตนเอง และมีความตระหนักในความสาคัญของกิจกรรมโฮมสเตย์ จึงได้คิดทาโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อที่จะนาความรู้ที่ได้นี้เผยแพร่กับชุมชนที่เกี่ยวข้องต่อไป วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของบุไทรโฮมสเตย์ 2.เพื่อศึกษาแหล่งการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในบ้านบุไทร ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้ทราบเกี่ยวกับโฮมสเตย์ และมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย 2.เกิดความสามัคคีของหมู่คณะ 3.ได้ทางานร่วมกับเพื่อนๆเพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 4.รู้จักวางแผนการทาโครงงาน ขอบเขตการศึกษา
  • 6. - บุไทรโฮมสเตย์ บ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา นิยามศัพท์เฉพาะ โฮมสเตย์ (Homestay) หมายถึง การท่องเที่ยวรูปแบบหนึ่ง ที่นักท่องเที่ยวจะต้องพักรวมกับเจ้าของบ้านชายคาเดียวกัน โดยมีห้องพักหรือพื้นที่ใช้สอยภายในบ้านเหลือ สามารถนามาดัดแปลงให้นักท่องเที่ยวได้พักชั่วคราว ซึ่งมีจานวนไม่เกิน 4 ห้อง มีผู้พักรวมกันไม่เกิน 20 คน โดยมีค่าตอบแทน และการจัดสิ่งอานวยความสะดวกตามสมควร อันเป็นลักษณะเป็นการประกอบกิจการเพื่อ 2 หารายได้เสริม ซึ่งเป็นไปตามบทคาว่านิยาม “โรงแรม” แห่งพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 และได้ขึ้นทะเบียนกับกรมการท่องเที่ยว ตามหลักเกณฑ์ที่กรมการท่องเที่ยวกาหนด บุไทรโฮมสเตย์ หมายถึง บ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ระยะเวลาดาเนินการ เดือนกรกฎาคม - เดือนกันยายน พ.ศ.2556
  • 7. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง จากการทาโครงงานสังคมศึกษา เรื่องบุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ครั้งนี้ คณะผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. ความหมายของโฮมสเตย์ 2. ประวัติความเป็นมาของบุไทรโฮมสเตย์ โฮมสเตย์ (Homestay) หมายถึง การท่องเที่ยวรูปแบบหนึ่ง ที่นักท่องเที่ยวจะต้องพักรวมกับเจ้าของบ้านชายคาเดียวกัน โดยมีห้องพักหรือพื้นที่ใช้สอยภายในบ้านเหลือ สามารถนามาดัดแปลงให้นักท่องเที่ยวได้พักชั่วคราว ซึ่งมีจานวนไม่เกิน 4 ห้อง มีผู้พักรวมกันไม่เกิน 20 คน โดยมีค่าตอบแทน และการจัดสิ่งอานวยความสะดวกตามสมควร อันเป็นลักษณะเป็นการประกอบกิจการเพื่อหารายได้เสริม ซึ่งเป็นไปตามบทคาว่านิยาม “โรงแรม” แห่งพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 และได้ขึ้นทะเบียนกับกรมการท่องเที่ยว ตามหลักเกณฑ์ที่กรมการท่องเที่ยวกาหนด ประวัติความเป็นมาของบุไทรโฮมสเตย์ บุไทรโฮมสเตย์ มีที่มาจากเมื่อปี 2543 กลุ่มเกษตรกรบ้านสุขสมบูรณ์ ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ได้ติดต่อเข้ามายังมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เพื่อขอความช่วยเหลือด้านวิชาการเพาะเห็ดหอม ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีได้ค้นพบวิธีการกระตุ้นเห็ดหอมให้ออกดอก ในที่ไม่หนาวเย็นมากนัก มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทาโครงการพัฒนาการผลิตเห็ดหอมเพื่อการค้า โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย ทีฆชุณหเถียร เป็นนักวิจัย เมื่อโครงการก้าวหน้าไปถึง 3 ปี คณาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ได้มองเห็นศักยภาพทางด้านธรรมชาติ การเกษตร และการท่องเที่ยวของตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว
  • 8. จึงได้เลือกตาบลไทยสามัคคีเป็นพื้นที่เป้าหมายในโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเศรษฐ กิจฐานราก ของประเทศตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ในปี 2545 โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวตาบลไทยสามัคคี จึงเริ่มต้นขึ้นในปี 2545 ด้วยการทาความเข้าใจระหว่างทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการทางานร่วมกับชุมชน จากนั้นก็มีการสัมมนาวิเคราะห์พื้นที่และเข้าไปในพื้นที่จริงเพื่อเก็บข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อเป็นการระดมสมองกาหนดแนวทางการพัฒนาจนออกมาเป็นแผนพัฒนาการท่องเที่ยว การประชุมหารือกันเป็นไปอย่างต่อเนื่องทั้งในชุมชนและกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2545 จังหวัดนครราชสีมา ได้มีคาสั่งแต่งตั้ง คณะทางานโครงการพัฒนาการท่องเที่ยวตาบลไทยสามัคคี ประกอบด้วยหน่วยงานตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมาถึงระดับ 4 ตาบลและหมู่บ้าน ในระหว่างปี 2546 โครงการฯ ได้มีบทบาทสาคัญในการประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ ผู้ประกอบการและชุมชน เพื่อเสริมความรู้และประสบการณ์ให้แก่ชุมชน โดยการจัดอบรมด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวรวม 3 หลักสูตร และดูงานด้านโฮมสเตย์ 2 แห่ง จากการศึกษาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของชุมชนและความต้องการของชุมชน พบว่า การให้บริการท่องเที่ยวยังขาดการบริการที่พักแบบโฮมสเตย์ที่จัดการโดยชุมชน ซึ่งกาลังเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว และสามารถเพิ่มรายได้เป็นอาชีพเสริมให้แก่ชาวบ้าน และมีกลุ่มชุมชนที่สนใจให้บริการดังกล่าว ในที่สุดบ้านพักจานวน 10 หลังคาเรือน ของกลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร ได้รับการปรับปรุงภายใต้การสนับสนุนของโครงการ จนกลายเป็นเรือนพักโฮมสเตย์ ซึ่งมี พิธีเปิดโดยอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2546 บุไทรโฮมสเตย์ได้เปิดรับรองแขกครั้งแรกซึ่งเป็นชาวอาเซียนจานวน 40 คน เมื่อวันที่ 24-25 ตุลาคม 2546 และพร้อมสาหรับนักท่องเที่ยวในงานเบญจมาศบานในม่านหมอกปี 2547 ในปีงบประมาณ 2546 สานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้ดาเนินการพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพมาตรฐานการจัดการที่พักแบบสัมผัสวัฒนธรรมชนบทหรือโฮมสเตย์ (Home Stay) ขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพโฮมสเตย์ไทย และได้จัดตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินประจาจังหวัด เพื่อเข้าประเมินคุณภาพโฮมสเตย์ตามที่ชุมชนโฮมสเตย์ขอรับการประเมินเข้ามา จากนั้น ผู้วิจัยจากคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และพนักงานสานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา เข้าตรวจประเมินโฮมสเตย์ที่ประสงค์จะขอรับการประเมินร่วมกัน เพื่อมอบตราสัญลักษณ์มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ซึ่งจากการสารวจ พบว่า ทั่วประเทศมีมากกว่า 104 แห่ง เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2547 คณะกรรมการได้เข้าตรวจประเมินบุไทรโฮมสเตย์ พบว่า บุไทรโฮมสเตย์เป็นหนึ่งในโฮมสเตย์ 16 แห่ง ที่มีคุณภาพตามตัวชี้วัด
  • 9. และได้รับตราสัญลักษณ์มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ปี 2548-2549 นอกจากนี้ ยังได้รับการยกย่องเป็น 1 ใน 5 โฮมสเตย์ต้นแบบอีกด้วย ซึ่งมี พิธีมอบตราสัญลักษณ์ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2547 ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพฯ กลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ามูล กลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ามูล อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา มีสมาชิกประมาณ 500 คน ใน 5 ตาบล ของอาเภอวังน้าเขียว และมีสมาชิกจากบ้านบุไทรประมาณ 60 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ช่วยกันเป็นหูเป็นตาดูแลรักษาสภาพแวดล้อมของอุทยานแห่งชาติป่าสงวนและธรรมชาติ เช่น ดูแลปกป้องการล่าสัตว์ป่า การป้องกันไฟป่า และการทาลายสิ่งแวดล้อม ลด ละ เลิก การใช้สารพิษทางการเกษตร ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ 2. สนับสนุนการดาเนินชีวิตแบบยั่งยืนหรือเกษตรพอเพียง 3. ส่งเสริมการออมทรัพย์และประหยัด สมาชิกต้องถือหุ้นอย่างน้อย 1 หุ้น ๆ ละ 100 บาท ทุกวันที่ 5 ของเดือนจะมีกิจกรรมฝากเงินออม โดยกลุ่มจะมีเงินกู้ดอกเบี้ยถูกให้แก่สมาชิก บุไทรโฮมสเตย์ กลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูล บ้านบุไทร อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ก่อตั้งขึ้น 5 เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2546 โดยการรวมตัวของสมาชิกกลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร โดยมีนายอินทร์ มูลพิมาย เป็นประธานกลุ่มโฮมสเตย์ ภายใต้การสนับสนุนทางวิชาการของโครงการพัฒนาการท่องเที่ยว ตาบลไทยสามัคคี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และโครงการให้การรับรองคุณภาพสถานประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และวิทยาลัยนครราชสีมา ทั้งนี้ โดยการสนับสนุนการวิจัยจากสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) หลังจากนายอินทร์ มูลพิมาย ได้เข้ารับการอบรมการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศ และดูงานโฮมสเตย์กับโครงการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จึงได้สารวจตนเองและหมู่บ้านบุไทร พบว่า มีความพร้อมในเรื่องโฮมสเตย์และการท่องเที่ยวไม่แพ้โฮมสเตย์ที่ได้ไปดูงานมา อีกทั้ง มีความมั่นใจในการดาเนินการและสนับสนุนของโครงการ และหากโครงการไม่ประสบผลสาเร็จก็ยังได้ประโยชน์ในเรื่องของคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากความสะอาด ถูกสุขลักษณะของบ้านเรือนที่อยู่อาศัย วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร มีดังนี้ 1. ให้บริการที่พักแก่นักท่องเที่ยวในการสัมผัสวิถีชีวิตและวัฒนธรรมชนบท 2. เป็นการดาเนินการเพื่อให้เกิดรายได้เสริมแก่ชุมชน 3. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนในชนบท 4. เพื่อส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของอาเภอวังน้าเขียว
  • 10. 5. เพื่อดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นให้ยั่งยืน 6. เพื่อพัฒนาคนโดยใช้การรวมกลุ่มเป็นสื่อในการปลูกฝังให้มีคุณธรรมและสร้างธรรมรัฐให้เกิดในท้องถิ่น เพื่อพัฒนาคุณภาพโฮมสเตย์ไทย ในปีงบประมาณ 2546 สานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้ดาเนินการพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพมาตรฐานการจัดการที่พักแบบสัมผัสวัฒนธรรมชนบทหรือโฮมสเตย์ (Home Stay) ขึ้น และได้จัดตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินประจาจังหวัด เพื่อเข้าประเมินคุณภาพโฮมสเตย์ตามที่ชุมชนโฮมสเตย์ขอรับการประเมินเข้ามา จากนั้น ผู้วิจัยจากคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และพนักงานสานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา เข้าตรวจประเมินโฮมสเตย์ที่ประสงค์จะขอรับการประเมินร่วมกัน เพื่อมอบตราสัญลักษณ์มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ซึ่งจากการสารวจ พบว่า ทั่วประเทศมีมากกว่า 104 แห่ง เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2547 คณะกรรมการได้เข้าตรวจประเมินบุไทรโฮมสเตย์ พบว่า บุไทรโฮมสเตย์เป็นหนึ่งในโฮมสเตย์ 16 แห่ง ที่มีคุณภาพตามตัวชี้วัด และได้รับตราสัญลักษณ์มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ปี 2548-2549 นอกจากนี้ ยังได้รับการยกย่องเป็น 1 ใน 5 โฮมสเตย์ต้นแบบอีกด้วย ซึ่งมีพิธีมอบตราสัญลักษณ์ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2547 ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพ การพัฒนาและรูปแบบการจัดการที่เป็นเอกลักษณ์ของบุไทรโฮมสเตย์ บุไทรโฮมสเตย์ ได้มีการพัฒนาขึ้นตามหลักวิชาการ โดยมีนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยในจังหวัดนครราชสีมา และหน่วยราชการในชุมชนให้การสนับสนุนโดยการพัฒนา และการจัดการได้อิง 6 ดัชนีวัดคุณภาพมาตรฐานโฮมสเตย์ไทยที่พัฒนาโดยสานักพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ปี 2546 เป็นหลัก ซึ่งมีมาตรฐานคุณภาพ 8 ด้าน รวม 43 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1. ด้านที่พัก มี 7 ตัวชี้วัด 2. ด้านอาหารและโภชนาการ มี 6 ตัวชี้วัด 3. ด้านความปลอดภัย มี 5 ตัวชี้วัด 4. ด้านการจัดการ มี 8 ตัวชี้วัด 5. ด้านกิจกรรมท่องเที่ยว มี 6 ตัวชี้วัด 6. ด้านสิ่งแวดล้อม มี 4 ตัวชี้วัด 7. ด้านมูลค่าเพิ่ม มี 4 ตัวชี้วัด 8. ด้านการส่งเสริมการตลาด มี 3 ตัวชี้วัด อย่างไรก็ตาม ถ้าพูดถึงกลยุทธ์ด้านการตลาด
  • 11. การบริการหรือผลิตภัณฑ์จะต้องมีเอกลักษณ์ความโดดเด่น แปลก และแตกต่างจากของผู้ประกกอบการรายอื่น ๆ เช่นเดียวกับบุไทรโฮมสเตย์ ซึ่งจะขอกล่าวถึงจุดเด่น และเอกลักษณ์ของบุไทรโฮมสเตย์ในแต่ละด้านของตัวชี้วัดคุณภาพมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ดังนี้ 1. ด้านที่พัก บ้านพักของบุไทรโฮมสเตย์ มีจานวนรวมทั้งสิ้น 10 หลังคาเรือน และทั้ง 10 หลังคาเรือน ได้ผ่านการตรวจประเมินมาตรฐานโฮมสเตย์ไทยของกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬาในปี 2547 บ้านพักทั้ง 10 หลังคาเรือน เป็นบ้านพักของชาวบ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ตั้งอยู่ใกล้กัน เพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการ และประสานดูแลแขก สาหรับบ้านโฮมสเตย์นั้น ถึงแม้ว่าเจ้าบ้านและสมาชิกทั้งหมดอาศัยอยู่ในบ้านตามปกติ แต่จะมีการจัดให้มีสัดส่วนที่เหมาะสมสาหรับนักท่องเที่ยว ส่วนใหญ่จะจัดห้องส่วนตัวให้เป็นห้องนอนของนักท่องเที่ยว จัดให้มีเตียงหรือฟูก เครื่องนอน และมุ้ง ให้นักท่องเที่ยว มีการเปลี่ยนผ้าปูที่นอน และปลอกหมอนทุกวัน มีการดูแลเครื่องนอนอย่างดีให้มีความสะอาดไม่หมักหมม เช่น นาออกผึ่งแดดให้มีกลิ่นแดดพอประมาณก่อนใช้ทุกวัน นอกจากนี้ ยังมีห้องน้าที่สะอาด ซึ่งจะอยู่ภายในตัวบ้านหรือนอกบ้านก็ได้ รวมทั้ง เป็นบ้านที่มีสุขลักษณะที่ดี ได้แก่ ความสะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อย บ้านพักของบุไทรโฮมสเตย์ มีโครงสร้างของบ้านที่แตกต่างกัน แบ่งได้ 3 แบบใหญ่ ๆ ได้แก่ 1) บ้านไม้ทั้งหลัง มีลักษณะเป็นบ้านชนบทจริง ๆ ทาด้วยไม้ทั้งหลัง บางบ้านตีฝาด้วยไม้กระดานไว้ห่าง ๆ อย่างง่าย ๆ บางทีไม่มีหน้าต่าง เพราะอากาศเย็นสบายทั้งปี ทาให้มีบรรยากาศแปลกไปอีกแบบหนึ่ง 2) บ้านครึ่งปูนครึ่งไม้ ชั้นล่างเป็นปูน แต่ชั้นสองทาด้วยไม้ มีลักษณะเหมือนบ้านชนบททั่วไป 3) บ้านสมัยใหม่ เป็นบ้านที่สร้างด้วยปูนทั้งหลัง มีลักษณะเหมือนบ้านของชาวเมือง แต่ยังคงมีรูปแบบของชนบทอยู่ด้วยบ้านที่มีลักษณะแตกต่างกันนี้เป็นข้อดีที่จะสามารถตอบสนองความ ต้องการ 8 ของนักท่องเที่ยว ซึ่งแต่ละคนมีความชอบไม่เหมือนกัน บางคนชอบบ้านชนบทแท้ ๆ บางคนชอบบ้านสมัยใหม่นอกจากนี้บ้านแต่ละหลังจะมีเอกลักษณ์ของมันเอง อาจจะเนื่องจากลักษณะของเจ้าของบ้าน อาชีพเจ้าของบ้าน หรือโครงสร้างพิเศษของบ้านแต่ละหลัง ซึ่งอาจจะเรียกได้ว่าบ้านทุกหลังมีเสน่ห์ของมันเอง 2. ด้านอาหารและโภชนาการ เจ้าบ้านแต่ละหลังจะพิจารณาจัดทาอาหารพิเศษที่ตนเองมีความถนัดและปรุงได้อร่อย มีเอกลักษณ์มาบริการนักท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม สามารถแบ่งประเภทของวัตถุดิบที่นามาปรุงอาหารได้
  • 12. ดังนี้ 1) พืชเก็บจากธรรมชาติไม่มีการเพาะปลูก ได้แก่ ผักกูด หน่อไม้ ผักหนาม และผักหวานป่า 2) พืชที่ปลูกอยู่ในท้องถิ่นและบริเวณบ้านของตนเอง เช่น บอน บุก และชะอม 3) พืชที่นาจากถิ่นอื่นมาปลูก และเป็นพืชที่มีอยู่ในท้องตลาดทั่วไป แต่ก็เป็นชนิดที่พิเศษอยู่มาก เช่น ผักสลัด ข้าวโพดหวาน แครอท รูทบีท เห็ดหอม เห็ดยานางิ ผลไม้ต่าง ๆ กระเทียมญี่ปุ่น หอมญี่ปุ่น และเสาวรส เป็นต้นจะเห็นได้ว่าวัตถุดิบทั้ง 3 ประเภท จะเป็นอาหารสุขภาพและเป็นพวกที่ปลอดสารพิษ หรือไร้สารพิษ นามาเตรียมอย่างดี ปรุงตามตาราของครอบครัว และปรับรสชาติความเผ็ดและจัดจ้านของอาหารให้เหมาะสมตามกลุ่มนักท่องเที่ยว ทั้งนี้อาหารดังกล่าว นักท่องเที่ยวไม่สามารถหารับประทานได้ตามภัตตาคารต่าง ๆ เช่น น้าพริกต่าง ๆ ยาผักกูด น้าเสาวรส แกงบอน แกงบุก อาหารจากเห็ดหอม และเห็ดยานางิ เป็นต้น นอกจากอาหารที่ปรุงเองแล้ว ในหมู่บ้านยังมีร้านอาหาร ซึ่งนักท่องเที่ยวจะไปใช้บริการได้ หรือกลุ่มผู้รับเหมาทาอาหาร เช่น ร้านอาหารเมนูเห็ด ครัวเห็ดหอม ร้านขนมจีนชาววังประภาศรี ร้านก๋วยเตี๋ยว ร้านสเต็กจังเกิ้ล ร้านไก่ย่างส้มตา ร้านขายกล้วยแขก ขนมกล้วย/ฟักทอง/ฟัก ในหมู่บ้านและมินิมาร์ทขายอาหารขบเคี้ยวและเครื่องดื่มหลายแห่ง ซึ่งมีราคาปกติ ให้บริการที่ยิ้มแย้มแจ่มใสเป็นกันเองกับนักท่องเที่ยว ในกรณีที่มีการจัดเลี้ยงรวมเป็นหมู่คณะให้แก่นักท่องเที่ยวที่เป็นกลุ่มใหญ่ เพื่อไม่ให้เกิดความฉุกละหุกในการดูแลนักท่องเที่ยว และเป็นการกระจายรายได้ให้แก่ชุมชนบุไทรโฮมสเตย์ จึงมีการจัดการอาหารในงานเลี้ยง 3 วิธีการ ดังนี้คือ วิธีที่ 1 เจ้าบ้านจะปรุงอาหารที่บ้านตนเอง และนาอาหารมายังบริเวณที่จัดงานให้บริการเฉพาะแขกที่พักในบ้านของตนเองเท่านั้น วิธีที่ 2 จะจัดให้กลุ่มแม่บ้านในหมู่บ้านหรือร้านค้าอาหารรับเหมาทาอาหารทั้งหมดตามความประสงค์ของนักท่อ งเที่ยว เช่น อาจจะเป็น ไก่ย่าง ส้มตา อาหารเห็ด หรืออาหารพื้นบ้าน วิธีที่ 3 รวมกลุ่มแม่บ้านโฮมสเตย์มาทาอาหารกันเอง ซึ่งวิธีที่ 3 จะเป็นวิธีสุดท้ายที่จะดาเนินการด้วยเหตุผลที่กล่าวข้างต้น 3. ด้านความปลอดภัย โดยทั่ว ๆ ไป นักท่องเที่ยวจะคานึงถึงความปลอดภัยของตนเองและทรัพย์สินเป็นประการต้น ๆ เช่น การป้องกันอุบัติเหตุ การเจ็บป่วยกะทันหัน หรือท้องเสียจากอาหารที่รับประทาน การสูญเสีย 9 ทรัพย์สินจากโจร ขโมย หรือทาสิ่งของมีค่าหายแล้วไม่ได้คืน โดยปกติแล้ว ชุมชนของบ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี เป็นชุมชนที่มีความสุข สงบ ปราศจากโจร ขโมย อย่างไรก็ตามเพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดความไม่ปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว
  • 13. บุไทรโฮมสเตย์ดูแลจัดระบบความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ดังนี้ 1) มีการจัดเวรยามรักษาความปลอดภัยอยู่ที่หัวบ้านและท้ายบ้าน ตั้งแต่เวลา 19.00-24.00 น. ตลอดทุกคืน โดยอาสาสมัครของชุมชน ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาชุมชน และลูกบ้าน รวม 15 คน หมุนเวียนทาหน้าที่ โดยทางบุไทรโฮมสเตย์จะช่วยค่าใช้จ่ายเข้ากองกลาง 100 บาท/คืน เฉพาะวันที่ที่แขกมาพัก หรือบริการอาหาร น้าดื่มตามสมควร อาสาสมัครดังกล่าว ได้รับอนุญาตจากอาเภอและสถานีตารวจ ให้ทาหน้าที่ปกป้องรักษาความสงบในหมู่บ้าน ซึ่งมีสิทธิ์จับขโมยส่งตารวจได้ 2) เจ้าบ้านทุกบ้านมีหมายเลขโทรศัพท์ติดต่อสถานีตารวจและรถพยาบาล 3) มียาสามัญประจาบ้านอยู่ทุกหลังคาเรือน 4) มีการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากสาธารณสุขอาเภอ 5) กรณีนักท่องเที่ยวลืมสิ่งของมีค่าไว้ เจ้าบ้านจะนาส่งคืนเจ้าของทันทีโดยทางไปรษณีย์ 6) มีระบบการรับฝากสิ่งของไว้ โดยมีแบบฟอร์มรับฝาก และทุกบ้านมีตู้ล๊อคเก็บสิ่งของมีค่าที่รับฝากไว้อย่างดี 7) ในชุมชนมีสมุนไพร และวิธีใช้ตามภูมิปัญญาชาวบ้านอยู่เป็นจานวนมาก เช่น ว่านตะขาบ ป้องกันตะขาบในบริเวณบ้านและถอนพิษตะขาบ นางพญาพันข้อรักษาโรคริดสีดวงทวาร 4. การจัดการ การดาเนินกิจกรรมโฮมสเตย์ ต้องมีวิธีการจัดการเป็นอย่างดีและเป็นระบบในด้านการบริหารงาน กลุ่มบุไทรโฮมสเตย์ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหาร โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของสมาชิกและหลักประชาธิปไตย ซึ่งคณะกรรมการแต่ละตาแหน่งจะมีบทบาทและหน้าที่ชัดเจน (ดูระเบียบกลุ่ม) การรับนักท่องเที่ยวจะต้องมีการจองล่วงหน้าทางโทรศัพท์ เพื่อป้องกันความสับสนที่อาจจะเกิดขึ้นได้ จะต้องติดต่อจองกับประธานกลุ่มเพียงผู้เดียวเท่านั้น การจองต้องทราบวัน เวลาที่จะเข้าพัก 1 วันล่วงหน้าก่อนเดินทาง และโทรศัพท์ติดต่อขณะเดินทางเพื่อให้ทราบเวลาที่แน่นอนที่จะเดินทางมาถึงจุดหมายด้วย ซึ่งจะทาให้การจัดการต้อนรับโดยเฉพาะการเข้าพักเป็นกลุ่มใหญ่เป็นไปอย่างราบรื่น เมื่อนักท่องเที่ยวเดินทางมาถึง จะมีการต้อนรับด้วยน้าเสาวรส และผลไม้ท้องถิ่นตามฤดูกาล หรือข้าวโพดหวานทั้งต้มและย่าง โดยเจ้าบ้านทุกหลังจะมารอรับอย่างพร้อมหน้า บางครั้งจะมีการจัดดนตรีพื้นบ้านต้อนรับด้วยก็ได้ จากนั้น จะมีการลงทะเบียนผู้เข้าพักพร้อมชาระค่าใช้จ่ายที่เหลือด้วย โดยจะมีแบบลงทะเบียนบันทึก ชื่อ ที่อยู่ ที่ชัดเจนพร้อมหมายเลขโทรศัพท์ของนักท่องเที่ยว และสาเนาบัตรประชาชนเพื่อการติดต่อกันภายหลัง หรือกรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือไม่ปลอดภัยเกิดขึ้น สาหรับการจัดนักท่องเที่ยวเข้าพัก กรณีมาเป็นกลุ่มใหญ่ จะจัดให้นักท่องเที่ยวชายและหญิงอยู่คนละบ้านไม่พักปะปนกัน ซึ่งหากไม่มีกรณีเฉพาะจะไม่มีการเลือกบ้าน จะจัดให้อยู่เวียนตามคิวกันไป อย่างไรก็ตาม
  • 14. หากนักท่องเที่ยวต้องการดูงานและพูดคุยกับเจ้าบ้านเฉพาะราย เช่น การเพาะเห็ดหอม การทาผักอินทรีย์ 10 การปลูกเบญจมาศ หรือสมุนไพร ก็สามารถเข้าพักในบ้านที่เจ้าบ้านประกอบกิจการนั้น ๆ ได้เช่นกัน กรณีที่นักท่องเที่ยวมาเป็นกลุ่มเล็ก ๆ หรือ 1-2 ครอบครัว นักท่องเที่ยวสามารถเลือกเข้าพักในบ้านที่ตนเองชอบ หรือบ้านของประธานเอง จะมีการจัดการให้จานวนการต้อนรับนักท่องเที่ยวในแต่ละหลังเท่ากันในเวลา 1 ปี ทั้งนี้ จึงจะไม่เกิดการเสียเปรียบหรือได้เปรียบระหว่างบ้านแต่ละหลัง การเข้าพักเป็นกลุ่มใหญ่ จะใช้ลานบ้านของประธานกลุ่มเป็นสถานที่ต้อนรับ ทั้งนี้ จะมีศาลาชมหมอกที่รองรับการจัดรับรอง และรับประทานอาหารได้ 70-80 คน และจะไม่จัดคนเข้าพักบ้านประธาน เนื่องจาก ประธานจะต้องดูแลการจัดการต่าง ๆ อย่างใกล้ชิด จะไม่มีเวลามาดูแลนักท่องเที่ยวในบ้านของตนเอง เมื่อเจ้าบ้านนานักท่องเที่ยวเข้าถึงบ้านตัวเองแล้ว จะมีการแนะนาตนเองและบุคคลในครอบครัวให้รู้จักกัน แนะนาสถานที่ต่าง ๆ และสิ่งอานวยความสะดวกในบ้าน และห้องพักของนักท่องเที่ยว พร้อมกับการ เสริฟน้าและของว่างตามสมควร จากนั้น จะมีการพูดคุยทาความคุ้นเคยและแจ้งให้นักท่องเที่ยวทราบถึงกฎระเบียบ สิ่งที่ทาได้ และทาไม่ได้ให้นักท่องเที่ยวทราบ เช่น การฝากสิ่งของมีค่า การบอกกล่าวก่อนออกจากบ้าน เป็นต้น เมื่อกิจกรรมการพักและท่องเที่ยวเสร็จสิ้น ก่อนเดินทางกลับเจ้าของบ้านจะขอให้นักท่องเที่ยวในบ้านตนเอง บันทึกความเห็น ชื่อ ที่อยู่ และเบอร์โทรศัพท์ลงในสมุดเยี่ยม สารวจสิ่งของที่อาจลืมไว้ และพานักท่องเที่ยวไปส่งยังจุดรวมพล ณ บ้านประธานกลุ่ม เพื่อส่งนักท่องเที่ยวขึ้นรถ และเดินทางกลับ การแบ่งรายได้ ตามระเบียบกลุ่มจะหักเงินเข้ากองกลางร้อยละ 10 ของรายได้ทั้งหมด เพื่อนามาปันผลและพัฒนากลุ่มต่อไป 5. ด้านกิจกรรมการท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยวของอาเภอวังน้าเขียว เป็นการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศ สิ่งที่นักท่องเที่ยวชอบคืออากาศ ของอาเภอวังน้าเขียวที่เย็นสบาย มีวิวภูเขาที่สวยงาม และความเป็นมิตรของชาวบ้าน นักท่องเที่ยวจึงมักมาพักผ่อนหย่อนใจคลายเครียดเพื่อสัมผัสธรรมชาติ มีกิจกรรมระหว่างครอบครัวหรือเพื่อนฝูง โดยนักท่องเที่ยวจะเลือกพักกับโฮมสเตย์ บ้านสวน โรงแรม รีสอร์ท หรือกางเต็นท์นอนในอุทยานแห่งชาติทับลาน ที่อาเภอวังน้าเขียวจะไม่มีรีสอร์ทใหญ่ ๆ หรือสนามกอล์ฟ เนื่องจาก เป็นที่อุทยานแห่งชาติไม่สามารถสร้างสิ่งก่อสร้างได้ ที่พักของนักท่องเที่ยวและสภาพทั่วไปจึงเป็นแบบชนบท เรียบง่าย เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวบางกลุ่ม สถานที่ท่องเที่ยวของอาเภอวังน้าเขียวที่นักท่องเที่ยวสนใจไปเยี่ยมชม ได้แก่ แปลงปลูกเบญจมาศหลากหลายสายพันธุ์ สวนดอกหน้าวัว การประกอบการเกษตรอินทรีย์ ได้แก่ การปลูกผักและการทาสวนผลไม้อินทรีย์ การเพาะเห็ดหอม สวนองุ่น
  • 15. นอกจากนั้นก็เป็นกิจกรรมในอุทยานแห่งชาติทับลานที่ 11 สวนห้อม อุทยานแห่งชาติทับลานที่ 13 มูลหลง มูลสามง่าม อุทยานป่าเขาภูหลวง ซึ่งสามารถกางเต็นท์นอนและมีกิจกรรมเดินป่า ศึกษานิเทศก์ในป่า ซึ่งเริ่มมีสัตว์ป่ากลับคืนมา หลังจากที่มีการปลูกป่าและดูแลธรรมชาติมากขึ้น โดยเฉพาะการเฝ้าดูกระทิงที่เขาแผงม้า และคลองปลากั้ง การศึกษาสมุนไพรในป่า นกนานาชนิดกว่า 200 ชนิด ตลอดจนการชมน้าตกต่าง ๆ 11 ในส่วนของบุไทรโฮมสเตย์นั้น จะมีบริการด้านการท่องเที่ยวและกิจกรรมบันเทิง มีอัตราค่าบริการ ดังนี้ 1) อาสาสมัครนาเที่ยวตามสถานที่เกษตร และอุทยานแห่งชาติ วันละ 300บาท/คน 2) ค่าดนตรีพื้นเมือง 200 บาท 3) การแสดงฟ้อนรา ชุดละ 500 บาท 4) การเล่าประวัติหมู่บ้าน 100 บาท 5) ค่านั่งรถอีแต๊กชมการเกษตรในหมู่บ้าน (การปลูกเบญจมาศ การเพาะเห็ดหอม ผักปลอดสารพิษ) 100 บาท/เที่ยว 6) ค่าที่พัก คนละ 150 บาท/คืน 7) ค่าอาหาร คนละ 50-75 บาท/มื้อ และอาหารว่าง คนละ 25 บาท/มื้อ 6. ด้านสภาพแวดล้อม ชุมชนบุไทรโฮมสเตย์ จะร่วมกันรักษาสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน โดยการรักษาบริเวณบ้านให้สะอาดเรียบร้อย ปลูกต้นไม้ร่มรื่น รวมทั้งไม้ดอกไม้ใบ และผักสวนครัว รั้วกินได้ ทาการตัดหญ้าตามริมถนนให้ดูเรียบร้อยอยู่เสมอ ส่วนการกาจัดขยะจะจัดให้มีเข่งไว้ที่หน้าบ้านเพื่อคัดแยกขยะรีไซเคิลพวกพลาสติก เช่น ขวดน้าพลาสติก และขยะที่จะนาไปทาปุ๋ยได้ ในชุมชนบุไทรจะมีกลุ่มมดแดง ซึ่งเป็นกลุ่มเยาวชนอายุตั้งแต่ 5-15 ปี รวม 20 คน นาโดยคุณตารัตน์ ทองฉิมพลี ทาหน้าที่ออกเก็บขยะในชุมชนทุกสัปดาห์ โดยกลุ่มโฮมสเตย์จะให้ค่าขนมคนละ 5-10 บาท/ครั้ง ตามปริมาณที่เก็บได้ 7. ด้านมูลค่าเพิ่ม ในท้องถิ่นของวังน้าเขียว ยังไม่มีการพัฒนาด้านของที่ระลึกเพื่อจาหน่าย แต่การสร้างมูลค่าเพิ่มเป็นไปในรูปแบบของการจาหน่ายของฝาก ที่เป็นผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรแก่นักท่องเที่ยว เช่น ดอกเบญจมาศ ผลไม้ ผักปลอดสารพิษ เห็ดยานางิ เห็ดหอมสด ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเห็ด เป็นต้น ซึ่งมีผลทาให้เกษตรกรจาหน่ายสินค่าเกษตรได้สูงขึ้น โดยไม่ต้องมีค่าขนส่งและพ่อค้าคนกลาง
  • 16. 8. ด้านส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์ บุไทรโฮมสเตย์ได้รับการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์วังน้าเขียว ดอทคอม (www.wangnamkheo.com) ที่พัฒนาโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี แผ่นปลิวที่นาเผยแพร่ตามร้านจาหน่ายอาหาร ที่พักของอาเภอวังน้าเขียว รายการโทรทัศน์ วารสาร หนังสือพิมพ์ต่าง ๆ ที่มีสื่อมวลชนเข้ามาถ่ายทาและเขียนเรื่อง นอกนั้น จะเป็นปากต่อปาก โดยกลุ่มเป้าหมายจะเป็น 1) ผู้ใหญ่วัยกลางคนที่มีอาชีพการงานดี พาครอบครัวมาสัมผัสธรรมชาติ 2) กลุ่มเกษตรกรที่สนใจการเกษตรของอาเภอวังน้าเขียว 12 3) นักศึกษาที่มาดูงานด้านการเกษตร 4) กลุ่มผู้สนใจดูงานด้านโฮมสเตย์ และ 5) กลุ่มประชาชนที่สนใจทั่วไป ติดต่อสอบถาม 1. นายอินทร์ มูลพิมาย ประธานกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร โทรศัพท์ 0-1068- 6887 2. โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศอย่างยั่งยืน อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย ทีฆชุณหเถียร หัวหน้าโครงการ ที่อยู่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 111 ถนนมหาวิทยาลัย ตาบลสุรนารี อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท์และโทรสาร 0-4421-6652 และโทรสาร 0-4422- 4880 ระเบียบข้อบังคับกลุ่มโฮมสเตย์ กลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมรายได้ให้แก่ชุมช นในแนวทางของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง และพึ่งพาตนเอง อีกทั้งเป็นการสนับสนุนการท่องเที่ยวของอาเภอวังน้าเขียวอีกด้วย เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างยั่งยืน ดาเนินงานได้คล่องตัวและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเอื้อประโยชน์ต่อสมาชิกโดยรวม จึงเห็นสมควรกาหนดระเบียบเกี่ยวกับการดาเนินงานของกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทรไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบบริหารงานการดาเนินงานของกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร"
  • 17. ข้อ 2 ที่ตั้งกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร หมู่ที่ 4 ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ข้อ 3 วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทรให้บริการที่พักแก่นักท่องเที่ยวในการ สัมผัสวิถีชีวิตและวัฒนธรรมในชนบท 1. เป็นการดาเนินการเพื่อให้เกิดรายได้เสริมแก่ชุมชน 2. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนในชนบท 3. เพื่อส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของอาเภอวังน้าเขียว 4. เพื่อพัฒนาคนโดยใช้การรวมกลุ่มเป็นสื่อในการปลูกฝังให้มีคุณธรรมและสร้างธรรมรัฐให้เกิดในท้องถิ่นด้ วย ข้อ 4 แหล่งที่มาของเงินทุน ประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังนี้ 1. การระดมหุ้นของสมาชิก 2. ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ 3. เงินบริจาค 13 ข้อ 5 คุณสมบัติของสมาชิกกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร 1. ผู้สมัครต้องเป็นสมาชิกกลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร 2. ผู้สมัครต้องมีภูมิลาเนาอยู่ในบ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา 3. ผู้สมัครต้องมีบ้านที่มั่นคงและแข็งแรงถูกสุขลักษณะ 4. ผู้สมัครเป็นสมาชิก ต้องมีอายุ 18 ปีขึ้นไป ข้อ 6 การสมัครเข้าเป็นสมาชิก การสมัครเป็นสมาชิกให้ผู้ประสงค์จะสมัครเป็นสมาชิกยื่นใบสมัครตามแบบการรับสมัครต่อเลข านุการแล้วแจ้งให้คณะกรรมการพิจารณาต่อไป ข้อ 7 สมาชิกขาดหรือพ้นสภาพจากการเป็นสมาชิก เมื่อ 1. ลาออก 2. ตาย 3. ขาดคุณสมบัติของการเป็นสมาชิก 4. ทาให้กลุ่มได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง 5. ที่ประชุมใหญ่มีมติให้ออกด้วยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ของจานวนสมาชิกที่มาประชุม ข้อ 8 การคิดค่าธรรมเนียมแรกเข้า ค่าธรรมเนียมแรกเข้า รายละ 20 บาท ข้อ 9 คณะกรรมการบริหารกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร ประกอบด้วย
  • 18. 1. นายอินทร์ มูลพิมาย ประธาน 2. นายดารงค์ ทองฉิมพลี รองประธาน 3. นางพิมพ์ผกา เฉื่อยกลาง เหรัญญิก 4. นางวิภา จันทร์คุ้ม ประชาสัมพันธ์ 5. นางสาวรุ่งนภา จันทร์คุ้ม เลขานุการ ข้อ 10 คณะกรรมการกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร มีอานาจหน้าที่ ดังนี้ 1. บริหารจัดการกลุ่มฯ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุด 2. ออกระเบียบข้อบังคับหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารกลุ่มฯ 3. รับสมาชิกและจัดทาทะเบียนสมาชิก 4. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ตามที่คณะกรรมการกลุ่มกาหนดหรือมอบหมาย ข้อ 11 ประธานกลุ่มฯ มีอานาจหน้าที่ ดังนี้ 1. เรียกประชุมคณะกรรมการกลุ่ม 2. แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติงานอย่างหนึ่งอย่างใดตามมติ หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย 3. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามข้อบังคับและมติของคณะกรรมการ ข้อ 12 ให้รองประธานทาหน้าที่แทนประธาน เมื่อประธานไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือเมื่อ 14 ประธานมอบหมายให้ทาหน้าที่แทน ข้อ 13 เหรัญญิก มีหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ ดูแลรักษาเงินทุนและรายได้รวม ทั้งการจัดทาบัญชี พร้อมทั้งควบคุมการใช้จ่ายเงินให้เป็นไปอย่างรอบคอบและเกิดประโยชน์สูงสุด ข้อ 14 เลขานุการ มีหน้าที่ติดตามประสานงานทั่วไป นักประชุมกรรมการ จดและทาบันทึกรายงานการประชุม ตลอดจนรายงานผลการดาเนินงานของกองทุน ข้อ 15 ประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่ผลิตเอกสาร สิ่งพิมพ์ ให้ข่าวสารแก่สมาชิก และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ข้อ 16 การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก และกรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงคะแนนหนึ่งคะแนนเสียง ในกรณีเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงชี้ขาด ข้อ 17 ระเบียบการเงิน 1. สมาชิกต้องถือหุ้นอย่างน้อย 1 หุ้น ๆ ละ 500 บาท 2. ดอกผลเงินบริจาคและกองทุนอื่น ให้ถือเป็นรายได้ของกลุ่ม 3. ให้ประธานและกรรมการอีก 2 คน เปิดบัญชีและมีอานาจเบิกจ่ายเงินโดยมีลายมือชื่อ 2 ใน 3 ร่วมกัน 4. การจ่ายเงินของกลุ่มให้ถือมติที่ประชุมเป็นสาคัญ 5. ต้องรายงานการเงินให้แก่ที่ประชุมใหญ่ทราบทุก 12 เดือน
  • 19. ประกาศ ณ วันที่ 24 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2546 (นายอินทร์ มูลพิมาย) ประธานกลุ่มโฮมสเตย์อนุรักษ์ต้นน้ามูลบ้านบุไทร 15 แบบฟอร์มรับฝากทรัพย์สินและของมีค่าของผู้เข้าพักโฮมสเตย์ แบบฟอร์มรับฝากทรัพย์สินและของมีค่าของผู้เข้าพักโฮมสเตย์ บ้านบุไทร ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ------------------------------------------------------------------------------ เขียนที่ ______________________________ วันที่ ____ เดือน ___________ พ.ศ. _______ ข้าพเจ้า นาย/นาง/นางสาว___________________________ นามสกุล ______________________ อยู่บ้านเลขที่ _______ หมู่ที่ _______ ตาบล __________________ อาเภอ __________________ จังหวัด ____________________อายุ _____ ปี บัตรประจาตัวประชาชนเลขที่ _________________ โทรศัพท์มือถือ ________________________ ซึ่งเป็นผู้เข้าพักโฮมสเตย์ ได้ฝากทรัพย์สินของมีค่ากับ นาย/นาง/นางสาว ______________________ นามสกุล _________________________________ บ้านเลขที่ _______ หมู่ที่ ________ ตาบล _______________________อาเภอ _______________ จังหวัด___________________ อายุ _______ปี บัตรประจาตัวประชาชนเลขที่ ________________ ซึ่งเป็นเจ้าบ้านผู้ให้เข้าพักโฮมสเตย์ ดังรายการต่อไปนี้
  • 20. 1 __________________________________________________________ 2 __________________________________________________________ 3 __________________________________________________________ 4 __________________________________________________________ 5 __________________________________________________________ 6 __________________________________________________________ 7 __________________________________________________________ 8 __________________________________________________________ 9 __________________________________________________________ 10 _________________________________________________________ (ได้ตรวจสอบสิ่งของแล้วมีจานวนตามรายการที่แจ้งไว้) ลงชื่อ__________________________ ผู้ฝาก ลงชื่อ __________________________ผู้รับฝาก (__________________________ ) (__________________________) วันที่ _____ / ___________ / _______ วันที่ _____ / ____________ / _______ บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ/การศึกษา 1. ขั้นตอนการดาเนินงาน ลาดับ กิจกรรม วัน/เดือน/ปี 1 รวมสมาชิกในกลุ่ม 4 กรกฎาคม 2556 2 กาหนดเรื่องที่จะศึกษา 5 กรกฎาคม 2556 3 แบ่งหน้าที่ออกสารวจตามสถานที่ต่างๆ 6 – 30 กรกฎาคม 2556 4 รวบรวมข้อมูล 1 กันยายน 2556 5 เรียบเรียงข้อมูล,จัดทารูปเล่ม 8 กันยายน 2556 6 สรุปผลการสารวจ 19 กันยายน 2556 2. อุปกรณ์ 1.กล้องถ่ายภาพ 2.สมุดจดบันทึก 3.ปากกา 4.เครื่องบันทึกเสียง 5.ข้อมูลด้านสถานที่ 6.เครื่องมือสื่อสาร
  • 21. บทที่ 4 ผลการศึกษา จากการสารวจ และศึกษาบุไทรโฮมสเตย์ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ผลการศึกษาเป็นดังนี้
  • 22. 18
  • 23. 19
  • 24. 20
  • 25. 21
  • 28. สรุปผลการศึกษา / ประโยชน์ / ข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา บุไทรโฮมสเตย์ เป็นโฮมสเตย์มาตรฐานไทยต้นแบบ ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมรายได้ให้แก่ชุมชนในแนวทางของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง และพึ่งพาตนเอง อีกทั้งเป็นการสนับสนุนการท่องเที่ยวของอาเภอวังน้าเขียวอีกด้วย เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างยั่งยืน ดาเนินงานได้คล่องตัวและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเอื้อประโยชน์ต่อสมาชิกโดยรวม ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ได้ทราบเกี่ยวกับโฮมสเตย์ และมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย 2. เกิดความสามัคคีของหมู่คณะ 3. ได้ทางานร่วมกับเพื่อนๆเพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 4. รู้จักวางแผนการทาโครงงาน ข้อเสนอแนะ ในการทาโครงงานครั้งนี้มีปัญหามากมายและคณะผู้จัดทาได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาได้อย่างราบรื่นและคณ ะผู้จัดทาได้ร่วมมือกันในการทาโครงงานกันอย่างสามัคคีจึงทาให้โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ดี 24
  • 29. แหล่งข้อมูลอ้างอิง กรมการท่องเที่ยว ลุงอินทร์ มูลพิมาย ประธานกลุ่มบุไทรโฮมสเตย์ คุณวิภา จันทร์คุ้ม : เบญจมาศสวน คุณวิภา http://www.wnk.go.th http://www.homestaythailand.org http://www.thaigoodview.com/ http://www.wangnamkheo.com/benjawipa.htm 25