SlideShare a Scribd company logo
วิชา เคมีวิชา เคมี 3 (3 (วว30223)30223)
โดยครูศิริวุฒิ บัวสมานโดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน
กฎอัตราและ
อันดับของ
ปฏิกิริยา
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
กฎอัตราและอันดับปฏิกิริยากฎอัตราและอันดับปฏิกิริยากฎอัตรากฎอัตรา (Rate law) คือความสัมพันธ์
ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับความเข้มข้น
ของสารตั้งต้นแต่ละตัว ซึ่งความเข้มข้นนี้บาง
ตัวอาจมีผลมาก มากตัวอาจมีผลน้อยและบาง
ตัวอาจไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาก็ได้
เรียกความสัมพันธ์นี้ว่า “Law of massLaw of mass
action”action” ซึ่งมีใจความดังนี้
““อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเป็นสัดส่วนอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเป็นสัดส่วน
โดยตรงกับสารตั้งต้นที่เข้าทำาปฏิกิริยาโดยตรงกับสารตั้งต้นที่เข้าทำาปฏิกิริยา
กันกัน””
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
aA + bB → cC
+ dD
สำาหรับปฏิกิริยา
ทั่วไป
r α
[A]m
[B]n
r =
k[A]m
[B]n
aw of mass action เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
เมื่อ r คืออัตราการเกิดปฏิกิริยา
k คือค่าคงที่อัตรา(Rate constant) ซึ่งเป็นค่าคงที่
เฉพาะปฏิกิริยาหนึ่งๆ
ที่อุณหภูมิคงที่ค่าหนึ่ง ค่า k นี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
Specific rate constant
[A] คือความเข้มข้นของสาร A
[B] คือความเข้มข้นของสาร B
m, n คือเลขอันดับปฏิกิริยาเมื่อคิดจากสาร A และสาร B เป็น
หลักตามลำาดับ
และเรียกสมการ r = k[A]m
[B]n
ว่า กฎอัตรา (Rate law) หรือ
สมการอัตรา(Rate equation)
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมานกฎอัตรา (Rate law) หรือ
สมการอัตรา (Rate equation)
เป็นสมการที่แสดงความสัมพันธ์
ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับ
ความเข้มข้นของสารตั้งต้น กฎ
อัตราทำาให้ทราบว่าความเข้มข้น
ของสารใดบ้างมีผลต่ออัตราการ
เกิดปฏิกิริยา และสารตั้งต้นที่มี
ผลนั้นสารใดมีผลมากกว่ากัน
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
อันดับปฏิกิริยา(Order of reaction)
เป็นค่าตัวเลขใดๆ (m, n) อาจเป็นเลขจำานวน
เต็ม หรือเศษส่วนก็ได้ ซึ่งหาได้จากการ
ทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเมื่อเปลี่ยน
ความเข้มข้นของสารตั้งต้นเท่านั้น เป็นเลขที่
บอกให้ทราบว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นอยู่
กับความเข้มข้นของสารตั้งต้นตัวนั้นหรือไม่
และเป็นจำานวนกี่เท่าของความเข้มข้น และ
เรียกผลรวมของ m กับ n ว่า อันดับรวม
ของปฏิกิริยา (Overall order)
นดับปฏิกิริยา(Order of reactioนดับปฏิกิริยา(Order of reactio
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
จากสมการ (1.1) ถ้า r = k[A][B]0
นั่นคือ
m = 1 และ n = 0 จัดเป็นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง
เมื่อเทียบกับสาร A และเป็นปฏิกิริยาอันดับศูนย์
เมื่อเทียบกับสาร B และอันดับรวมของปฏิกิริยา
เท่ากับ 1 เพราะ (1 + 0 = 1) จากอันดับ
ปฏิกิริยาดังกล่าว แสดงว่าอัตราการเกิด
ปฏิกิริยานี้ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสาร A ถ้า
เพิ่มความเข้มข้นของสาร A เป็น 2 เท่า อัตรา
การเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น 2 เท่าเช่นกัน แต่
อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้จะไม่ขึ้นกับความเข้ม
ข้นของสาร B คือจะเพิ่มความเข้มข้นของสาร
B ขึ้นเป็นกี่เท่าก็ตามอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้จะ
คงที่ หรืออาจเขียนความสัมพันธ์ใหม่ได้ดังนี้ r
aA + bB → cC +
dD ……….1.1
ความหมายของอันดับปฏิกิริยาความหมายของอันดับปฏิกิริยา
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
ถ้า r = k[A][B]2
นั่นคือ n = 1 และ m
= 2 จัดว่าเป็นปฏิกิริยาอันดับ 3 (เพราะ m +
n = 3) และจัดเป็นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง เมื่อ
เทียบกับสาร A นั่นคือเมื่อเพิ่มความเข้มข้น
ของสาร A เป็น 2 เท่า อัตราการเกิด
ปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น 2 เท่า แต่จะเป็นปฏิกิริยา
อันดับสองเมื่อเทียบกับสาร B นั่นคือถ้าเพิ่ม
ความเข้มข้นของสาร B ขึ้นเป็น 2 เท่า
อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น 4 เท่า
ถ้า r = k[A][B]2
นั่นคือ n = 1 และ m
= 2 จัดว่าเป็นปฏิกิริยาอันดับ 3 (เพราะ m +
n = 3) และจัดเป็นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง เมื่อ
เทียบกับสาร A นั่นคือเมื่อเพิ่มความเข้มข้น
ของสาร A เป็น 2 เท่า อัตราการเกิด
ปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น 2 เท่า แต่จะเป็นปฏิกิริยา
อันดับสองเมื่อเทียบกับสาร B นั่นคือถ้าเพิ่ม
ความเข้มข้นของสาร B ขึ้นเป็น 2 เท่า
อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น 4 เท่า
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมานตารางที่ 1 ตัวอย่างกฎอัตราของปฏิกิริยา
ในสถานะแก๊ส
ปฏิกิริยา กฎอัตรา
2HI → H2
+ I2
r = k[HI]0
= k
2N2
O → 2N2
+ O2
r = k[N2
O]
CH3
CHO → CH4
+ CO r =
k[CH3
CHO]2
2NO + 2H2
→ N2
+
2H2
O
r = k[NO]2
[H2
]
2NO + Br2
→ 2NOBr r = k[NO]2
[Br]
ที่มา : คณะอนุกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตร์สาขาเคมี, เคมี เล่ม 1 .
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, 2548 : หน้า 275
จากตารางที่ 1 จะเห็นได้ว่าเลขยกกำาลังความเข้มข้นของสารตั้งต้น
ไม่ใช่เลขแสดงจำานวนโมลของสารตั้งต้นนั้น
แต่บางกรณีที่ปฏิกิริยามีขั้นตอนการเกิดเพียงขั้นตอนเดียว หรือเป็นขั้น
กำาหนดอัตราเร็วของปฏิกิริยาอาจมีค่าเท่ากันได้ (ดูเรื่องกลไกปฏิกิริยา)
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน การคำานวณ
เกี่ยวกับกฎอัตราากปฏิกิริยา 2NO(g) + O2
(g) → 2NO2
(g) ซึ่งเกิดที่ 25 °C ได้ผ
การ
ทดลองที่
ความเข้มข้นเริ่ม
ต้น(mol/dm3
)
อัตราเริ่มต้นการ
เกิด NO2
(mol/dm3
.s)NO O2
1
2
3
4
0.01
0.01
0.01
0.02
0.01
0.02
0.03
0.03
0.007
0.014
0.021
0.084
1.จงคำานวณหาค่า m, n และ k
2.จงหากฎอัตรา และอันดับปฏิกิริยา
3.จงคำานวณหาอัตราเริ่มต้นของการเกิด NO2
ถ้าความเข้มข้นของ NO = 0.04 mol/dm3
และ O2
= 0.015 mol/dm3
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน nm
m
m
n
n
n
n
m
m
m
m
m
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
m
m
m
m
m
n
n
n
n
n
n
n n
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
nm
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมานแบบฝึกวิทยายุทธ : เคมี
ขั้นเหนือเทพ 1
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมานแบบฝึกวิทยายุทธ : เคมี
ขั้นเหนือเทพ 2
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมานแบบฝึกวิทยายุทธ : เคมี
ขั้นเหนือเทพ 3
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมานสรุปเกี่ยวกับกฎอัตรา อันดับของ
ปฏิกิริยาและค่าคงที่อัตราaA + bB →
cC + dD
aA + bB →
cC + dD
r =
k[A]m
[B]n
r =
k[A]m
[B]n
1. พิจารณาข้อมูลจากผลการทดลองแล้วหา m
และn โดยดูจจาก[A]และ[B]คงที่2. ถ้าโจทย์ถามหา อันดับรวมของปฏิกิริยา
(overall order) = m + n3. ถ้าโจทย์ถามหา กฎอัตรา/สมการอัตรา (rate
law) → r = k[A]m
[B]n4. ถ้าโจทย์ถามหา ค่าคงที่อัตรา (rate
constant) → k= r / [A]m
[B]n5. ถ้าโจทย์ถามหา อัตราการเกิดปฏิกิริยา(rate
reaction) ให้แทนค่าข้อมูลจากการทดลองที่เท่าใด
ก็ได้หรือที่โจทย์ให้มาลงในสมการ  r =
k[A]m
[B]n
6. ถ้าโจทย์ถามหา ความเข้มข้นของสาร
[A]หรือ[B] ให้แทนค่า r , k ,m ,n ลงในสมการ
 r = k[A]m
[B]n
เช่นหา [A] จะได้ว่า [A]m
= r /
k[B]n
ถ้า m=2 ก็ หารากที่ 2 ทั้งสองข้าง ถ้า m = 3
ก็หารากที่ 3 ทั้งสองข้างของสมการ
7. ถ้าโจทย์ให้แปลความหมายข้อมูลก็อธิบายว่า ถ้าเพิ่ม
[A]หรือ[B] r จะเพิ่มเป็นกี่เท่า8. ถ้าโจทย์ให้เขียนกราฟแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยา ให้แกน
y เป็น[A]หรือ[B]แกน X เป็นเวลา
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
การบ้าน ส่งวันที่
16/11/2553
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
2. จงหาอันดับรวมของปฏิกิริยา
(overall order)3. จงหากฎ
อัตรา(rate law)
4. จงหาค่าคงที่อัตรา
(rate constant)
1. จงหาค่า m, n
และ o
5. จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา(rate reaction)
6. ถ้า [P], [Q] และ [A] = 3 M จงหา
อัตราเร็วของปฏิกิริยา7. ถ้า [P] และ [R] = 1
M จงหา [Q]
8. ถ้า [P],[A] = 1
M จงหา [Q]9. [P] มีผลต่ออัตราการเกิด
ปฏิกิริยาหรือไม่10. จงเขียนกราฟแสดงอัตราเร็วในการเกิด
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมานประลองยุทธ : เคมี
ขั้นเหนือเทพ
ประลองยุทธ : เคมี
ขั้นเหนือเทพ
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู
ศิริวุฒิ บัวสมาน
สวัสดี

More Related Content

What's hot

Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
Saipanya school
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
oraneehussem
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พัน พัน
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
Preeyapat Lengrabam
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ืkanya pinyo
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
Sukanya Nak-on
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
Saipanya school
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
oraneehussem
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
Preeyapat Lengrabam
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

What's hot (20)

Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Similar to 2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา

อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์Nnear .
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000Awirut619
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkamonmart
 
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
kamonmart
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีGesika
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkamonmart
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีja1122
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkorng001
 

Similar to 2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา (14)

Rate
RateRate
Rate
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Rate3
Rate3Rate3
Rate3
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reactionอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

More from Sircom Smarnbua

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
Sircom Smarnbua
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
Sircom Smarnbua
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
Sircom Smarnbua
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
Sircom Smarnbua
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
Sircom Smarnbua
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Sircom Smarnbua
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
Sircom Smarnbua
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
Sircom Smarnbua
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
Sircom Smarnbua
 

More from Sircom Smarnbua (20)

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา

  • 1. วิชา เคมีวิชา เคมี 3 (3 (วว30223)30223) โดยครูศิริวุฒิ บัวสมานโดยครูศิริวุฒิ บัวสมาน กฎอัตราและ อันดับของ ปฏิกิริยา
  • 2. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 3. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน กฎอัตราและอันดับปฏิกิริยากฎอัตราและอันดับปฏิกิริยากฎอัตรากฎอัตรา (Rate law) คือความสัมพันธ์ ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับความเข้มข้น ของสารตั้งต้นแต่ละตัว ซึ่งความเข้มข้นนี้บาง ตัวอาจมีผลมาก มากตัวอาจมีผลน้อยและบาง ตัวอาจไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาก็ได้ เรียกความสัมพันธ์นี้ว่า “Law of massLaw of mass action”action” ซึ่งมีใจความดังนี้ ““อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเป็นสัดส่วนอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเป็นสัดส่วน โดยตรงกับสารตั้งต้นที่เข้าทำาปฏิกิริยาโดยตรงกับสารตั้งต้นที่เข้าทำาปฏิกิริยา กันกัน””
  • 4. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน aA + bB → cC + dD สำาหรับปฏิกิริยา ทั่วไป r α [A]m [B]n r = k[A]m [B]n aw of mass action เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ เมื่อ r คืออัตราการเกิดปฏิกิริยา k คือค่าคงที่อัตรา(Rate constant) ซึ่งเป็นค่าคงที่ เฉพาะปฏิกิริยาหนึ่งๆ ที่อุณหภูมิคงที่ค่าหนึ่ง ค่า k นี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Specific rate constant [A] คือความเข้มข้นของสาร A [B] คือความเข้มข้นของสาร B m, n คือเลขอันดับปฏิกิริยาเมื่อคิดจากสาร A และสาร B เป็น หลักตามลำาดับ และเรียกสมการ r = k[A]m [B]n ว่า กฎอัตรา (Rate law) หรือ สมการอัตรา(Rate equation)
  • 5. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมานกฎอัตรา (Rate law) หรือ สมการอัตรา (Rate equation) เป็นสมการที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับ ความเข้มข้นของสารตั้งต้น กฎ อัตราทำาให้ทราบว่าความเข้มข้น ของสารใดบ้างมีผลต่ออัตราการ เกิดปฏิกิริยา และสารตั้งต้นที่มี ผลนั้นสารใดมีผลมากกว่ากัน
  • 6. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน อันดับปฏิกิริยา(Order of reaction) เป็นค่าตัวเลขใดๆ (m, n) อาจเป็นเลขจำานวน เต็ม หรือเศษส่วนก็ได้ ซึ่งหาได้จากการ ทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเมื่อเปลี่ยน ความเข้มข้นของสารตั้งต้นเท่านั้น เป็นเลขที่ บอกให้ทราบว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นอยู่ กับความเข้มข้นของสารตั้งต้นตัวนั้นหรือไม่ และเป็นจำานวนกี่เท่าของความเข้มข้น และ เรียกผลรวมของ m กับ n ว่า อันดับรวม ของปฏิกิริยา (Overall order) นดับปฏิกิริยา(Order of reactioนดับปฏิกิริยา(Order of reactio
  • 7. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน จากสมการ (1.1) ถ้า r = k[A][B]0 นั่นคือ m = 1 และ n = 0 จัดเป็นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง เมื่อเทียบกับสาร A และเป็นปฏิกิริยาอันดับศูนย์ เมื่อเทียบกับสาร B และอันดับรวมของปฏิกิริยา เท่ากับ 1 เพราะ (1 + 0 = 1) จากอันดับ ปฏิกิริยาดังกล่าว แสดงว่าอัตราการเกิด ปฏิกิริยานี้ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสาร A ถ้า เพิ่มความเข้มข้นของสาร A เป็น 2 เท่า อัตรา การเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น 2 เท่าเช่นกัน แต่ อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้จะไม่ขึ้นกับความเข้ม ข้นของสาร B คือจะเพิ่มความเข้มข้นของสาร B ขึ้นเป็นกี่เท่าก็ตามอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้จะ คงที่ หรืออาจเขียนความสัมพันธ์ใหม่ได้ดังนี้ r aA + bB → cC + dD ……….1.1 ความหมายของอันดับปฏิกิริยาความหมายของอันดับปฏิกิริยา
  • 8. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน ถ้า r = k[A][B]2 นั่นคือ n = 1 และ m = 2 จัดว่าเป็นปฏิกิริยาอันดับ 3 (เพราะ m + n = 3) และจัดเป็นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง เมื่อ เทียบกับสาร A นั่นคือเมื่อเพิ่มความเข้มข้น ของสาร A เป็น 2 เท่า อัตราการเกิด ปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น 2 เท่า แต่จะเป็นปฏิกิริยา อันดับสองเมื่อเทียบกับสาร B นั่นคือถ้าเพิ่ม ความเข้มข้นของสาร B ขึ้นเป็น 2 เท่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น 4 เท่า ถ้า r = k[A][B]2 นั่นคือ n = 1 และ m = 2 จัดว่าเป็นปฏิกิริยาอันดับ 3 (เพราะ m + n = 3) และจัดเป็นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง เมื่อ เทียบกับสาร A นั่นคือเมื่อเพิ่มความเข้มข้น ของสาร A เป็น 2 เท่า อัตราการเกิด ปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น 2 เท่า แต่จะเป็นปฏิกิริยา อันดับสองเมื่อเทียบกับสาร B นั่นคือถ้าเพิ่ม ความเข้มข้นของสาร B ขึ้นเป็น 2 เท่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น 4 เท่า
  • 9. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมานตารางที่ 1 ตัวอย่างกฎอัตราของปฏิกิริยา ในสถานะแก๊ส ปฏิกิริยา กฎอัตรา 2HI → H2 + I2 r = k[HI]0 = k 2N2 O → 2N2 + O2 r = k[N2 O] CH3 CHO → CH4 + CO r = k[CH3 CHO]2 2NO + 2H2 → N2 + 2H2 O r = k[NO]2 [H2 ] 2NO + Br2 → 2NOBr r = k[NO]2 [Br] ที่มา : คณะอนุกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตร์สาขาเคมี, เคมี เล่ม 1 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, 2548 : หน้า 275 จากตารางที่ 1 จะเห็นได้ว่าเลขยกกำาลังความเข้มข้นของสารตั้งต้น ไม่ใช่เลขแสดงจำานวนโมลของสารตั้งต้นนั้น แต่บางกรณีที่ปฏิกิริยามีขั้นตอนการเกิดเพียงขั้นตอนเดียว หรือเป็นขั้น กำาหนดอัตราเร็วของปฏิกิริยาอาจมีค่าเท่ากันได้ (ดูเรื่องกลไกปฏิกิริยา)
  • 10. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน การคำานวณ เกี่ยวกับกฎอัตราากปฏิกิริยา 2NO(g) + O2 (g) → 2NO2 (g) ซึ่งเกิดที่ 25 °C ได้ผ การ ทดลองที่ ความเข้มข้นเริ่ม ต้น(mol/dm3 ) อัตราเริ่มต้นการ เกิด NO2 (mol/dm3 .s)NO O2 1 2 3 4 0.01 0.01 0.01 0.02 0.01 0.02 0.03 0.03 0.007 0.014 0.021 0.084 1.จงคำานวณหาค่า m, n และ k 2.จงหากฎอัตรา และอันดับปฏิกิริยา 3.จงคำานวณหาอัตราเริ่มต้นของการเกิด NO2 ถ้าความเข้มข้นของ NO = 0.04 mol/dm3 และ O2 = 0.015 mol/dm3
  • 11. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน nm m m n n n n m m m m m
  • 12. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน m m m m m n n n n n n n n
  • 13. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน nm
  • 14. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมานแบบฝึกวิทยายุทธ : เคมี ขั้นเหนือเทพ 1
  • 15. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมานแบบฝึกวิทยายุทธ : เคมี ขั้นเหนือเทพ 2
  • 16. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมานแบบฝึกวิทยายุทธ : เคมี ขั้นเหนือเทพ 3
  • 17. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมานสรุปเกี่ยวกับกฎอัตรา อันดับของ ปฏิกิริยาและค่าคงที่อัตราaA + bB → cC + dD aA + bB → cC + dD r = k[A]m [B]n r = k[A]m [B]n 1. พิจารณาข้อมูลจากผลการทดลองแล้วหา m และn โดยดูจจาก[A]และ[B]คงที่2. ถ้าโจทย์ถามหา อันดับรวมของปฏิกิริยา (overall order) = m + n3. ถ้าโจทย์ถามหา กฎอัตรา/สมการอัตรา (rate law) → r = k[A]m [B]n4. ถ้าโจทย์ถามหา ค่าคงที่อัตรา (rate constant) → k= r / [A]m [B]n5. ถ้าโจทย์ถามหา อัตราการเกิดปฏิกิริยา(rate reaction) ให้แทนค่าข้อมูลจากการทดลองที่เท่าใด ก็ได้หรือที่โจทย์ให้มาลงในสมการ  r = k[A]m [B]n 6. ถ้าโจทย์ถามหา ความเข้มข้นของสาร [A]หรือ[B] ให้แทนค่า r , k ,m ,n ลงในสมการ  r = k[A]m [B]n เช่นหา [A] จะได้ว่า [A]m = r / k[B]n ถ้า m=2 ก็ หารากที่ 2 ทั้งสองข้าง ถ้า m = 3 ก็หารากที่ 3 ทั้งสองข้างของสมการ 7. ถ้าโจทย์ให้แปลความหมายข้อมูลก็อธิบายว่า ถ้าเพิ่ม [A]หรือ[B] r จะเพิ่มเป็นกี่เท่า8. ถ้าโจทย์ให้เขียนกราฟแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยา ให้แกน y เป็น[A]หรือ[B]แกน X เป็นเวลา
  • 18. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน การบ้าน ส่งวันที่ 16/11/2553
  • 19. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน 2. จงหาอันดับรวมของปฏิกิริยา (overall order)3. จงหากฎ อัตรา(rate law) 4. จงหาค่าคงที่อัตรา (rate constant) 1. จงหาค่า m, n และ o 5. จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา(rate reaction) 6. ถ้า [P], [Q] และ [A] = 3 M จงหา อัตราเร็วของปฏิกิริยา7. ถ้า [P] และ [R] = 1 M จงหา [Q] 8. ถ้า [P],[A] = 1 M จงหา [Q]9. [P] มีผลต่ออัตราการเกิด ปฏิกิริยาหรือไม่10. จงเขียนกราฟแสดงอัตราเร็วในการเกิด
  • 20. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมานประลองยุทธ : เคมี ขั้นเหนือเทพ ประลองยุทธ : เคมี ขั้นเหนือเทพ
  • 21. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 22. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 23. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 24. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 25. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 26. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 27. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 28. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 29. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 30. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน
  • 31. วิชา เคมี 3 (ว30223) โดย: ครู ศิริวุฒิ บัวสมาน สวัสดี