SlideShare a Scribd company logo
• ผู้แต่ง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. ๖ )
• ลักษณะคาประพันธ์ : บทละครพูดขนาดสั้นมีความยาว ๑ องก์
• จุดประสงค์ในการแต่ง : เพื่อใช้แสดงละครให้ความบันเทิงที่แฝงไว้
ด้วยแง่คิดเกี่ยวกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์ และความเสียสละที่พ่อ
มีต่อลูก
• ที่มาของเรื่อง : เป็นบทพระราชนิพนธ์เรื่องหนึ่งในพระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๖) ที่ทรงผูกเรื่องขึ้นด้วยพระองค์เอง โดย
ทรงใช้นามแฝงว่า “พระขรรค์เพชร”
• รูปแบบงานประพันธ์ : ร้อยแก้ว บทละครพูดขนาดสั้น
• ระยะเวลาในการแต่ง : ราวปี พ.ศ ๒๔๕๓-๒๔๖๘
• รัชกาลที่ ๖ ทรงผูกเรื่องอย่างรัดกุมและดาเนินเรื่องโดยใช้บท
สนทนาของตัวละครโต้ตอบกัน ทาให้ทราบเรื่องราวที่ดาเนินไป และทราบ
เบื้องหลังของตัวละครแต่ละตัว นอกจากนี้ ยังทรงบรรยายกริยาท่าทางของตัว
ละครแต่ละตัวไว้ในวงเล็บ เพื่อช่วยให้นักแสดง แสดงตามบทได้สะดวกและสม
บทบาทยิ่งขึ้น ภาษาที่ใช้ในบทละครนี้ ใช้คาพูดง่ายๆแต่ให้ความหมายคมคาย
ลึกซึ้ง แม้ว่าบางคาที่มีใช้ในอดีตสมัย ๘๐ - ๙๐ปีก่อนแต่ไม่มีใช้ในปัจจุบัน
ผู้อ่านก็ยังพอเดาความหมายได้
• พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้ า
มหาวชิราวุธ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ
สมเด็จพระศรี พัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงพระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๒ มกราคม
พ.ศ. ๒๔๒๓ เมื่อ พระชนมายุ ๘ พรรษา ทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระ
เจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ ากรม ขุนเทพทวาราวดี และต่อมาทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมงกุฎราชกุมาร แทนสมเด็จพระบรมเชษฐา เจ้า
ฟ้ ามหาวชิรุณหิศ ซึ่งสวรรคต และได้เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อ พ.ศ.๒๔๒๓
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นนักปราชญ์ (ทรงได้รับการถวาย
พระ ราชสมัญญาว่า สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า) และทรงเป็นจินตกวีที่ทรง
เชี่ยวชาญทาง ด้านอักษรศาสตร์โบราณคดี มีพระราชนิพนธ์ร้อยแก้วร้อยกรองทั้ง
• ภาษาไทยและอังกฤษ มากกว่า ๒๐๐เรื่อง ทรงใช้นามแฝงต่างๆกัน เช่น อัศว
พาหุ รามจิตติ ศรีอยุธยา พันแหลม นายแก้วนายขวัญ ฯลฯ พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคตเมื่อ วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๔๖๘รวมพะชนมพรรษา ๔๕ พรรษา
• นายล้ามาที่บ้านพระยาภักดีนฤนาถ มีอ้ายคาซึ่งเป็นคนรับใช้ของพระยาภักดี
ให้การต้อนรับ และนั่งคอยดูอยู่ห่างๆเนื่องจากไม่ไว้ใจเพราะเห็นสภาพของนายล้าที่
แต่งตัวปอนๆ ท่าทางดื่มเหล้าจัดจนเมื่อพระยาภักดีกลับมาบ้านได้พบนายล้าจึงทา
ให้ทราบเรื่องราวของคนทั้งสอง จากการสนทนาโต้ตอบกันว่า เดิมนายล้าเป็นเพื่อน
กับพระยาภักดี ซึ่งมีตาแหน่งเป็นหลวงกาธร ส่วน นายล้าเป็นทิพเดชะ นายล้ามี
ภรรยา คือแม่นวล มีลูกสาวคือ แม่ลออ เมื่อแม่ลออมีอายุ 2 ขวบ เศษ นายล้าก็ถูก
จาคุกเพราะทุจริตต่อหน้าที่ แม่นวลเลี้ยงดูลูกสาวมาตามลาพัง ก่อนตายจึงยก ลูก
สาวให้เป็นลูกบุญธรรมของพระยาภักดี นายล้าจาคุกอยู่ ๑๐ ปี ก็ออกจากคุกไปร่วม
ค้าฝิ่นอยู่ กับจีนกิมจีนเง็ก ที่พิษณุโลก พอถูกตารวจจับได้ก็แก้ข้อกล่าวหาเอาตัว
รอดฝ่ายเดียว ต่อมาก็ ตกอยู่ในสภาพสิ้นเนื้อประดาตัว จึงตั้งใจจะมาอยู่กับแม่ลออ
ซึ่ง มีอายุ ๑๗ ปี กาลังจะแต่งงาน กับนายทองคา แต่พระยาภักดีพยายามชี้แจง
• ให้นายล้าเห็นแก่ลูกสาวไม่ต้องการให้ถูกคนอื่น รังเกียจว่ามีพ่อเป็นคนขี้คุก
และฉ้อโกง จนในที่สุดเสนอเงินให้ 100 ชั่ง แต่นายล้าก็ไม่ยอมเมื่อ แม่ลออ
กลับมาถึง นายล้าจึงได้รู้จักกับแม่ลออและได้เห็นประจักษ์ว่าตนเลวเกินกว่าจะ
เป็นพ่อ ของแม่ลออ ซึ่งหล่อนได้วาดภาพพ่อไว้ในใจว่า พ่อเป็นคนดีที่หาที่ติ
ไม่ได้เลย
• ๑.ความดีความชั่วที่บุคคลได้กระทาลงไป อาจส่งผลช้าหรือเร็ว ขึ้นอยู่กับปัจจัย
อื่นๆหลายประการ
๒.เหตุการณ์ที่กระทบใจมนุษย์ และมีผลให้มนุษย์แปรเปลี่ยนความตั้งใจไปได้
อย่างตรงกันข้ามนั้น อาจเกิดได้โดยไม่ได้คาดฝัน และโดยมิใช่เจตนาของใคร
ทั้งสิ้น
๓.ความรักและความภูมิใจที่บิดามีต่อบุตร ทาให้บิดายอมเสียสละให้แก่บุตร
โดยไม่หวังผลตอบแทน ใดๆทั้งสิ้น
๔.ความรักอันบริสุทธิ์ที่บุคคล 2 คนมีต่อกันนั้น จะไม่จากัดอยู่เฉพาะบุคคล 2
คน เท่านั้น แต่อาจเผื่อแผ่ไปถึงบุคคลที่เป็นเลือดเนื้อเชื้อไขของอีกฝ่ายหนึ่ง
ด้วย
๕.การพึ่งตัวเองเป็นสิ่งที่ควรปฎิบัติก่อนที่จะพึ่งพาอาศัยผู้อื่น
• ๖.การที่ทาความผิดแล้วสานึกในความผิด สมควรได้รับการให้อภัย
• ๗.คนเราทุกคนย่อมรักและหวังดีต่อลูกและพร้อมที่จะเสียสละเพื่อลูกได้
• ๘.คนที่ทาความดีย่อมได้รับผลดีตอบแทน ถ้าทาความชั่วก็ย่อมได้รับผลของ
ความชั่วนั้น
• ๙.การประพฤติตนไม่เหมาะสม เช่นการ ฉ้อราษฎร์บังหลวง ย่อมได้รับผล
ของการกระทานั้น
• ๑๐.คนเราควรรับผิดชอบในครอบครัวของตน เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อ
สังคม เช่นลูกขาดพ่อแม่
• ๑๑.การพึ่งตัวเองเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติก่อนที่จะพึ่งพาอาศัยผู้อื่น
• ๑๒.การที่ทาความผิดแล้วสานึกในความผิด สมควรได้รับการให้อภัย
• ๑. รับประทานโทษ หมายถึง ได้รับโทษ
• ๒. เกลอเก่า หมายถึง เพื่อนเก่า
• ๓. เป็นโทษ หมายถึง ได้รับโทษ
• ๔. หมอความ หมายถึง ทนายความ
• ๕. ระหาย หมายถึง กระหายน้า
• ๖. เกล้ากระผม หมายถึง ผม(คาเรียกตนเอง)
• ๗. อินัง หมายถึง สนใจ เอาใจใส่
• ๘. สาวใหญ่ หมายถึง ผู้หญิงที่โตเป็นสาวแล้ว
• ๙. ดูเกินเวลา หมายถึง ไม่ทันเวลา
• ๑๐. มีเหย้ามีเรือน หมายถึง แต่งงานมีครอบครัว
• ๑๑.ตกรก หมายถึง ตกนรก
• ๑๒. อาญาจักร หมายถึง โทษ
• ๑๓. เสมียนบาญชี หมายถึง นักบัญชี
• นายล้า ในตอนแรกเมื่อตนเองหมดหนทาง คิดจะมาเกาะแม่ลออแต่ตอนหลัง
ก็กลับตัวกลับใจ
• เจ้าคุณภักดี เป็นผู้ชายที่รักจริง (รักแม่ของ แม่ลออ) แล้วก็เป็นพ่อที่ดีมาก
รักแม่ลออเหมือนลูกในไส้
• บ่าวเจ้าคุณ เป็นคนที่ซื่อสัตย์
• แม่ลออ ไร้เดียงสา ดูสุภาพเรียบร้อย มีมารยาท
• จงตอบคาถามต่อไปนี้
• ๑.รัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก โดยใช้พระ
นามแฝงว่า
• ๒. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระนามเดิมคือ
• ๓.เรื่องเห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดกี่องค์
• ๔.อาญาจักร หมายถึง
• ๕.วิธีการเขียนบทละครพูดมีวิธีการดาเนินเรื่องเหมือนงานเขียนประเภทใด
• ๖.คุณสมบัติที่สาคัญที่สุดของวรรณกรรมประเภทบทละครพูดคืออะไร
• ๗.“การละครเป็นวิธีหนึ่งแห่งการอบรมจิตใจ” เรื่องเห็นแก่ลูกให้คติสอนใจใน
เรื่องใด
• ๘.เรื่องเห็นแก่ลูกให้คติสอนใจในด้านใดมากที่สุด
• ๙.การที่อ้ายคาไม่ไว้ใจนายล้า เมื่อพบกันครั้งแรกเป็นเพราะเหตุใด
• ๑๐. “ฉันไม่สู้แน่ใจ ดูเหมือนจะจาได้คลับคล้ายคลับคลา”ผู้พูดกล่าวแสดงให้
รู้สึกว่า
• ๑๑.นายล้ามีลักษณะนิสัยอย่างไร
• ๑๒.การจบเรื่องเห็นแก่ลูกใช้กลวิธีใด
• ๑๓.สาแดง หมายถึง
• ๑๔.ระหายน้า หมายถึง
• ๑๕.รับประทานโทษ หมายถึง
• ๑๖.เกลอเก่า หมายถึง
• ๑๗.ห้าสิบชั่ง เท่ากับ จานวนเงินเท่าไรในปัจจุบัน

More Related Content

What's hot

กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552Duangjai Boonmeeprasert
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Kannaree Jar
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มNattha-aoy Unchai
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายkrunoree.wordpress.com
 

What's hot (20)

กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก

  • 1.
  • 2.
  • 3. • ผู้แต่ง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. ๖ ) • ลักษณะคาประพันธ์ : บทละครพูดขนาดสั้นมีความยาว ๑ องก์ • จุดประสงค์ในการแต่ง : เพื่อใช้แสดงละครให้ความบันเทิงที่แฝงไว้ ด้วยแง่คิดเกี่ยวกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์ และความเสียสละที่พ่อ มีต่อลูก • ที่มาของเรื่อง : เป็นบทพระราชนิพนธ์เรื่องหนึ่งในพระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๖) ที่ทรงผูกเรื่องขึ้นด้วยพระองค์เอง โดย ทรงใช้นามแฝงว่า “พระขรรค์เพชร” • รูปแบบงานประพันธ์ : ร้อยแก้ว บทละครพูดขนาดสั้น • ระยะเวลาในการแต่ง : ราวปี พ.ศ ๒๔๕๓-๒๔๖๘
  • 4. • รัชกาลที่ ๖ ทรงผูกเรื่องอย่างรัดกุมและดาเนินเรื่องโดยใช้บท สนทนาของตัวละครโต้ตอบกัน ทาให้ทราบเรื่องราวที่ดาเนินไป และทราบ เบื้องหลังของตัวละครแต่ละตัว นอกจากนี้ ยังทรงบรรยายกริยาท่าทางของตัว ละครแต่ละตัวไว้ในวงเล็บ เพื่อช่วยให้นักแสดง แสดงตามบทได้สะดวกและสม บทบาทยิ่งขึ้น ภาษาที่ใช้ในบทละครนี้ ใช้คาพูดง่ายๆแต่ให้ความหมายคมคาย ลึกซึ้ง แม้ว่าบางคาที่มีใช้ในอดีตสมัย ๘๐ - ๙๐ปีก่อนแต่ไม่มีใช้ในปัจจุบัน ผู้อ่านก็ยังพอเดาความหมายได้
  • 5. • พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้ า มหาวชิราวุธ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรี พัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงพระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ เมื่อ พระชนมายุ ๘ พรรษา ทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระ เจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ ากรม ขุนเทพทวาราวดี และต่อมาทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมงกุฎราชกุมาร แทนสมเด็จพระบรมเชษฐา เจ้า ฟ้ ามหาวชิรุณหิศ ซึ่งสวรรคต และได้เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อ พ.ศ.๒๔๒๓ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นนักปราชญ์ (ทรงได้รับการถวาย พระ ราชสมัญญาว่า สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า) และทรงเป็นจินตกวีที่ทรง เชี่ยวชาญทาง ด้านอักษรศาสตร์โบราณคดี มีพระราชนิพนธ์ร้อยแก้วร้อยกรองทั้ง
  • 6. • ภาษาไทยและอังกฤษ มากกว่า ๒๐๐เรื่อง ทรงใช้นามแฝงต่างๆกัน เช่น อัศว พาหุ รามจิตติ ศรีอยุธยา พันแหลม นายแก้วนายขวัญ ฯลฯ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคตเมื่อ วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘รวมพะชนมพรรษา ๔๕ พรรษา
  • 7. • นายล้ามาที่บ้านพระยาภักดีนฤนาถ มีอ้ายคาซึ่งเป็นคนรับใช้ของพระยาภักดี ให้การต้อนรับ และนั่งคอยดูอยู่ห่างๆเนื่องจากไม่ไว้ใจเพราะเห็นสภาพของนายล้าที่ แต่งตัวปอนๆ ท่าทางดื่มเหล้าจัดจนเมื่อพระยาภักดีกลับมาบ้านได้พบนายล้าจึงทา ให้ทราบเรื่องราวของคนทั้งสอง จากการสนทนาโต้ตอบกันว่า เดิมนายล้าเป็นเพื่อน กับพระยาภักดี ซึ่งมีตาแหน่งเป็นหลวงกาธร ส่วน นายล้าเป็นทิพเดชะ นายล้ามี ภรรยา คือแม่นวล มีลูกสาวคือ แม่ลออ เมื่อแม่ลออมีอายุ 2 ขวบ เศษ นายล้าก็ถูก จาคุกเพราะทุจริตต่อหน้าที่ แม่นวลเลี้ยงดูลูกสาวมาตามลาพัง ก่อนตายจึงยก ลูก สาวให้เป็นลูกบุญธรรมของพระยาภักดี นายล้าจาคุกอยู่ ๑๐ ปี ก็ออกจากคุกไปร่วม ค้าฝิ่นอยู่ กับจีนกิมจีนเง็ก ที่พิษณุโลก พอถูกตารวจจับได้ก็แก้ข้อกล่าวหาเอาตัว รอดฝ่ายเดียว ต่อมาก็ ตกอยู่ในสภาพสิ้นเนื้อประดาตัว จึงตั้งใจจะมาอยู่กับแม่ลออ ซึ่ง มีอายุ ๑๗ ปี กาลังจะแต่งงาน กับนายทองคา แต่พระยาภักดีพยายามชี้แจง
  • 8. • ให้นายล้าเห็นแก่ลูกสาวไม่ต้องการให้ถูกคนอื่น รังเกียจว่ามีพ่อเป็นคนขี้คุก และฉ้อโกง จนในที่สุดเสนอเงินให้ 100 ชั่ง แต่นายล้าก็ไม่ยอมเมื่อ แม่ลออ กลับมาถึง นายล้าจึงได้รู้จักกับแม่ลออและได้เห็นประจักษ์ว่าตนเลวเกินกว่าจะ เป็นพ่อ ของแม่ลออ ซึ่งหล่อนได้วาดภาพพ่อไว้ในใจว่า พ่อเป็นคนดีที่หาที่ติ ไม่ได้เลย
  • 9. • ๑.ความดีความชั่วที่บุคคลได้กระทาลงไป อาจส่งผลช้าหรือเร็ว ขึ้นอยู่กับปัจจัย อื่นๆหลายประการ ๒.เหตุการณ์ที่กระทบใจมนุษย์ และมีผลให้มนุษย์แปรเปลี่ยนความตั้งใจไปได้ อย่างตรงกันข้ามนั้น อาจเกิดได้โดยไม่ได้คาดฝัน และโดยมิใช่เจตนาของใคร ทั้งสิ้น ๓.ความรักและความภูมิใจที่บิดามีต่อบุตร ทาให้บิดายอมเสียสละให้แก่บุตร โดยไม่หวังผลตอบแทน ใดๆทั้งสิ้น ๔.ความรักอันบริสุทธิ์ที่บุคคล 2 คนมีต่อกันนั้น จะไม่จากัดอยู่เฉพาะบุคคล 2 คน เท่านั้น แต่อาจเผื่อแผ่ไปถึงบุคคลที่เป็นเลือดเนื้อเชื้อไขของอีกฝ่ายหนึ่ง ด้วย ๕.การพึ่งตัวเองเป็นสิ่งที่ควรปฎิบัติก่อนที่จะพึ่งพาอาศัยผู้อื่น
  • 10. • ๖.การที่ทาความผิดแล้วสานึกในความผิด สมควรได้รับการให้อภัย • ๗.คนเราทุกคนย่อมรักและหวังดีต่อลูกและพร้อมที่จะเสียสละเพื่อลูกได้ • ๘.คนที่ทาความดีย่อมได้รับผลดีตอบแทน ถ้าทาความชั่วก็ย่อมได้รับผลของ ความชั่วนั้น • ๙.การประพฤติตนไม่เหมาะสม เช่นการ ฉ้อราษฎร์บังหลวง ย่อมได้รับผล ของการกระทานั้น • ๑๐.คนเราควรรับผิดชอบในครอบครัวของตน เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อ สังคม เช่นลูกขาดพ่อแม่ • ๑๑.การพึ่งตัวเองเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติก่อนที่จะพึ่งพาอาศัยผู้อื่น • ๑๒.การที่ทาความผิดแล้วสานึกในความผิด สมควรได้รับการให้อภัย
  • 11. • ๑. รับประทานโทษ หมายถึง ได้รับโทษ • ๒. เกลอเก่า หมายถึง เพื่อนเก่า • ๓. เป็นโทษ หมายถึง ได้รับโทษ • ๔. หมอความ หมายถึง ทนายความ • ๕. ระหาย หมายถึง กระหายน้า • ๖. เกล้ากระผม หมายถึง ผม(คาเรียกตนเอง) • ๗. อินัง หมายถึง สนใจ เอาใจใส่ • ๘. สาวใหญ่ หมายถึง ผู้หญิงที่โตเป็นสาวแล้ว • ๙. ดูเกินเวลา หมายถึง ไม่ทันเวลา
  • 12. • ๑๐. มีเหย้ามีเรือน หมายถึง แต่งงานมีครอบครัว • ๑๑.ตกรก หมายถึง ตกนรก • ๑๒. อาญาจักร หมายถึง โทษ • ๑๓. เสมียนบาญชี หมายถึง นักบัญชี
  • 13. • นายล้า ในตอนแรกเมื่อตนเองหมดหนทาง คิดจะมาเกาะแม่ลออแต่ตอนหลัง ก็กลับตัวกลับใจ • เจ้าคุณภักดี เป็นผู้ชายที่รักจริง (รักแม่ของ แม่ลออ) แล้วก็เป็นพ่อที่ดีมาก รักแม่ลออเหมือนลูกในไส้ • บ่าวเจ้าคุณ เป็นคนที่ซื่อสัตย์ • แม่ลออ ไร้เดียงสา ดูสุภาพเรียบร้อย มีมารยาท
  • 14. • จงตอบคาถามต่อไปนี้ • ๑.รัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก โดยใช้พระ นามแฝงว่า • ๒. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระนามเดิมคือ • ๓.เรื่องเห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดกี่องค์ • ๔.อาญาจักร หมายถึง • ๕.วิธีการเขียนบทละครพูดมีวิธีการดาเนินเรื่องเหมือนงานเขียนประเภทใด • ๖.คุณสมบัติที่สาคัญที่สุดของวรรณกรรมประเภทบทละครพูดคืออะไร • ๗.“การละครเป็นวิธีหนึ่งแห่งการอบรมจิตใจ” เรื่องเห็นแก่ลูกให้คติสอนใจใน เรื่องใด
  • 15. • ๘.เรื่องเห็นแก่ลูกให้คติสอนใจในด้านใดมากที่สุด • ๙.การที่อ้ายคาไม่ไว้ใจนายล้า เมื่อพบกันครั้งแรกเป็นเพราะเหตุใด • ๑๐. “ฉันไม่สู้แน่ใจ ดูเหมือนจะจาได้คลับคล้ายคลับคลา”ผู้พูดกล่าวแสดงให้ รู้สึกว่า • ๑๑.นายล้ามีลักษณะนิสัยอย่างไร • ๑๒.การจบเรื่องเห็นแก่ลูกใช้กลวิธีใด • ๑๓.สาแดง หมายถึง • ๑๔.ระหายน้า หมายถึง • ๑๕.รับประทานโทษ หมายถึง • ๑๖.เกลอเก่า หมายถึง • ๑๗.ห้าสิบชั่ง เท่ากับ จานวนเงินเท่าไรในปัจจุบัน