SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
บทที่ 1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
คุณครูฐิตารีย์ สาเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก
หน้าที่และชนิดของราก
เนื้อหา (CONTENT)
โครงสร้างหลักที่อยู่ในดินของพืช
หน้าที่ :
 ยึดลาต้นให้ติดกับพื้นดิน
 ดูดซึมน้าและแร่ธาตุจากดิน ส่งไป
ที่ส่วนต่างๆ ของลาต้น
 หน้าที่พิเศษอื่นๆ
ราก (ROOT)
โครงสร้างของรากในการ
เจริญเติบโตขั้นแรก
 โครงสร้างตามยาวของราก
 โครงสร้างตามขวางของราก
โครงสร้างของรากในการ
เจริญเติบโตขั้นที่สอง
โครงสร้างของราก
โครงสร้างตามยาวของราก : แบ่งเป็น
1. บริเวณหมวกราก (Root Cap)
2. บริเวณเซลล์กาลังแบ่งตัว (Region of
cell Division)
3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว
(Region of cell Elongation)
4. บริเวณเซลล์แห่งการพัฒนาเพื่อทา
หน้าที่เฉพาะ (Region of cell
Maturation)
โครงสร้างของรากในการเจริญเติบโตขั้นแรก
 ประกอบด้วยเนื้อเยื่อถาวร
 เซลล์ parenchyma เรียง
ตัวอย่างหลวมๆ
 แวคิวโอลขนาดใหญ่
 มีการผลิตเมือกลื่น เรียกว่า
mucilage ปล่อยออกมารอบๆ
หมวกราก สะดวกต่อการชอนไช
ของราก
 หน้าที่ ป้องกันอันตรายให้กับ
เนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายราก
บริเวณหมวกราก (ROOT CAP)
ถัดจากหมวกรากขึ้นมาก 1-2 mm
เป็นเนื้อเยื่อเจริญ
มีการแบ่งเซลล์แบบ mitosis เพื่อ
เพิ่มจานวนเซลล์
ส่วนหนึ่งเจริญไปเป็นหมวกราก
ส่วนหนึ่งเป็นเนื้อเยื่อที่อยู่สูงขึ้น
บริเวณเซลล์กาลังแบ่งตัว (REGION OF CELL DIVISION)
อยู่ถัดจากบริเวณเซลล์แบ่งตัว
เซลล์ที่ได้จากการแบ่งเซลล์จะขาย
ตามยาว ทาให้ความยาวของราก
เพิ่มขึ้น
บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (REGION OF CELL ELONGATION)
ประกอบด้วยเซลล์ถาวรๆ
เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อ
เจริญที่เติบโตเต็มที่เพื่อทา
หน้าที่ต่างๆ
เซลล์ขนราก (Root hair
cell)
บริเวณเซลล์แห่งการพัฒนาเพื่อทาหน้าที่เฉพาะ (REGION OF CELL MATURATION)
 โครงสร้างตัดตามขวางของราก
โครงสร้างของรากในการเจริญเติบโตขั้นแรก
 อยู่ชั้นนอกสุดของราก
 เซลล์ไม่มีคลอโรพลาสต์ เซลล์เรียงชิดติดกัน
 บางบริเวณเมื่อเจริญเต็มที่เปลี่ยนไปเป็นขนราก เป็นหลอดยาวเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดน้า
และแร่ธาตุ
เอพิเดอร์มิส (EPIDERMIS)
เปลี่ยนแปลงมาจาก ground
meristem เป็นชั้นที่กว้างมาก
Parenchyma
เนื้อเยื่อชั้นในสุดคือ
endodermis มีสาร Suberin
และ Lignin สะสมเป็นแถบ
เรียกว่า Casparian Strip
รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเห็น
endodermis และ casparian
strip ชัดกว่าในพืชใบเลี้ยงคู่
คอร์เทกซ์ (CORTEX)
 เป็นเนื้อเยื่อที่เปลี่ยนแปลงมาจาก Procambium
ประกอบด้วย
 Pericycle : ชั้นนอกสุดของ stele หน้าที่แบ่งเซลล์
สร้างรากแขนง และ Secondary permanent
tissue รากพืชใบเลี้ยงคู่เห็นไม่ชัด เพราะเซลล์จัดเรียง
ตัวไม่เป็นระเบียบ
 Vascular tissue : อยู่ตรงกลาง เซลล์เรียงตัวเป็นรัศมี
ประกอบด้วย
 Primary Xylem : เรียงตัวเป็นแฉก รากพืชเลี้ยงคู่
ไม่เกิน 5 แฉก รากพืชเลี้ยงเดี่ยวมีมากกว่า 5 แฉก
 Primary Phloem : เรียงตัวระหว่างแฉกหรือรัศมี
ของ Xylem
 Pith : เซลล์ parenchyma อยู่ชั้นในสุดของราก พบ
เฉพาะพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
สตีล (STELE)
 การเจริญของเนื้อเยื่อเจริญระยะที่สองไปเป็นเนื้อเยื่อถาวรระยะที่สองรากขยาย
ขนาดกว้างขึ้น
 เกิดเหนือขนราก
 Vascular cambium ที่คั่นระหว่าง Primary Xylem กับ Primary Phloem แบ่ง
เซลล์แบบ Mitosis เจริญเป็น Secondary Xylem ทางด้านใน และ Secondary
Phloem ด้านนอก รากขยายออกด้านข้าง
โครงสร้างของรากในการเจริญเติบโตขั้นที่ 2
โครงสร้างของรากในการเจริญเติบโตขั้นที่ 2
 การเจริญที่ Cork Cambium เกิดจากเซลล์ Pericycle เปลี่ยนไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ
แบ่งเซลล์สร้าง Cork ออกมาด้านนอก และเซลล์ด้านในสร้างเป็น Phelloderm
 รากแก้ว (Primary root หรือ Tap root):
เจริญมาจาก radicle ของเอ็มบริโอ แล้วพุ่ง
ลงดิน
 โคนรากใหญ่แล้วค่อยๆ เรียวจนถึงปลายราก
 พืชหลายชนิดมีรากแก้วเป็นรากสาคัญตลอด
ชีวิต
ประเภทของราก : รากแก้ว
 รากแขนง (Secondary root หรือ Lateral root): เจริญมาจาก pericycle ของรากแก้ว
 การเจริญเติบโต : ขนานไปกับพื้นดินและแตกแขนงต่อไปได้เรื่อยๆ
ประเภทของราก : รากแขนง
 รากพิเศษ (Adventitious root) หรือรากวิสามัญ
: ไม่ได้เจริญมาจากแรดิเคิลหรือรากปฐมภูมิแต่เจริญ
มาจากส่วนอื่นๆ ของลาต้น
 รากสะสมอาหาร (storage root)
 รากหายใจ (respiration root)
 รากค้าจุน (prop root)
 รากสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthetic root)
 รากยึดเกาะ (climbing root)
 รากหนาม (thorn root)
 รากกาฝาก (parasitic root)
ประเภทของราก : รากพิเศษ
 ทาหน้าที่สะสมอาหาร เช่น แป้ง น้าตาล
โปรตีน
 พองออกและมีขนาดใหญ่กว่ารากปกติ
 เปลี่ยนแปลงมาจากรากแก้ว : แครอท หัว
ผักกาด บีทรูด
 เปลี่ยนแปลงมาจากรากฝอย : มันสาปะหลัง
มันเทศ มันแกว กระชาย ต้อยติ่ง ถั่วพู
รากสะสมอาหาร (STORAGE ROOT)
 ช่วยในการหายใจ
 เป็นรากแขนงที่ปลายรากโผล่ขึ้นมาบนพื้นดิน
บนผิวน้า
 เรียกอีกอย่างว่า รากทุ่นลอย
(pneumatophore)
 การจัดเรียงตัวของเซลล์ภายในเป็นแบบหลวมๆ
ช่องว่างระหว่างเซลล์มากกว่าปรกติ อากาศแพร่
ผ่านเข้าสู่เซลล์ต่างๆ ได้ง่าย
 เช่น แสม โกงกาง ลาพู ผักกระเฉด แพงพวยน้า
รากหายใจ (RESPIRATION ROOT)
ช่วยพยุงลาต้น
แตกออกทางด้านข้างของลาต้นหรือจาก
กิ่งแล้วหยั่งลงในดินเพื่อพยุงลาต้น
โกงกาง ลาพู ไทร ยางอินเดีย เตย
ลาเจียก แสม
รากค้าจุน (PROP ROOT)
 สร้างอาหารได้โดยกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสง
 รากแตกออกจากลาต้นหรือกิ่งห้อยอยู่ใน
อากาศ
 มีสีเขียว เนื่องจากเป็นบริเวรที่เซลล์มี
คลอโรฟิลล์
 ไทร กร่าง โกงกาง กล้วยไม้
รากสังเคราะห์ด้วยแสง (PHOTOSYNTHETIC ROOT)
ช่วยพยุง และชูส่วนของลาต้น โดยยึดเกาะกับสิ่งยึดเกาะอื่นๆ
แตกออกมาจากข้อของลาต้น
พลู พลูด่าง กล้วยไม้ พริกไทย
รากยึดเกาะ (CLIMBING ROOT)
ช่วยป้องกันอันตรายให้กับโคนของ
ลาต้น
แตกออกมาจากบริเวรโคนของลา
ต้น
เช่น รากหนามของต้นปาล์มบาง
ชนิด
รากหนาม (THORN ROOT)
 ยึดเกาะกับพืชชนิดอื่นเพื่อจะนาอาหารจากลาต้น
ของพืชที่ยึดเกาะมาหล่อเลี้ยงลาต้น
 ลักษณะทอดยาวไปตามลาต้นหรือกิ่งของพืชที่เป็นผู้
ถูกอาศัย (host)
 มีรากขนาดเล็กแตกเป็นประกระจุกแทงเข้าไปในลา
ต้นหรือกิ่งจนถึงเนื้อเยื่อลาเลียงเพื่อดูดเอาน้า แร่
ธาตุ และอาหารเข้าสู่ลาต้นที่เป็นปรสิต (Parasite)
 เช่น ต้นกาฝาก ฝอยทอง
 รากหายใจ รากค้าจุน รากสังเคราะห์แสง รากยึด
เกาะ เป็นรากที่ห้อยในอากาศหรือยึดเกาะกับสิ่ง
ต่างๆ ที่มองเห็นได้ในอากาศ จัดเป็น รากอากาศ
(aerial root)
รากกาฝาก (PARASITIC ROOT)
รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว รากพืชใบเลี้ยงคู่
1. มีขนราก 1. มีขนรากในช่วงที่เมล็ดงอกใหม่ เมื่อเจริญเติบโต
แล้วจะไม่มีขนราก
2. มีไซเล็มเรียงเป็นแฉกมากกว่า 6 แฉก 2. มีไซเล็มเรียงเป็นแฉกประมาณ 3-4 แฉก
3. ปกติไม่มีเนื้อเยื่อวาสคิวลาร์แคมเบียม
อยู่ระหว่างไซเล็มกับโฟลเอ็ม จึงไม่มีการ
เจริญเติบโต ในระยะทุติยภูมิ
ยกเว้นพืชบางชนิด
3. มีเนื้อเยื่อวาสคิวลาร์แคมเบียม อยู่ระหว่างไซเล็ม
กับ โฟลเอ็ม เพื่อให้กาเนิดเนื้อเยื่อ ที่เจริญเติบโตใน
ระยะทุติยภูมิ
4. ไม่มีคอร์ก และคอร์แคมเบียม 4. ถ้าเป็นไม้ต้น จะมีคอร์ก และ คอร์กแคมเบียม
5. เอนโดเดอร์มิสเห็นเป็นแนวชัดเจนดี
และ เห็นแคสพาเรียนสตริพ เด่นชัดกว่าใน
รากพืชใบเลี้ยงคู่
5. เอนโดเดอร์มิส เรียงชั้นเดียว มีผนังค่อนข้างหนา
และมีเม็ดแป้งมาก และส่วนใหญ่มักเห็นเอนโดเดอร์
มิสไม่ชัด หรือ ไม่มีเลย
ความแตกต่างของรากพืชใบเลี้ยงคู่และพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ราก (T)

More Related Content

What's hot

เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 

What's hot (20)

เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 

Similar to ราก (T)

10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Bio minibook ab complete
Bio minibook ab completeBio minibook ab complete
Bio minibook ab completeOninUntarijan
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะWichai Likitponrak
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 

Similar to ราก (T) (20)

10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
Bio minibook ab complete
Bio minibook ab completeBio minibook ab complete
Bio minibook ab complete
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะ
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
2 plantstruc 2
2 plantstruc 22 plantstruc 2
2 plantstruc 2
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
Plant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichaiPlant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichai
 
พาเวอร์พ้อยเนื้อหาเกษตรป.4ปี56
พาเวอร์พ้อยเนื้อหาเกษตรป.4ปี56พาเวอร์พ้อยเนื้อหาเกษตรป.4ปี56
พาเวอร์พ้อยเนื้อหาเกษตรป.4ปี56
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
3.2 ornamental plant
3.2  ornamental plant3.2  ornamental plant
3.2 ornamental plant
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 

More from Thitaree Samphao

การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)Thitaree Samphao
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 

More from Thitaree Samphao (7)

การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 

ราก (T)